SlideShare a Scribd company logo
1

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4

ระบบจำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ (Rational
a, b เป็ นจานวนเต็ม และ b  0

นันคือ
่

 {x x 

ใช้
a
b

number) คือ จานวนที่สามารถเขียนให้อยูในรู ปเศษส่ วน
่

แทนเซตของจานวนตรรกยะ

เมื่อ a, b  I และ b  0 }

ตัวอย่ำงจำนวนตรรกยะ เช่น
- จานวนเต็ม
-

1 1
5
,3 ,
2 6
4
เช่น 0.5, 2.43, 5.465

เศษส่วน เช่น

ทศนิยมซ้ า
จำนวนอตรรกยะ (Irational number) คือ จานวนที่ไม่เป็ นจานวนตรรกยะ
ใช้  แทนเซตของจานวนอตรรกยะ
ตัวอย่ำงจำนวนอตรรกยะ เช่น
- จานวนที่อยูในรู ปกรณฑ์ ที่เมื่อหาค่าแล้วไม่เป็ นจานวนตรรกยะ เช่น 2, 5 3
่
- จานวนที่อยูในรู ปทศนิ ยมไม่ซ้ า เช่น 0.125693..., 0.12122122212222...
่
-

- , e

จำนวนจริง (Real Number) ประกอบด้วยเซตของจานวนตรรกยะและเซตของ
จานวนอตรรกยะ ใช้สญลักษณ์ แทนเซตของจานวนจริ ง นันคือ   
ั
่
แผนผังแสดงจำนวนชนิดต่ำง ๆ
จำนวนจริง
จานวนตรรกยะ
จานวนตรรกยะที่ไม่เป็ นจานวนเต็ม
จานวนเต็มลบ

จานวนอตรรกยะ
จานวนเต็ม
จานวนเต็มศูนย์

จานวนเต็มบวก

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

a
b

โดยที่
2

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
คำชี้แจง ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย 
ั
จานวนนั้น ๆ ให้ถกต้อง
ู
ข้ อที่

จำนวนที่กำหนดให้

1
2

ใบงำนที่ 1
ลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ตรงกับชนิดของ

จำนวนจริง
จำนวนนับ จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ

-8

3
4
5
6
7
8
9
10



0.3


13
2

125
3

1.41
15
3
4 2
 

0.234
( 6)2

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
3

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
สมบัติของจานวนจริ งเกี่ยวกับการบวก ว่าในระบบจานวนจริ ง จะเรี ยก จานวนจริ งที่บวกกับจานวน
จริ งจานวนใดก็ตามแล้วได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนจริ งนั้นว่า เอกลักษณ์กำรบวก
กล่าวคือ ให้ a, z เป็ นจานวนจริ งใด ๆ โดยที่ z เป็ นเอกลักษณ์การบวก
จะได้ว่า
a z  za  a

ในระบบจานวนจริ ง มีเอกลักษณ์การบวกจานวนเดียว คือ 0
นันคือ
0a  a 0  a
่
อินเวอร์ สกำรบวก ของจำนวนจริง a ว่า หมายถึง จานวนจริ งที่บวกกับ a แล้วได้
ผลลัพธ์เป็ น 0 ใช้สญลักษณ์ -a แทนอินเวอร์สการบวก ของจานวนจริ ง a กล่าวคือ ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง
ั
ใด ๆ จะได้ว่า
a  (a)  (a)  a  0

นันคือ ถ้าจานวนสองจานวนบวกกันได้ศนย์จะเรี ยกจานวนทั้งสองว่าเป็ นอินเวอร์สซึ่งกันและกัน
ู
่
จำนวน (a)

อินเวอร์ สกำรบวก (-a)

5
0.3
- 3
2
1 1

2 3
1 2

2

-5
-0.3
3
-2 
1 1
-(  )
2 3
1 2
2

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
4

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4

*** นอกจาก จานวนจริ งจะมีเอกลักษณ์การบวก และอินเวอร์สการบวกแล้ว จานวนจริ งยังมี
สมบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบวก ดังนี้
สมบัติ
สมบัติปิด
สมบัติการสลับที่
สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
สมบัติการมีเอกลักษณ์

สมบัตของกำรบวก
ิ
ถ้า a  และ b  แล้ว

ตัวอย่ำง
ถ้า 1, 2 แล้ว

a  b
a b  ba

1 2 
1 2  2 1

(a  b)  c  a  (b  c)

(1  2)  3  1  (2  3)

มีจานวนจริ ง 0 ซึ่ง

05  5  50

0a  a  a 0

สมบัติการมีอินเวอร์ส

สาหรับจานวนจริ ง a จะมี
จานวนจริ ง –a ที่

3  (3)  (3)  3  0

a  (a)  (a)  a  0

ตัวอย่ำงที่ 1 ข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งตามสมบัติของจานวนจริ งข้อใด
1. 2  8 เป็ นจานวนจริ ง เป็ นจริ งตามสมบัติปิดของการบวก
เนื่องจาก 2  และ 8 ดังนั้น 2  8 
2. (3  1)  6  3  (1  6) เป็ นจริ งตามสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก
3. 8  0  8 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก
4. (2)  2  0 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีอินเวอร์ สของการบวก
สมบัติของระบบจานวนจริ งเกี่ยวกับการคูณ ว่าในระบบจานวนจริ ง จะเรี ยก จานวนจริ งที่ไม่เป็ น
ศูนย์ซ่ึงคูณกับจานวนจริ งใดก็ตาม ได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนจริ งจานวนนั้น เรี ยกว่า เอกลักษณ์กำรคูณ กล่าวคือ
ba  a  ab

ในระบบจานวนจริ ง มีเอกลักษณ์การคูณจานวนเดียว คือ 1
1a  a  a1
นันคือ
่
ในระบบจานวนจริ ง อินเวอร์ สกำรคูณของจำนวนจริง a  0 หมายถึง จานวนจริ งที่คูณกับ a แล้ว
ได้ ผลลัพธ์เป็ น 1 ใช้สญลักษณ์ a 1 แทนอินเวอร์สการบวกของจานวนจริ ง a
ั
a 1 a  1  a a 1
กล่าวคือ

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
5

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
จานวน (a)

อินเวอร์สการคูณ ( a 1 )

a 1 a  1  a a 1

8

1
8

1
1
8  1  8
8
8



1.3

1
2
2

-2

1
2

หรื อ 13
10

1
หรื อ 10
1.3
13

1
1
( )(2)  1  (2)( )
2
2
1
1
( )( 2)  1  ( 2)( )
2
2
10 13
13 10
( )( )  1  ( )( )
13 10
10 13

ในระบบจานวนจริ งยังมีสมบัติอื่น ๆ เกี่ยวกับการคูณอีก กล่าวโดยสรุ ป สมบัติเกี่ยวกับการคูณของ
จานวนจริ ง มีดงนี้
ั
สมบัติ
สมบัติปิด

สมบัตของกำรบวก
ิ
ถ้า a  และ b  แล้ว

ตัวอย่ำง
ถ้า 1, 2 แล้ว

a b
ab  ba

(1 2) 
35  53

สมบัติการสลับที่
สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม (a b) c  a (b c)
สมบัติการมีเอกลักษณ์ มีจานวนจริ ง 1 และ 1  0 ซึ่ง

(2 3) 4  2 (3 4)
17  7  71

1a  a  a1

สมบัติการมีอินเวอร์ส

สาหรับ a ที่ a  0 จะมีจานวน
จริ ง a 1 โดยที่

1
1
3  1 3
3
3

a 1 a  1  a a 1

ในระบบจานวนจริ งยังมีสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการบวกและการคูณ สมบัติดงกล่าว ได้แก่
ั
สมบัตกำรแจกแจง กล่าวคือ
ิ
a(b  c)  ab  ac และ (b  c) a  ba  ca
ตัวอย่ำงที่ 2 ข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งตามสมบัติของจานวนจริ งข้อใด
1. มีจานวนจริ งที่คณกับ 0.9 แล้วได้ 1 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีอินเวอร์ สของการคูณ
ู
2. 1 (8)   8 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีเอกลักษณ์ของการคูณ
3. 98  (10  7)  980  686 เป็ นจริ งตามสมบัติการแจกแจง

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
6

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ให้

a, b, c 

สมบัติ
สมบัติปิด
สมบัติการสลับที่
สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
สมบัติการมีเอกลักษณ์
สมบัติการมีอินเวอร์ส

จะได้ว่า
สมบัตของกำรบวก
ิ

สมบัตของกำรคูณ
ิ

a  b

a b

a b  ba

ab  ba

(a  b)  c  a  (b  c)

(a b) c  a (b c)

มี 0 เป็ นเอกลักษณ์การบวก
มี 1 เป็ นเอกลักษณ์การคูณ
โดยที่ 0  a  a  0  a
โดยที่ 1 a  a 1  a
อินเวอร์สการบวกของ a คือ –a อินเวอร์สการคูณของ a คือ
1
โดยที่
โดยที่
a  (a)  (a)  a  0

a

1
1
  a  1, a  0
a
a
a(b  c)  ab  ac
a

สมบัติการแจกแจง

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
7

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ตอนที่ 1

ใบงำนที่ 2
ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถกต้องสมบูรณ์
ั
ู

ข้ อที่

ข้ อควำม

2

2, 6  R แล้ว 2 + 6  R
7+3 = 3+7

3

3 + (5 + 4) = (3 + 5) + 4

4

มีจานวนจริ ง

1

5
6
7
8
9
10

ถ้า

0 ซึ่ง 0 + 3 = 3 = 3 + 0
(-7) + 7 = 0 = 7 + (-7)

สมบัติ
ปิ ด
การสลับที่
การเปลี่ยนหมู่
การมีเอกลักษณ์
การมีอินเวอร์ส

6+3 = 3+6
10 + (2 + 8) = (10 + 2) + 8

ถ้า

4, -3  R แล้ว 4 + (-3)  R
0+8 = 8 = 8+0
(-15) + 15 = 0 = 15 + (-15)

ตอนที่ 2

ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์
ั
ู

ข้ อที่

ข้ อควำม

1

ถ้า

2

72 = 27

3

5  (4  3) = (5  4)  3

4

18 = 8 = 81

5

1
1
3 = 1 = 3
3
3

6
7

10  3 = 3  10

8
9

1  10 = 10 = 10  1

10

ถ้า

ถ้า

5, 3  R

6, 7  R

แล้ว

สมบัติ

แล้ว

25R

ปิ ด
การสลับที่
การเปลี่ยนหมู่
การมีเอกลักษณ์
การมีอินเวอร์ส

76R

1
1
5 = 1 = 5
5
5

-2, 7  R

แล้ว

(-2)  7  R

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
8

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
สมบัตของกำรเท่ ำกันของจำนวนจริง
ิ
ให้ a, b  จะได้ว่า
1. สมบัตกำรสะท้ อน
ิ
aa
เช่น
22
2. สมบัตกำรสมมำตร
ิ
ถ้า a  b แล้ว b  a
เช่น
ถ้า 3  2  1 แล้ว 2  1  3
3. สมบัตกำรถ่ ำยทอด
ิ
ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c
เช่น
22  4 และ 4  3  1 แล้ว 22  3  1
4. สมบัตกำรบวกด้ วยจำนวนที่เท่ ำกัน ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c
ิ
เช่น
2  3  6 และ c  1 แล้ว (2  3)  1  6  1
5. สมบัตกำรคูณด้ วยจำนวนทีเท่ ำกัน ถ้า a  b แล้ว ac  bc
ิ
่
เช่น

4
2
2

และ c  3 แล้ว ( 4 )(3)  (2)(3)
2

สมบัตของกำรไม่เท่ ำกันของจำนวนจริง
ิ
ให้ a, b, c 
1. สมบัตกำรถ่ ำยทอด
ิ
ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c เช่น 10  5 และ 5  1 แล้ว 10  1
2. สมบัตกำรบวกด้ วยจำนวนที่เท่ ำกัน
ิ
ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c
เช่น 2 > 0 ให้ c = 1 จะได้ 2  1  0  1 หรื อ 3 > 1
ให้ c = -1 จะได้ 2  (1)  0  (1) หรื อ 1 > -1
3. สมบัตกำรคูณด้ วยจำนวนเท่ ำกันที่มำกกว่ ำศูนย์
ิ
ถ้า a  b และ c  0 แล้ว ac  bc
เช่น 5 > 3 ให้ c = 2 จะได้ว่า 5  2  3 2 หรื อ 10 > 6

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
9

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ช่ วง คือ สับเซตของจานวนจริ งที่ไม่สามารถเขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้ ช่วงของ
จานวนจริ ง a และ b เมื่อ a  b แบ่งเป็ น 2 แบบ ดังนี้ คือ
1. ช่วงจากัด มี 4 แบบต่างกัน โดยมีความหมายและเขียนแทนได้ดวยเส้นจานวน ดังนี้
้
1) ช่วงเปิ ด (a, b) หมายถึง {x a  x  b}
a

b

2) ช่วงปิ ด [a, b] หมายถึง {x a  x  b}

a

b

3) ช่วงครึ่ งเปิ ด (a, b] หมายถึง {x a  x  b}
a

b

4) ช่วงครึ่ งเปิ ด [a, b)

หมายถึง {x

a  x  b}

a

b

2. ช่วงอนันต์

มี 5 แบบต่างกัน คือ
1) ช่วง (a, ) หมายถึง {x x  a}
a

2) ช่วง [a, )

หมายถึง {x

x  a}

a

3) ช่วง (, a)

หมายถึง {x

x  a}

a

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
10

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
4) ช่วง (, a]

หมายถึง {x

x  a}

a

5) ช่วง (, )

หมายถึง {x

x }

ตัวอย่ำงที่ 1
1)

n > -4
-4

-3

-2

-1

0

1

2

3

4

ในภาพเส้นทึบที่มีลกศรแทนจานวนจริ งทุกจานวนที่มีค่ามากกว่า
ู
สัญลักษณ์ “ O ” หมายถึง ไม่รวมจานวน -4
2)

-4

n  2
-5

-4

-3

-2

-1

0

สัญลักษณ์ “” หมายถึง รวมจานวน

1
2

2

3

ด้วย

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

4

5

6
11

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
คำชี้แจง

ใบงำนที่ 11
ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์
ั
ู

มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………………
2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………………
3. x มีค่าน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ ………………………………….
4. y มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………
5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ ……………………………..
6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………………………….
7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว ……………………………………………………
8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > ………………………………………………………
9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ……………………………………………………….
10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > ……………………………………………………
1. a

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
12

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4

กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม
ตัวแปร คือ สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนจานวน นิยมใช้ตวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x, y แทน
ั
จานวน
ค่ำคงตัว คือ ตัวเลขที่แทนจานวน เช่น 1, 2, 3
นิพจน์ คือ ข้อความในรู ปสัญลักษณ์ เช่น 2, 3x, 5  x, x  8
เอกนำม คือ นิพจน์ที่เขียนในรู ปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กาลัง
ของตัวแปรเป็ นจานวนเต็มบวกหรื อศูนย์ เช่น 3, 2x, 3xy, x 2
พหุนำม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนในรู ปเอกนาม หรื อการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป
กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม คือ การเขียน พหุนามในรู ปการคูณของพหุนามที่มดีกรี ต่ากว่า
ี
ตัวอย่ำงที่ 1
1) 8x  6  2(4x)  2(3)  2(4x  3)
2) 2x3  3x 2  x  x(2x 2 )  x(3x)  x(1)
 x(2x 2  3x  1)

พหุนำมดีกรีสอง ตัวแปรเดียว เป็ นพหุนามที่เขียนได้ในรู ป ax 2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นค่าคงตัว
ที่ a  0 และ x เป็ นตัวแปร
ตัวอย่ำงที่ 2
1) 3x 2  6x  1
มี a = 3, b = -6 และ c = 1
2) 5x 2  8x  3
มี a = 5, b = 8 และ c = -3
พิจารณา พหุนามดีกรี สองตัวแปรเดียว ax 2  bx  c ในกรณี ที่ a = 1และ b, c เป็ นจานวนเต็ม
และ c  0 ว่าอยูในรู ปอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ดังนี้
่
ตัวอย่ำงที่ 3
1) x 2  6x  1
2) x 2  8x  3

พิจารณา การหาผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่งกับพหุนามดีกรี หนึ่ง เพื่อเป็ นแนวทางในการแยก
ตัวประกอบพหุนามดีกรี สองตัวแปรเดียว
ตัวอย่ำงที่ 4
(x  2)(x  3)  x(x  2)  3(x  2)
 (x 2  2x)  (3x  6)
 x 2  (2  3)x  6
 x 2  5x  6

เมื่อเขียน x 2  5x  6 ในรู ปของผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่ง ซึ่งจะได้
x 2  5x  6  (x  2)(x  3)

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
13

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ขั้นตอนในการแยกตัวประกอบ x 2  5x  6 โดยพิจารณา ย้อนกลับจากการหาผลคูณข้างต้น
x 2  5x  6  x 2  (2  3)x  6
 x 2  (2x  3x)  6
 (x 2  2x)  (3x  6)
 x(x  2)  3(x  2)
 (x  2)(x  3)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง x 2  bx  c เมื่อ b และ c เป็ นจานวนเต็ม จะทาได้ เมื่อ
สามารถหาจานวนเต็มสองจานวนที่คณกันได้ c และ บวกกันได้ b นันคือ
ู
่
ถ้าให้ m และ n แทนจานวนเต็มสองจานวนนั้น
จะได้
mn  b
m n  c

ดังนั้น

x 2  bx  c  x 2  (m  n)x  mn

 (x 2  mx)  (nx  mn)
 x(x  m)  n(x  m)
 (x  m)(x  n)

นันคือ x 2  bx  c แยกตัวประกอบได้เป็ น
่
ตัวอย่ำงที่ 5

(x  m)(x  n)

1) x 2  7x  12  (x  3)(x  4)
2) x 2  7x  12  (x  3)(x  4)
3) x 2  x  12  (x  4)(x  3)
4) x 2  x  12  (x  3)(x  4)

ตัวอย่ำงที่ 6
(4x  3)(2x  1)  2x(4x  3)  (4x  3)
 (8x 2  6x)  (4x  3)
 8x 2  (6x  4x)  3
 8x 2  10x  3

ดังนั้น

(4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3

การหาผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่ง โดยใช้สมบัติการแจกแจง
1) จาก (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3
จะได้ว่า หน้า  หน้า = พจน์หน้าของผลคูณ
2) จาก (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3
จะได้ว่า หลัง  หลัง = พจน์หลังของผลคูณ
เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
14

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
3)

จาก

(4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3

จะได้ว่า (หน้า  หลัง) + (หลัง  หน้า)

=

พจน์กลางของผลคูณ

พิจารณาการแยกตัวประกอบ 8x 2  10x  3 โดยอาศัยสมบัติยอนกลับ ดังนี้
้
1) หาพหุ นามดีกรี หนึ่ ง สองพหุ นามที่คูณกันได้ 8x 2 แล้วเขียนไว้ในวงเล็บเป็ นคู่ ๆ ดังนี้
(4x )(2x ) หรื อ (8x )(x
)
2) หาจานวนสองจานวนที่คูณกันแล้วได้ + 3 ไปเขียนเป็ นพจน์หลังของพหุ นามในข้อ 1) ดังนี้
(4x  1)(2x  3) = (4x  1)(2x  3)
(4x  3)(2x  1) = (4x  3)(2x 1)
3) ตรวจสอบดูว่าพจน์กลางของพหุ นามที่เป็ นผลคูณของพหุ นามคู่ใดในข้อ 2) มีค่าเท่ากับ 10x
(พจน์กลางของ 8x 2  10x  3 ) โดยนา (หน้า 

หลัง) + (หลัง  หน้า) จะได้ว่า
(4x  3)(2x  1) มีพจน์กลางเท่ากับ 10x
ในกรณี ที่พหุนามที่กาหนดให้ สามารถแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจงได้ ก็ให้ใช้สมบัติการ
แจกแจงก่อน
ตัวอย่ำงที่ 7
5x 2  10x  5  5(x 2  2x  1)
 5(x  1)(x  1)

ตัวอย่ำงที่ 8 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สองต่อไปนี้
1)
2)
3)
4)

12x 2  31x  9
12x 2  39x  9
14x 2  65x  9
221x 2  5x  6

พหุนามดีกรี สองที่แยกประกอบ แล้วได้ตวประกอบ เป็ นพหุนามดีกรี หนึ่งซ้ ากัน เรี ยกว่า กำลังสอง
ั
สมบูรณ์

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
15

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ใบงำนที่ 12
คำชี้แจง จงแยกตัวประกอบพหุนามต่อไปนี้
1) 3x2 + 6x2 =

…………………………………………………………………

2) 2x2 - x

…………………………………………………………………

=

3) 4x3 - 16x2 - 8x = ……………………………………………………………
4) x2 + 9x + 8 = ……………………………………………………….………
5) x2 - 10x + 24 = ………………………………………………..…………...
6) 3x2 + 4x - 15 = …………………………………………………………….
7) 2x2 - x - 1

= …………………………………………………………….

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
16

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4

สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว
“ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง

และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b อย่างน้อยหนึ่งค่าต้องเป็ นศูนย์”
วิธีหาคาตอบของสมการกาลังสอง สามารถใช้สูตรเพื่อ โดยการหาค่า x ได้ดงนี้
ั
b  b 2  4ac
2a
“ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง

x

อาศัยความรู้เกี่ยวกับจานวนจริ งที่ว่า
และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b
อย่างน้อยหนึ่งค่าต้องเป็ นศูนย์” หาคาตอบของสมการโดยอาศัยความรู้จากข้อความข้างต้น
จาก (x  3)(x  2)  0 จะได้ว่า (x  3)  0 หรื อ (x  2)  0
หาคาตอบของสมการ (x  3)(x  2)  0 โดยหาค่า x ที่ทาให้ x – 3 = 0
หรื อ x + 2 = 0 ซึ่งจะได้ x = 3 หรื อ x = -2
ดังนั้น คาตอบของสมการ (x  3)(x  2)  0 คือ 3, -2
ตัวอย่ำงที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ x 2  5x  6  0
วิธีทำ
จาก
x 2  5x  6  0
จะได้
(x  3)(x  2)  0
ดังนั้น x  3  0 หรื อ x  2  0
x  3 หรื อ x  2
ตรวจสอบคาตอบ โดยแทนค่า x  3 หรื อ x  2 ลงใน
สมการ x 2  5x  6  0 จะได้
ซึ่งเป็ นจริ ง
(3)2  5(3)  6  0
และ (2)2  5(2)  6  0 ซึ่งเป็ นจริ ง
ดังนั้น คาตอบของสมการ x 2  5x  6  0 คือ 3 หรื อ 2
ตัวอย่ำงที่ 2
วิธีทำ

จงหาคาตอบของสมการ (4x  8)(x  5)  (5x  2)(x  2)
(4x  8)(x  5)  (5x  2)(x  2)
จาก
จะได้ 4x 2  12x  40  5x 2 12x  4
0  5x 2  4x 2  12x  12x  4  40
0  x 2 24x  44

หรื อ

x 2 24x  44  0

(x  22)(x  2)  0

ดังนั้น

หรื อ x  2  0
x  22 หรื อ x  2

x  22  0

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
17

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
คาตอบของสมการ คือ 22 หรื อ

4
5
3


x 1 x  2 x

ตัวอย่ำงที่ 3 จงหาคาตอบของสมการ
วิธีทำ

2

4
5
3


x 1 x  2 x

จาก

ทาส่วนให้หมดไปก่อน โดยการคูณทั้งสองข้างของสมการด้วย
x(x 1)(x  2) จะได้
4x(x  2)  5x(x  1)  3(x  1)(x  2)
4x 2  8x  5x 2  5x  3(x 2  x  2)
 x 2  13x  3x 2  3x  6
 4x 2  10x  6  0

หารทั้งสองข้างของสมการด้วย (-2) จะได้

2x 2  5x  3  0

(2x  1)(x  3)  0

ดังนั้น

หรื อ

2x  1  0

1
2

x

x 3  0

หรื อ

x3

คาตอบของสมการ คือ  1 หรื อ 3
2

ตัวอย่ำงที่ 4 จงหาคาตอบของสมการ 5x 2  3x  0
วิธีทำ
จาก 5x 2  3x  0
a  5, b  3 และ c = 0
ั
5x 2  3x แยกตัวประกอบ โดยใช้สมบัติแจกแจง ได้ดงนี้
จาก
5x 2  3x  0
x(5x  3)  0

จะได้

x0

หรื อ

x0

หรื อ

5x  3  0
x

3
5

ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 0,  3
5

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
18

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ตัวอย่ำงที่ 5 จงหาคาตอบของสมการ
วิธีทำ
จาก 9x 2  50
จะได้

x2 

9x 2  50

50
9

x2  

50
9



5 2
3

ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 5

2
3

หรื อ  5

2
3

*** นอกจากใช้วิธีแยกตัวประกอบดังที่กล่าวมาแล้ว ยังสามารถใช้สูตร

เพื่อหาคาตอบของสมการกาลังสอง โดยการหาค่า x ได้ดงนี้
ั
x

b  b 2  4ac
2a

ตัวอย่ำงที่ 6 จงหาคาตอบของสมการ x 2  2x 11  0 โดยใช้สูตร
วิธีทำ
จาก
x 2  2x  11  0
จะได้
a  1, b  2 และ c = -11
b2  4ac  (2)2  4(1)(11)
 48

จาก
จะได้ว่า

หรื อ

4 3

b  b 2  4ac
2a
2  4 3
x
2

x

 1  2 3

คาตอบของสมการ คือ

1  2 3

หรื อ

1  2 3

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
19

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ใบงำนที่ 13
จงหำคำตอบของสมกำรต่อไปนี้
1) x 2  7x  12  0
2) x 2  16x  15

 0

3) x  x

 30

2

4) x

 5x  6

2

5) 5x  4x  1
2

6) 12x

2

0
 107x  9

7) 18m  8

  35m 2

8) 6  7x  x 2

0

9) 9  42y  49y 2  0
10) 16x 2

  1  8x

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
20

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
กำรแก้สมกำรและอสมกำรตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง
“ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b อย่างน้อยหนึ่ งค่าต้องเป็ นศูนย์”
วิธีหาคาตอบของสมการกาลังสอง สามารถใช้สูตรเพื่อ โดยการหาค่า x ได้ดงนี้
ั
x

b  b 2  4ac
2a

วิธีการแก้อสมการ แบ่งออกเป็ น 2 กรณี คือ
1) การแก้อสมการที่ตวแปรมีเลขชี้กาลังเท่ากับหนึ่ ง ทาเช่นเดียวกับการแก้สมการ แต่ตอง
ั
้
ระมัดระวังการคูณด้วยจานวนลบ เพราะจะทาให้เครื่ องหมายของอสมการเปลี่ยนแปลงได้
2) การแก้อสมการที่ตวแปรมีเลขชี้กาลังตั้งแต่สองขึ้นไป มีวิธีทาโดยทัวไป ดังนี้ คือ
ั
่
2.1) จัดข้างใดข้างหนึ่ งของอสมการให้เป็ นศูนย์
2.2) แยกตัวประกอบ โดยให้ตวประกอบมีตวแปรที่มีเลขชี้กาลังเท่ากับหนึ่ ง
ั
ั
และสัมประสิทธ์หน้าตัวแปรต้องเป็ นจานวนบวกเสมอ
เมื่อได้ตวประกอบในรู ป
ั
(a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0

หรื อ
เมื่อ
ของ

(a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0

bi b j

ai a j

สาหรับทุก ๆ i  j (นันคือตัวประกอบต้องไม่ซ้ ากัน) แล้วหาเซตคาตอบ
่

(a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0 .................(*)

2.3) เขียนกราฟของเซตคาตอบของสมการ(*) หรื อค่าของ x ที่ทาให้อสมการเป็ นศูนย์

ลงบนเส้นจานวน จะได้
b1
a1

b2
a2

bn 1
a n 1

bn
an

2.4) ใส่ เครื่ องหมาย + , - สลับกันไปในแต่ละช่วง โดยเริ่ มจากขวามือสุ ดของ

อสมการ เช่น
+

-

b1
a1

-

+

b2
a2

bn 1
a n 1

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

+

bn
an
21

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
2.5) เซตคาตอบของอสมการ
(a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  b n )  0

คือ ยูเนียนของช่วงที่มีเครื่ องหมายลบทั้งหมด
2.6) เซตคาตอบของอสมการ
(a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  b n )  0

คือ ยูเนียนของช่วงที่มีเครื่ องหมายบวกทั้งหมด
ในการแก้อสมการตัวแปรเดียวดีกรี หนึ่ง หรื อการหาคาตอบของอสมการนั้นจะต้องอาศัยสมบัติของ
การไม่เท่ากัน
1 จงหาคาตอบของอสมการต่อไปนี้
2x + x < 10
4x – 4  2x + 4

ตัวอย่ำงที่
1.
2.

วิธีทำ

1)

2x + 2
2x + 2 + (-2)
2x

<
<
<

เซตคาตอบของ
2)

4x – 4
4x – 4 + 4
4x
4x + (-2x)
2x

x

เซตคาตอบของอสมการ

1.

คือ

{x | x < 4}

 2x + 4
 2x + 4 + 4
 2x + 8
 2x + (-2x) + 8
 8



1
(8)
2

4

4x – 4  2x + 4

2 จงแก้อสมการต่อไปนี้
-x + 4 < -12
-x + 7  4

ตัวอย่ำงที่
วิธีทำ

1
(8)
2

x < 4
2x + 2 < 10

1
(2x)
2

1.
2.

10
10 + (-2)
8

<

1
(2x)
2

และเขียนแทนด้วยเซต

คือ

{x | x  4}

พร้อมทั้งแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน

-x + 4 < 12

บวกทั้งสองข้างของอสมการด้วย

-4 จะได้
-x + 4 + (-4) < -12 + (-4)
-x < -8
x >

8

(เอา -1

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

คูณทั้งสองข้าง)
22

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
เซตคาตอบของอสมการคือ เซตของจานวนจริ งที่มากกว่า
-1

0

1

2

3

4

5

6

หรื อ

8

7

8

9

10

หรื อ

{x | x  3}

{x | x > 8}

-x + 7  4

2.

บวกทั้งสองข้างของอสมการด้วย

-7

จะได้

 4 + (-7)
 -3

3

-x + 7 + (-7)
-x
x

เซตคาตอบของอสมการคือ เซตของจานวนจริ งที่นอยกว่าหรื อเท่ากับ
้
-3

-2

-1

0

1

2

3

4

3

5

ตัวอย่ำงที่ 3 จงแก้อสมการ x2 + x – 6 > 0 และแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน
วิธีทำ
จาก
x2 + x – 6 > 0
จะได้ (x + 3)(x – 2) > 0
พิจารณาค่าของ x ในช่วง (-  , -3), (-3, 2) และ (2,  )
โดยเลือกค่า x ที่อยูในช่วงดังกล่าว
่
x
(x + 3)(x – 2)
ช่วง
ค่าของ (x + 3)(x – 2)
(-  , -3)
-5
(-2)(-7) = 14
มีค่าเป็ นบวก
(-3, 2)
1
4(-1) = -4
มีค่าเป็ นลบ
(2,  )
4
(7)(2) = 14
มีค่าเป็ นบวก
และเมื่อเลือกค่า x ในช่วงดังกล่าวเพิ่ม จะพบว่า (x + 3)(x – 2) มีค่าเป็ นบวกหรื อ
มากกว่าศูนย์ เมื่อ x อยูในช่วง (-  , -3) และ (2,  )
่
แสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวนได้ดงนี้
ั
-5

-4

-3

-2

-1

0

1

2

3

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

4
23

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
คำชี้แจง
ข้ อที่
1

2

ใบงำนที่ 14
ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์
ั
ู

โจทย์อสมกำร
จงหาเซตคาตอบของอสมการต่อไปนี้และเขียนแทนด้วยเซต
1.1
1.2
1.3
1.4

x+3 < 6
2x + 4  10
3x – 7  5
-4 + 4x  8

เซต
1.1 …………………
1.2 …………………
1.3 …………………
1.4 …………………

จงแก้อสมการต่อไปนี้ และแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน
2.1 -3x  -6
2.2 -5x – 1  -11
2.3 -8x + 6 > -10
2.4 -5 – 5x > -2x - 8

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
24

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4

ค่ ำสั มบูรณ์ ของจำนวนจริง
บทนิยำม ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริ ง
ถ้า a เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

a

โดยมีความหมาย ดังนี้

 a, a  0
a 
a, a  0

ตัวอย่ำงที่ 1
2  2
8  8

และ
และ

หรื อ 2
  (8) หรื อ 8

2   (2)
8

ตัวอย่ำงที่ 2 จงหาค่าของ
1.
2.
3.
4.

| -9 |
| -10 + 2 |
| 8 - 20 |
| 5 | + | -3 |

วิธีทำ
1.
2.
3.
4.

| -9 | = -(-9) = 9
| -10 + 2 | = | -8 | = -(-8) = 8
| 8 - 20 | = | -12 | = -(-12) = 12
| 5 | + | -3 | = 5 + [ -(-3) ] = 5 + 3 = 8

โดยทัวไป ถ้า
่
1.

เป็ นจานวนบวกใด ๆ
| x | < a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a < x < a
และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a  x  a
เช่น | x | < 3 หมายความว่า ระยะจากจุด x ไปยัง 0 บนเส้นจานวน
น้อยกว่า 3 หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจานวนได้ดงนี้
ั
-4

a

-3

-2

จากรู ป จะเห็นว่า
|x|  3

-4

-3

-2

-1

0

1

2

3

4

มีความหมายเช่นเดียวกัน -3 < x < 3
เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้
ั
|x| < 3

-1

0

1

2

3

4

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
25

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x < -a หรื อ x > a
 a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x  a หรื อ x  a
> 2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้
ั

2. | x | > a

และ
เช่น

|x|
|x|

-2

-1

0

1

2

3

จากรู ป จะเห็นว่า | x | > 2 มีความหมายเช่นเดียวกับ
| x |  2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้
ั
-4

ตัวอย่ำงที่
1.
2.

วิธีทำ

-3
3

-2

-1

จงแสดงค่าของ

0
x

1

2

3

หรื อ

4

บนเส้นจานวน เมื่อกาหนดให้

|x| > 6
|x|  5

มีความหมายเช่นเดียวกับ x
เขียนแสดงค่าของ x บนเส้นจานวนได้ดงนี้
ั
1.

x < -2

|x| > 6

หรื อ

x > 6

หรื อ

x  5

< -6

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
2. | x |  5

มีความหมายเช่นเดียวกับ

x  -5

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

x>2
26

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4
ใบงำนที่ 15
ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์
ั
ู

คำชี้แจง
1. | -7 |

=

…………………………………………………………………

2. | 8 -13 |

=

………………………………………………………………....

3. | 12 | + | -5 | - | 20 |
4. | -25 | - | -3 |
5.

 10
| - 5|

=

= ……………………………………………………….

= ………………………………………………………………
………………………………………………………………...
=

……………………………………………………

7. | 8  102 | + | 5  102 | =

……………………………………………………

6. | 10 -7 | + | 20 - 30 |

8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = ……………………..…………………….

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

More Related Content

What's hot

เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
Apirak Potpipit
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายInmylove Nupad
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
Tum Anucha
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
Apirak Potpipit
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
พัน พัน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
guychaipk
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
Teacher Sophonnawit
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 

What's hot (20)

เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 

Similar to จำนวนจริง

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
Pat1 ก.พ. 63
Pat1 ก.พ. 63Pat1 ก.พ. 63
Pat1 ก.พ. 63
9GATPAT1
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
9GATPAT1
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Tutor Ferry
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Chokchai Taveecharoenpun
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Thanuphong Ngoapm
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
Angkana Potha
 
คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6linnoi
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51phasit39910
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51seelopa
 
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์yyyim
 

Similar to จำนวนจริง (20)

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Pat1 ก.พ. 63
Pat1 ก.พ. 63Pat1 ก.พ. 63
Pat1 ก.พ. 63
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
04math
04math04math
04math
 
คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51
 
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551
 

More from KruGift Girlz

เซต
เซตเซต
เซต
KruGift Girlz
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
KruGift Girlz
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
KruGift Girlz
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
KruGift Girlz
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
KruGift Girlz
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
KruGift Girlz
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
KruGift Girlz
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
KruGift Girlz
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
KruGift Girlz
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
KruGift Girlz
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
KruGift Girlz
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
KruGift Girlz
 

More from KruGift Girlz (13)

เซต
เซตเซต
เซต
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

จำนวนจริง

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ระบบจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ (Rational a, b เป็ นจานวนเต็ม และ b  0 นันคือ ่  {x x  ใช้ a b number) คือ จานวนที่สามารถเขียนให้อยูในรู ปเศษส่ วน ่ แทนเซตของจานวนตรรกยะ เมื่อ a, b  I และ b  0 } ตัวอย่ำงจำนวนตรรกยะ เช่น - จานวนเต็ม - 1 1 5 ,3 , 2 6 4 เช่น 0.5, 2.43, 5.465 เศษส่วน เช่น ทศนิยมซ้ า จำนวนอตรรกยะ (Irational number) คือ จานวนที่ไม่เป็ นจานวนตรรกยะ ใช้  แทนเซตของจานวนอตรรกยะ ตัวอย่ำงจำนวนอตรรกยะ เช่น - จานวนที่อยูในรู ปกรณฑ์ ที่เมื่อหาค่าแล้วไม่เป็ นจานวนตรรกยะ เช่น 2, 5 3 ่ - จานวนที่อยูในรู ปทศนิ ยมไม่ซ้ า เช่น 0.125693..., 0.12122122212222... ่ - - , e จำนวนจริง (Real Number) ประกอบด้วยเซตของจานวนตรรกยะและเซตของ จานวนอตรรกยะ ใช้สญลักษณ์ แทนเซตของจานวนจริ ง นันคือ    ั ่ แผนผังแสดงจำนวนชนิดต่ำง ๆ จำนวนจริง จานวนตรรกยะ จานวนตรรกยะที่ไม่เป็ นจานวนเต็ม จานวนเต็มลบ จานวนอตรรกยะ จานวนเต็ม จานวนเต็มศูนย์ จานวนเต็มบวก เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั a b โดยที่
  • 2. 2 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 คำชี้แจง ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย  ั จานวนนั้น ๆ ให้ถกต้อง ู ข้ อที่ จำนวนที่กำหนดให้ 1 2 ใบงำนที่ 1 ลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ตรงกับชนิดของ จำนวนจริง จำนวนนับ จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ -8 3 4 5 6 7 8 9 10  0.3  13 2 125 3 1.41 15 3 4 2   0.234 ( 6)2 คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 3. 3 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 สมบัติของจานวนจริ งเกี่ยวกับการบวก ว่าในระบบจานวนจริ ง จะเรี ยก จานวนจริ งที่บวกกับจานวน จริ งจานวนใดก็ตามแล้วได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนจริ งนั้นว่า เอกลักษณ์กำรบวก กล่าวคือ ให้ a, z เป็ นจานวนจริ งใด ๆ โดยที่ z เป็ นเอกลักษณ์การบวก จะได้ว่า a z  za  a ในระบบจานวนจริ ง มีเอกลักษณ์การบวกจานวนเดียว คือ 0 นันคือ 0a  a 0  a ่ อินเวอร์ สกำรบวก ของจำนวนจริง a ว่า หมายถึง จานวนจริ งที่บวกกับ a แล้วได้ ผลลัพธ์เป็ น 0 ใช้สญลักษณ์ -a แทนอินเวอร์สการบวก ของจานวนจริ ง a กล่าวคือ ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง ั ใด ๆ จะได้ว่า a  (a)  (a)  a  0 นันคือ ถ้าจานวนสองจานวนบวกกันได้ศนย์จะเรี ยกจานวนทั้งสองว่าเป็ นอินเวอร์สซึ่งกันและกัน ู ่ จำนวน (a) อินเวอร์ สกำรบวก (-a) 5 0.3 - 3 2 1 1  2 3 1 2  2 -5 -0.3 3 -2  1 1 -(  ) 2 3 1 2 2 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 4. 4 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 *** นอกจาก จานวนจริ งจะมีเอกลักษณ์การบวก และอินเวอร์สการบวกแล้ว จานวนจริ งยังมี สมบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบวก ดังนี้ สมบัติ สมบัติปิด สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม สมบัติการมีเอกลักษณ์ สมบัตของกำรบวก ิ ถ้า a  และ b  แล้ว ตัวอย่ำง ถ้า 1, 2 แล้ว a  b a b  ba 1 2  1 2  2 1 (a  b)  c  a  (b  c) (1  2)  3  1  (2  3) มีจานวนจริ ง 0 ซึ่ง 05  5  50 0a  a  a 0 สมบัติการมีอินเวอร์ส สาหรับจานวนจริ ง a จะมี จานวนจริ ง –a ที่ 3  (3)  (3)  3  0 a  (a)  (a)  a  0 ตัวอย่ำงที่ 1 ข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งตามสมบัติของจานวนจริ งข้อใด 1. 2  8 เป็ นจานวนจริ ง เป็ นจริ งตามสมบัติปิดของการบวก เนื่องจาก 2  และ 8 ดังนั้น 2  8  2. (3  1)  6  3  (1  6) เป็ นจริ งตามสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก 3. 8  0  8 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก 4. (2)  2  0 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีอินเวอร์ สของการบวก สมบัติของระบบจานวนจริ งเกี่ยวกับการคูณ ว่าในระบบจานวนจริ ง จะเรี ยก จานวนจริ งที่ไม่เป็ น ศูนย์ซ่ึงคูณกับจานวนจริ งใดก็ตาม ได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนจริ งจานวนนั้น เรี ยกว่า เอกลักษณ์กำรคูณ กล่าวคือ ba  a  ab ในระบบจานวนจริ ง มีเอกลักษณ์การคูณจานวนเดียว คือ 1 1a  a  a1 นันคือ ่ ในระบบจานวนจริ ง อินเวอร์ สกำรคูณของจำนวนจริง a  0 หมายถึง จานวนจริ งที่คูณกับ a แล้ว ได้ ผลลัพธ์เป็ น 1 ใช้สญลักษณ์ a 1 แทนอินเวอร์สการบวกของจานวนจริ ง a ั a 1 a  1  a a 1 กล่าวคือ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 5. 5 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 จานวน (a) อินเวอร์สการคูณ ( a 1 ) a 1 a  1  a a 1 8 1 8 1 1 8  1  8 8 8  1.3 1 2 2 -2 1 2 หรื อ 13 10 1 หรื อ 10 1.3 13 1 1 ( )(2)  1  (2)( ) 2 2 1 1 ( )( 2)  1  ( 2)( ) 2 2 10 13 13 10 ( )( )  1  ( )( ) 13 10 10 13 ในระบบจานวนจริ งยังมีสมบัติอื่น ๆ เกี่ยวกับการคูณอีก กล่าวโดยสรุ ป สมบัติเกี่ยวกับการคูณของ จานวนจริ ง มีดงนี้ ั สมบัติ สมบัติปิด สมบัตของกำรบวก ิ ถ้า a  และ b  แล้ว ตัวอย่ำง ถ้า 1, 2 แล้ว a b ab  ba (1 2)  35  53 สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม (a b) c  a (b c) สมบัติการมีเอกลักษณ์ มีจานวนจริ ง 1 และ 1  0 ซึ่ง (2 3) 4  2 (3 4) 17  7  71 1a  a  a1 สมบัติการมีอินเวอร์ส สาหรับ a ที่ a  0 จะมีจานวน จริ ง a 1 โดยที่ 1 1 3  1 3 3 3 a 1 a  1  a a 1 ในระบบจานวนจริ งยังมีสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการบวกและการคูณ สมบัติดงกล่าว ได้แก่ ั สมบัตกำรแจกแจง กล่าวคือ ิ a(b  c)  ab  ac และ (b  c) a  ba  ca ตัวอย่ำงที่ 2 ข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งตามสมบัติของจานวนจริ งข้อใด 1. มีจานวนจริ งที่คณกับ 0.9 แล้วได้ 1 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีอินเวอร์ สของการคูณ ู 2. 1 (8)   8 เป็ นจริ งตามสมบัติการมีเอกลักษณ์ของการคูณ 3. 98  (10  7)  980  686 เป็ นจริ งตามสมบัติการแจกแจง เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 6. 6 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ให้ a, b, c  สมบัติ สมบัติปิด สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม สมบัติการมีเอกลักษณ์ สมบัติการมีอินเวอร์ส จะได้ว่า สมบัตของกำรบวก ิ สมบัตของกำรคูณ ิ a  b a b a b  ba ab  ba (a  b)  c  a  (b  c) (a b) c  a (b c) มี 0 เป็ นเอกลักษณ์การบวก มี 1 เป็ นเอกลักษณ์การคูณ โดยที่ 0  a  a  0  a โดยที่ 1 a  a 1  a อินเวอร์สการบวกของ a คือ –a อินเวอร์สการคูณของ a คือ 1 โดยที่ โดยที่ a  (a)  (a)  a  0 a 1 1   a  1, a  0 a a a(b  c)  ab  ac a สมบัติการแจกแจง เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 7. 7 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ตอนที่ 1 ใบงำนที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถกต้องสมบูรณ์ ั ู ข้ อที่ ข้ อควำม 2 2, 6  R แล้ว 2 + 6  R 7+3 = 3+7 3 3 + (5 + 4) = (3 + 5) + 4 4 มีจานวนจริ ง 1 5 6 7 8 9 10 ถ้า 0 ซึ่ง 0 + 3 = 3 = 3 + 0 (-7) + 7 = 0 = 7 + (-7) สมบัติ ปิ ด การสลับที่ การเปลี่ยนหมู่ การมีเอกลักษณ์ การมีอินเวอร์ส 6+3 = 3+6 10 + (2 + 8) = (10 + 2) + 8 ถ้า 4, -3  R แล้ว 4 + (-3)  R 0+8 = 8 = 8+0 (-15) + 15 = 0 = 15 + (-15) ตอนที่ 2 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์ ั ู ข้ อที่ ข้ อควำม 1 ถ้า 2 72 = 27 3 5  (4  3) = (5  4)  3 4 18 = 8 = 81 5 1 1 3 = 1 = 3 3 3 6 7 10  3 = 3  10 8 9 1  10 = 10 = 10  1 10 ถ้า ถ้า 5, 3  R 6, 7  R แล้ว สมบัติ แล้ว 25R ปิ ด การสลับที่ การเปลี่ยนหมู่ การมีเอกลักษณ์ การมีอินเวอร์ส 76R 1 1 5 = 1 = 5 5 5 -2, 7  R แล้ว (-2)  7  R เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 8. 8 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 สมบัตของกำรเท่ ำกันของจำนวนจริง ิ ให้ a, b  จะได้ว่า 1. สมบัตกำรสะท้ อน ิ aa เช่น 22 2. สมบัตกำรสมมำตร ิ ถ้า a  b แล้ว b  a เช่น ถ้า 3  2  1 แล้ว 2  1  3 3. สมบัตกำรถ่ ำยทอด ิ ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c เช่น 22  4 และ 4  3  1 แล้ว 22  3  1 4. สมบัตกำรบวกด้ วยจำนวนที่เท่ ำกัน ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c ิ เช่น 2  3  6 และ c  1 แล้ว (2  3)  1  6  1 5. สมบัตกำรคูณด้ วยจำนวนทีเท่ ำกัน ถ้า a  b แล้ว ac  bc ิ ่ เช่น 4 2 2 และ c  3 แล้ว ( 4 )(3)  (2)(3) 2 สมบัตของกำรไม่เท่ ำกันของจำนวนจริง ิ ให้ a, b, c  1. สมบัตกำรถ่ ำยทอด ิ ถ้า a  b และ b  c แล้ว a  c เช่น 10  5 และ 5  1 แล้ว 10  1 2. สมบัตกำรบวกด้ วยจำนวนที่เท่ ำกัน ิ ถ้า a  b แล้ว a  c  b  c เช่น 2 > 0 ให้ c = 1 จะได้ 2  1  0  1 หรื อ 3 > 1 ให้ c = -1 จะได้ 2  (1)  0  (1) หรื อ 1 > -1 3. สมบัตกำรคูณด้ วยจำนวนเท่ ำกันที่มำกกว่ ำศูนย์ ิ ถ้า a  b และ c  0 แล้ว ac  bc เช่น 5 > 3 ให้ c = 2 จะได้ว่า 5  2  3 2 หรื อ 10 > 6 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 9. 9 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ช่ วง คือ สับเซตของจานวนจริ งที่ไม่สามารถเขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้ ช่วงของ จานวนจริ ง a และ b เมื่อ a  b แบ่งเป็ น 2 แบบ ดังนี้ คือ 1. ช่วงจากัด มี 4 แบบต่างกัน โดยมีความหมายและเขียนแทนได้ดวยเส้นจานวน ดังนี้ ้ 1) ช่วงเปิ ด (a, b) หมายถึง {x a  x  b} a b 2) ช่วงปิ ด [a, b] หมายถึง {x a  x  b} a b 3) ช่วงครึ่ งเปิ ด (a, b] หมายถึง {x a  x  b} a b 4) ช่วงครึ่ งเปิ ด [a, b) หมายถึง {x a  x  b} a b 2. ช่วงอนันต์ มี 5 แบบต่างกัน คือ 1) ช่วง (a, ) หมายถึง {x x  a} a 2) ช่วง [a, ) หมายถึง {x x  a} a 3) ช่วง (, a) หมายถึง {x x  a} a เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 10. 10 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 4) ช่วง (, a] หมายถึง {x x  a} a 5) ช่วง (, ) หมายถึง {x x } ตัวอย่ำงที่ 1 1) n > -4 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 ในภาพเส้นทึบที่มีลกศรแทนจานวนจริ งทุกจานวนที่มีค่ามากกว่า ู สัญลักษณ์ “ O ” หมายถึง ไม่รวมจานวน -4 2) -4 n  2 -5 -4 -3 -2 -1 0 สัญลักษณ์ “” หมายถึง รวมจานวน 1 2 2 3 ด้วย เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 4 5 6
  • 11. 11 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 คำชี้แจง ใบงำนที่ 11 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์ ั ู มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………………… 2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………………… 3. x มีค่าน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………. 4. y มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ ………………………………… 5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………………………….. 6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ ……………………………. 7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว …………………………………………………… 8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > ……………………………………………………… 9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ………………………………………………………. 10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > …………………………………………………… 1. a คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 12. 12 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม ตัวแปร คือ สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนจานวน นิยมใช้ตวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x, y แทน ั จานวน ค่ำคงตัว คือ ตัวเลขที่แทนจานวน เช่น 1, 2, 3 นิพจน์ คือ ข้อความในรู ปสัญลักษณ์ เช่น 2, 3x, 5  x, x  8 เอกนำม คือ นิพจน์ที่เขียนในรู ปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กาลัง ของตัวแปรเป็ นจานวนเต็มบวกหรื อศูนย์ เช่น 3, 2x, 3xy, x 2 พหุนำม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนในรู ปเอกนาม หรื อการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม คือ การเขียน พหุนามในรู ปการคูณของพหุนามที่มดีกรี ต่ากว่า ี ตัวอย่ำงที่ 1 1) 8x  6  2(4x)  2(3)  2(4x  3) 2) 2x3  3x 2  x  x(2x 2 )  x(3x)  x(1)  x(2x 2  3x  1) พหุนำมดีกรีสอง ตัวแปรเดียว เป็ นพหุนามที่เขียนได้ในรู ป ax 2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นค่าคงตัว ที่ a  0 และ x เป็ นตัวแปร ตัวอย่ำงที่ 2 1) 3x 2  6x  1 มี a = 3, b = -6 และ c = 1 2) 5x 2  8x  3 มี a = 5, b = 8 และ c = -3 พิจารณา พหุนามดีกรี สองตัวแปรเดียว ax 2  bx  c ในกรณี ที่ a = 1และ b, c เป็ นจานวนเต็ม และ c  0 ว่าอยูในรู ปอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ดังนี้ ่ ตัวอย่ำงที่ 3 1) x 2  6x  1 2) x 2  8x  3 พิจารณา การหาผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่งกับพหุนามดีกรี หนึ่ง เพื่อเป็ นแนวทางในการแยก ตัวประกอบพหุนามดีกรี สองตัวแปรเดียว ตัวอย่ำงที่ 4 (x  2)(x  3)  x(x  2)  3(x  2)  (x 2  2x)  (3x  6)  x 2  (2  3)x  6  x 2  5x  6 เมื่อเขียน x 2  5x  6 ในรู ปของผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่ง ซึ่งจะได้ x 2  5x  6  (x  2)(x  3) เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 13. 13 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ขั้นตอนในการแยกตัวประกอบ x 2  5x  6 โดยพิจารณา ย้อนกลับจากการหาผลคูณข้างต้น x 2  5x  6  x 2  (2  3)x  6  x 2  (2x  3x)  6  (x 2  2x)  (3x  6)  x(x  2)  3(x  2)  (x  2)(x  3) การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง x 2  bx  c เมื่อ b และ c เป็ นจานวนเต็ม จะทาได้ เมื่อ สามารถหาจานวนเต็มสองจานวนที่คณกันได้ c และ บวกกันได้ b นันคือ ู ่ ถ้าให้ m และ n แทนจานวนเต็มสองจานวนนั้น จะได้ mn  b m n  c ดังนั้น x 2  bx  c  x 2  (m  n)x  mn  (x 2  mx)  (nx  mn)  x(x  m)  n(x  m)  (x  m)(x  n) นันคือ x 2  bx  c แยกตัวประกอบได้เป็ น ่ ตัวอย่ำงที่ 5 (x  m)(x  n) 1) x 2  7x  12  (x  3)(x  4) 2) x 2  7x  12  (x  3)(x  4) 3) x 2  x  12  (x  4)(x  3) 4) x 2  x  12  (x  3)(x  4) ตัวอย่ำงที่ 6 (4x  3)(2x  1)  2x(4x  3)  (4x  3)  (8x 2  6x)  (4x  3)  8x 2  (6x  4x)  3  8x 2  10x  3 ดังนั้น (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3 การหาผลคูณของพหุนามดีกรี หนึ่ง โดยใช้สมบัติการแจกแจง 1) จาก (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3 จะได้ว่า หน้า  หน้า = พจน์หน้าของผลคูณ 2) จาก (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3 จะได้ว่า หลัง  หลัง = พจน์หลังของผลคูณ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 14. 14 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 3) จาก (4x  3)(2x  1)  8x 2  10x  3 จะได้ว่า (หน้า  หลัง) + (หลัง  หน้า) = พจน์กลางของผลคูณ พิจารณาการแยกตัวประกอบ 8x 2  10x  3 โดยอาศัยสมบัติยอนกลับ ดังนี้ ้ 1) หาพหุ นามดีกรี หนึ่ ง สองพหุ นามที่คูณกันได้ 8x 2 แล้วเขียนไว้ในวงเล็บเป็ นคู่ ๆ ดังนี้ (4x )(2x ) หรื อ (8x )(x ) 2) หาจานวนสองจานวนที่คูณกันแล้วได้ + 3 ไปเขียนเป็ นพจน์หลังของพหุ นามในข้อ 1) ดังนี้ (4x  1)(2x  3) = (4x  1)(2x  3) (4x  3)(2x  1) = (4x  3)(2x 1) 3) ตรวจสอบดูว่าพจน์กลางของพหุ นามที่เป็ นผลคูณของพหุ นามคู่ใดในข้อ 2) มีค่าเท่ากับ 10x (พจน์กลางของ 8x 2  10x  3 ) โดยนา (หน้า  หลัง) + (หลัง  หน้า) จะได้ว่า (4x  3)(2x  1) มีพจน์กลางเท่ากับ 10x ในกรณี ที่พหุนามที่กาหนดให้ สามารถแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจงได้ ก็ให้ใช้สมบัติการ แจกแจงก่อน ตัวอย่ำงที่ 7 5x 2  10x  5  5(x 2  2x  1)  5(x  1)(x  1) ตัวอย่ำงที่ 8 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สองต่อไปนี้ 1) 2) 3) 4) 12x 2  31x  9 12x 2  39x  9 14x 2  65x  9 221x 2  5x  6 พหุนามดีกรี สองที่แยกประกอบ แล้วได้ตวประกอบ เป็ นพหุนามดีกรี หนึ่งซ้ ากัน เรี ยกว่า กำลังสอง ั สมบูรณ์ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 15. 15 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ใบงำนที่ 12 คำชี้แจง จงแยกตัวประกอบพหุนามต่อไปนี้ 1) 3x2 + 6x2 = ………………………………………………………………… 2) 2x2 - x ………………………………………………………………… = 3) 4x3 - 16x2 - 8x = …………………………………………………………… 4) x2 + 9x + 8 = ……………………………………………………….……… 5) x2 - 10x + 24 = ………………………………………………..…………... 6) 3x2 + 4x - 15 = ……………………………………………………………. 7) 2x2 - x - 1 = ……………………………………………………………. คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 16. 16 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว “ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b อย่างน้อยหนึ่งค่าต้องเป็ นศูนย์” วิธีหาคาตอบของสมการกาลังสอง สามารถใช้สูตรเพื่อ โดยการหาค่า x ได้ดงนี้ ั b  b 2  4ac 2a “ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง x อาศัยความรู้เกี่ยวกับจานวนจริ งที่ว่า และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b อย่างน้อยหนึ่งค่าต้องเป็ นศูนย์” หาคาตอบของสมการโดยอาศัยความรู้จากข้อความข้างต้น จาก (x  3)(x  2)  0 จะได้ว่า (x  3)  0 หรื อ (x  2)  0 หาคาตอบของสมการ (x  3)(x  2)  0 โดยหาค่า x ที่ทาให้ x – 3 = 0 หรื อ x + 2 = 0 ซึ่งจะได้ x = 3 หรื อ x = -2 ดังนั้น คาตอบของสมการ (x  3)(x  2)  0 คือ 3, -2 ตัวอย่ำงที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ x 2  5x  6  0 วิธีทำ จาก x 2  5x  6  0 จะได้ (x  3)(x  2)  0 ดังนั้น x  3  0 หรื อ x  2  0 x  3 หรื อ x  2 ตรวจสอบคาตอบ โดยแทนค่า x  3 หรื อ x  2 ลงใน สมการ x 2  5x  6  0 จะได้ ซึ่งเป็ นจริ ง (3)2  5(3)  6  0 และ (2)2  5(2)  6  0 ซึ่งเป็ นจริ ง ดังนั้น คาตอบของสมการ x 2  5x  6  0 คือ 3 หรื อ 2 ตัวอย่ำงที่ 2 วิธีทำ จงหาคาตอบของสมการ (4x  8)(x  5)  (5x  2)(x  2) (4x  8)(x  5)  (5x  2)(x  2) จาก จะได้ 4x 2  12x  40  5x 2 12x  4 0  5x 2  4x 2  12x  12x  4  40 0  x 2 24x  44 หรื อ x 2 24x  44  0 (x  22)(x  2)  0 ดังนั้น หรื อ x  2  0 x  22 หรื อ x  2 x  22  0 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 17. 17 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 คาตอบของสมการ คือ 22 หรื อ 4 5 3   x 1 x  2 x ตัวอย่ำงที่ 3 จงหาคาตอบของสมการ วิธีทำ 2 4 5 3   x 1 x  2 x จาก ทาส่วนให้หมดไปก่อน โดยการคูณทั้งสองข้างของสมการด้วย x(x 1)(x  2) จะได้ 4x(x  2)  5x(x  1)  3(x  1)(x  2) 4x 2  8x  5x 2  5x  3(x 2  x  2)  x 2  13x  3x 2  3x  6  4x 2  10x  6  0 หารทั้งสองข้างของสมการด้วย (-2) จะได้ 2x 2  5x  3  0 (2x  1)(x  3)  0 ดังนั้น หรื อ 2x  1  0 1 2 x x 3  0 หรื อ x3 คาตอบของสมการ คือ  1 หรื อ 3 2 ตัวอย่ำงที่ 4 จงหาคาตอบของสมการ 5x 2  3x  0 วิธีทำ จาก 5x 2  3x  0 a  5, b  3 และ c = 0 ั 5x 2  3x แยกตัวประกอบ โดยใช้สมบัติแจกแจง ได้ดงนี้ จาก 5x 2  3x  0 x(5x  3)  0 จะได้ x0 หรื อ x0 หรื อ 5x  3  0 x 3 5 ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 0,  3 5 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 18. 18 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ตัวอย่ำงที่ 5 จงหาคาตอบของสมการ วิธีทำ จาก 9x 2  50 จะได้ x2  9x 2  50 50 9 x2   50 9  5 2 3 ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 5 2 3 หรื อ  5 2 3 *** นอกจากใช้วิธีแยกตัวประกอบดังที่กล่าวมาแล้ว ยังสามารถใช้สูตร เพื่อหาคาตอบของสมการกาลังสอง โดยการหาค่า x ได้ดงนี้ ั x b  b 2  4ac 2a ตัวอย่ำงที่ 6 จงหาคาตอบของสมการ x 2  2x 11  0 โดยใช้สูตร วิธีทำ จาก x 2  2x  11  0 จะได้ a  1, b  2 และ c = -11 b2  4ac  (2)2  4(1)(11)  48 จาก จะได้ว่า หรื อ 4 3 b  b 2  4ac 2a 2  4 3 x 2 x  1  2 3 คาตอบของสมการ คือ 1  2 3 หรื อ 1  2 3 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 19. 19 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ใบงำนที่ 13 จงหำคำตอบของสมกำรต่อไปนี้ 1) x 2  7x  12  0 2) x 2  16x  15  0 3) x  x  30 2 4) x  5x  6 2 5) 5x  4x  1 2 6) 12x 2 0  107x  9 7) 18m  8   35m 2 8) 6  7x  x 2 0 9) 9  42y  49y 2  0 10) 16x 2   1  8x เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 20. 20 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 กำรแก้สมกำรและอสมกำรตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง “ถ้า a, b เป็ นจานวนจริ ง และ ab = 0 แล้ว a หรื อ b อย่างน้อยหนึ่ งค่าต้องเป็ นศูนย์” วิธีหาคาตอบของสมการกาลังสอง สามารถใช้สูตรเพื่อ โดยการหาค่า x ได้ดงนี้ ั x b  b 2  4ac 2a วิธีการแก้อสมการ แบ่งออกเป็ น 2 กรณี คือ 1) การแก้อสมการที่ตวแปรมีเลขชี้กาลังเท่ากับหนึ่ ง ทาเช่นเดียวกับการแก้สมการ แต่ตอง ั ้ ระมัดระวังการคูณด้วยจานวนลบ เพราะจะทาให้เครื่ องหมายของอสมการเปลี่ยนแปลงได้ 2) การแก้อสมการที่ตวแปรมีเลขชี้กาลังตั้งแต่สองขึ้นไป มีวิธีทาโดยทัวไป ดังนี้ คือ ั ่ 2.1) จัดข้างใดข้างหนึ่ งของอสมการให้เป็ นศูนย์ 2.2) แยกตัวประกอบ โดยให้ตวประกอบมีตวแปรที่มีเลขชี้กาลังเท่ากับหนึ่ ง ั ั และสัมประสิทธ์หน้าตัวแปรต้องเป็ นจานวนบวกเสมอ เมื่อได้ตวประกอบในรู ป ั (a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0 หรื อ เมื่อ ของ (a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0 bi b j  ai a j สาหรับทุก ๆ i  j (นันคือตัวประกอบต้องไม่ซ้ ากัน) แล้วหาเซตคาตอบ ่ (a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  bn )  0 .................(*) 2.3) เขียนกราฟของเซตคาตอบของสมการ(*) หรื อค่าของ x ที่ทาให้อสมการเป็ นศูนย์ ลงบนเส้นจานวน จะได้ b1 a1 b2 a2 bn 1 a n 1 bn an 2.4) ใส่ เครื่ องหมาย + , - สลับกันไปในแต่ละช่วง โดยเริ่ มจากขวามือสุ ดของ อสมการ เช่น + - b1 a1 - + b2 a2 bn 1 a n 1 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั + bn an
  • 21. 21 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 2.5) เซตคาตอบของอสมการ (a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  b n )  0 คือ ยูเนียนของช่วงที่มีเครื่ องหมายลบทั้งหมด 2.6) เซตคาตอบของอสมการ (a1x  b1 )(a 2 x  b2 )(a 3x  b3 ) . . . (a n x  b n )  0 คือ ยูเนียนของช่วงที่มีเครื่ องหมายบวกทั้งหมด ในการแก้อสมการตัวแปรเดียวดีกรี หนึ่ง หรื อการหาคาตอบของอสมการนั้นจะต้องอาศัยสมบัติของ การไม่เท่ากัน 1 จงหาคาตอบของอสมการต่อไปนี้ 2x + x < 10 4x – 4  2x + 4 ตัวอย่ำงที่ 1. 2. วิธีทำ 1) 2x + 2 2x + 2 + (-2) 2x < < < เซตคาตอบของ 2) 4x – 4 4x – 4 + 4 4x 4x + (-2x) 2x x เซตคาตอบของอสมการ 1. คือ {x | x < 4}  2x + 4  2x + 4 + 4  2x + 8  2x + (-2x) + 8  8   1 (8) 2 4 4x – 4  2x + 4 2 จงแก้อสมการต่อไปนี้ -x + 4 < -12 -x + 7  4 ตัวอย่ำงที่ วิธีทำ 1 (8) 2 x < 4 2x + 2 < 10 1 (2x) 2 1. 2. 10 10 + (-2) 8 < 1 (2x) 2 และเขียนแทนด้วยเซต คือ {x | x  4} พร้อมทั้งแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน -x + 4 < 12 บวกทั้งสองข้างของอสมการด้วย -4 จะได้ -x + 4 + (-4) < -12 + (-4) -x < -8 x > 8 (เอา -1 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั คูณทั้งสองข้าง)
  • 22. 22 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 เซตคาตอบของอสมการคือ เซตของจานวนจริ งที่มากกว่า -1 0 1 2 3 4 5 6 หรื อ 8 7 8 9 10 หรื อ {x | x  3} {x | x > 8} -x + 7  4 2. บวกทั้งสองข้างของอสมการด้วย -7 จะได้  4 + (-7)  -3  3 -x + 7 + (-7) -x x เซตคาตอบของอสมการคือ เซตของจานวนจริ งที่นอยกว่าหรื อเท่ากับ ้ -3 -2 -1 0 1 2 3 4 3 5 ตัวอย่ำงที่ 3 จงแก้อสมการ x2 + x – 6 > 0 และแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน วิธีทำ จาก x2 + x – 6 > 0 จะได้ (x + 3)(x – 2) > 0 พิจารณาค่าของ x ในช่วง (-  , -3), (-3, 2) และ (2,  ) โดยเลือกค่า x ที่อยูในช่วงดังกล่าว ่ x (x + 3)(x – 2) ช่วง ค่าของ (x + 3)(x – 2) (-  , -3) -5 (-2)(-7) = 14 มีค่าเป็ นบวก (-3, 2) 1 4(-1) = -4 มีค่าเป็ นลบ (2,  ) 4 (7)(2) = 14 มีค่าเป็ นบวก และเมื่อเลือกค่า x ในช่วงดังกล่าวเพิ่ม จะพบว่า (x + 3)(x – 2) มีค่าเป็ นบวกหรื อ มากกว่าศูนย์ เมื่อ x อยูในช่วง (-  , -3) และ (2,  ) ่ แสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวนได้ดงนี้ ั -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั 4
  • 23. 23 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 คำชี้แจง ข้ อที่ 1 2 ใบงำนที่ 14 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์ ั ู โจทย์อสมกำร จงหาเซตคาตอบของอสมการต่อไปนี้และเขียนแทนด้วยเซต 1.1 1.2 1.3 1.4 x+3 < 6 2x + 4  10 3x – 7  5 -4 + 4x  8 เซต 1.1 ………………… 1.2 ………………… 1.3 ………………… 1.4 ………………… จงแก้อสมการต่อไปนี้ และแสดงคาตอบโดยใช้เส้นจานวน 2.1 -3x  -6 2.2 -5x – 1  -11 2.3 -8x + 6 > -10 2.4 -5 – 5x > -2x - 8 คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 24. 24 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ค่ ำสั มบูรณ์ ของจำนวนจริง บทนิยำม ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริ ง ถ้า a เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a โดยมีความหมาย ดังนี้  a, a  0 a  a, a  0 ตัวอย่ำงที่ 1 2  2 8  8 และ และ หรื อ 2   (8) หรื อ 8 2   (2) 8 ตัวอย่ำงที่ 2 จงหาค่าของ 1. 2. 3. 4. | -9 | | -10 + 2 | | 8 - 20 | | 5 | + | -3 | วิธีทำ 1. 2. 3. 4. | -9 | = -(-9) = 9 | -10 + 2 | = | -8 | = -(-8) = 8 | 8 - 20 | = | -12 | = -(-12) = 12 | 5 | + | -3 | = 5 + [ -(-3) ] = 5 + 3 = 8 โดยทัวไป ถ้า ่ 1. เป็ นจานวนบวกใด ๆ | x | < a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a < x < a และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a  x  a เช่น | x | < 3 หมายความว่า ระยะจากจุด x ไปยัง 0 บนเส้นจานวน น้อยกว่า 3 หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจานวนได้ดงนี้ ั -4 a -3 -2 จากรู ป จะเห็นว่า |x|  3 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 มีความหมายเช่นเดียวกัน -3 < x < 3 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้ ั |x| < 3 -1 0 1 2 3 4 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 25. 25 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x < -a หรื อ x > a  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x  a หรื อ x  a > 2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้ ั 2. | x | > a และ เช่น |x| |x| -2 -1 0 1 2 3 จากรู ป จะเห็นว่า | x | > 2 มีความหมายเช่นเดียวกับ | x |  2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดงนี้ ั -4 ตัวอย่ำงที่ 1. 2. วิธีทำ -3 3 -2 -1 จงแสดงค่าของ 0 x 1 2 3 หรื อ 4 บนเส้นจานวน เมื่อกาหนดให้ |x| > 6 |x|  5 มีความหมายเช่นเดียวกับ x เขียนแสดงค่าของ x บนเส้นจานวนได้ดงนี้ ั 1. x < -2 |x| > 6 หรื อ x > 6 หรื อ x  5 < -6 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 2. | x |  5 มีความหมายเช่นเดียวกับ x  -5 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั x>2
  • 26. 26 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง ระบบจานวนจริ ง ระดับชั้นม.4 ใบงำนที่ 15 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถกต้องสมบูรณ์ ั ู คำชี้แจง 1. | -7 | = ………………………………………………………………… 2. | 8 -13 | = ……………………………………………………………….... 3. | 12 | + | -5 | - | 20 | 4. | -25 | - | -3 | 5.  10 | - 5| = = ………………………………………………………. = ……………………………………………………………… ………………………………………………………………... = …………………………………………………… 7. | 8  102 | + | 5  102 | = …………………………………………………… 6. | 10 -7 | + | 20 - 30 | 8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = ……………………..……………………. คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั