SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
โจทย์ ปัญหาอสมการ
การแก้โจทย์ปัญหาของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีข้นตอน
                                                  ั
             ่
1. วิเคราะห์วาโจทย์กาหนดสิ่ งใด และต้องการทราบอะไร
2. สมมุติตวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ตองการ หรื อที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่
          ั                    ้
 โจทย์ตองการหา
       ้
3. เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสัญลักษณ์
4. แก้อสมการ
5. ตรวจสอบคาตอบ

  ให้นกเรี ยนพิจารณาศึกษาขั้นที่ 1 2 และ 3 ซึ่งเป็ นขั้นสาคัญ
      ั
ในขันตอนที่ 1 นักเรี ยนต้ องอ่ านโจทย์ ปัญหา และวิเคราะห์
    ้
        1.1 โจทย์เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร
        1.2 โจทย์กาหนดอะไรมาให้ หรื อโจทย์ให้ขอมูลอะไรมา
                                              ้
        1.3 โจทย์ตองการทราบอะไร
                  ้
ตัวอย่างที่ 1) นายเชิดมีรายได้เพิ่มจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิง
                                                                  ั            ่
 ซึ่ งมีรายได้เดือนละ 45,000 บาท จงหาว่านายเชิดมีรายได้อยูเ่ ดิมมากสุ ดเดือนละ
 เท่าไร

ขันที่ 1 เป็ นเรื่ องเงิน รายได้นายเชิดเพิมจากเดิมเดือนละ1,200 แต่นอยกว่านายยิงรายได้ต่อ
  ้                                       ่                        ้          ่
เดือนละ 45,000 บาท ต้องการหารายได้เดิมของนายเชิดมากสุ ดเดือนละเท่าไร

 ขันที่ 2 สมมุติให้นายเชิดเดิมมีรายได้เดือนละ x บาท
   ้

 ขั้นที่ 3 จากนายเชิดมีรายได้เพิมจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิงซึ่ งมี
                                ่                             ั             ่
 รายได้เดือนละ 45,000 บาท

        จะได้อสมการ        x + 1,200 < 45,000

   ขันที่ 4 แก้อสมการ;
     ้                            x     <      45,000 – 1,200
จะได้อสมการ       x + 1,200 < 45,000

ขันที่ 4 แก้อสมการ;
  ้                             x      <         45,000 – 1,200
                                x      <         43,800
                      x มีค่ามากสุ ดได้ 43,799
          ตอบ นายเชิดเดิมมีรายได้มากสุ ดเดือนละ 43,799 บาท


ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ
  ้                    แทนค่า x = 43,799;         ใน x + 1,200 < 45,000
                                                 43,799 + 1,200 < 45,000
                                                          44,999   < 45,000   จริ ง
ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวน
เรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
แนวคิด ขันที่ 1 ( 1.1) เป็ นเรื่ อง จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่ เช่ น 7 , 9, 11
          ้
- เมื่อจานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีเ้ ลขตัวน้ อยที่สุดเป็ น 7
- จานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีที่เรี ยงต่ อกันอีกเป็ น 9, 11 เทียบได้ 7+2 และ 7+4
                            ้
(1.2) โจทย์ กาหนด จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยงกัน
ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
(1.3) โจทย์ ต้องการทราบ จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้ง
สามจานวนเรี ยงกัน                         จึงต้องสมมุติให้จานวน
เต็มเลขคี่จานวนน้อยเป็ น x
ขันที่ 2 สมมติตัวแปรแทนสิ่ งที่ โจทย์ ต้องการ
           ้
วิธีทา สมมุติให้จานวนเต็มเลขคี่จานวนแรกเป็ น x
จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันคือ x, x + 2, x + 4
   ขันที่ 3 เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสั ญลักษณ์
     ้

เนื่องจากจานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
สร้างอสมการได้ x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
ขันที่ 4 การแก้ อสมการ
     ้
              x+ x+2+ x+4           >
                                    51
                       3x + 6       >
                                   51
                          3x        >
                                   51 – 6
                             x      >
                                   45
                                    3
                           x > 15
      ตอบ x เป็ นจานวนเต็มคี่จานวนแรกคือ 17
ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 17; ใน x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
  ้
        จานวนเต็มคี่สามจานวนเรี ยงกัน คือ 17, 19, 21
         จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่ งมีผลบวกที่มากกว่า 51
          17 + 19 + 21 มากกว่า 51
                   57 มากกว่า 51            จริ ง
ตัวอย่างที่3) แผ่นไม้อดรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากมีดานยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7
                      ั                        ้
เซนติเมตร ถ้าวัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร จงหาด้านกว้าง
มีขนาดอย่างมากกี่เซนติเมตร
แนวคิด ขันที่ 1 เรื่ องรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า การวัดความยาวรอบรอบรู ป
         ้                                                           โจทย์ให้
ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 7 เซนติเมตร วัดความยาวรอบของแผ่นไม้ได้ไม่ถึง 50
เซนติเมตร ต้องการหาขนาดของด้านกว้าง
วิธีทา ขันที่ 2 สมมุติให้ไม้อดมีดานกว้าง x เซนติเมตร
         ้                   ั ้
จากด้านยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 เซนติเมตร
ได้ดานยาวยาว x + 7 เซนติเมตร
     ้
                    x+7
                                           ความยาวรอบได้ x + (x+7) + x + (x+7)
           x                       x
                 x+7
ขันที่ 3 วัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร
  ้
       จะได้อสมการ x + (x+7) + x + (x+7) < 50
ขันที่ 4 การแก้ อสมการ x+x+7+x+x+7 < 50
  ้
                                  4x + 14 < 50
                                     4x      < 50 – 14
                                       x     < 36
                                                4
                                       x     < 9
              x มีค่าเป็ น 8, 7 , 6 , 5 ,...
          ตอบ ด้านกว้างมีขนาดอย่ างมาก 8 เซนติเมตร
ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ
  ้                      แทนค่า x = 8; x + (x+7) + x + (x+7) < 50
                                 8 + (8 + 7) + 8 + (8 + 7)   < 50
                                                         46  < 50   จริ ง
ตัวอย่างที่ 4     พ่อค้าซื้ อส้มโอขนาดผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล
 เป็ นเงิน 16,500 บาท นามาขายปลีกขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ผลเล็กขายผลละ 10 บาท
ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท พ่อค้าซื้ อส้มขนาดผลใหญ่มาจานวนเท่าใด
  วิธีทา       สมมติให้ซ้ื อส้มผลใหญ่มาจานวน x ผล
           จากโจทย์ ซื้ อส้มผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล
           ดังนั้นซื้ อส้มผลเล็กมาจานวน 1,500 – x ผล
           จากขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท
           ดังนั้นขายส้มผลใหญ่ x ผล ขายได้เงิน 12x บาท
           จากขายส้มผลเล็กผลละ 10 บาท
           ดังนั้น ขายส้มผลเล็ก 1,500 – x ผล      ขายได้เงิน 10(1,500 – x ) บาท
           ขายส้มได้เงินทั้งหมด 12x + 10(1,500 – x ) บาท
(โดยปกติ ราคาขาย – ทุน เท่ากับ กาไร)
                 ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท
                 ราคาขาย – ทุน มากกว่า กาไร 800 บาท
ดังนั้น   {12x + 10(1500 – x )} – 16500     > 800
            12x + 15000 – 10x – 16500       > 800
                               12x – 10 x    > 800 – 15000 +16500
                                      2x     > 2300
                                       x     > 2300
                                                 2
                                      x      > 1150
          ตอบ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่จานวนมากกว่า 1150 ผล
           หรื อ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่อย่างน้อย 1151 ผล
ตัวอย่างที่ 5 สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5
มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด จานวนเต็มจานวนนั้นคืออะไร
 วิธีทา    สมมติให้ จานวนจานวนนั้นเป็ น x
   จากโจทย์ สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5
            มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด
  ได้อสมการ       3(x + 5 ) > x – 7
                  3x + 15 > x – 7
                   3x – x   > – 7 – 15
                   2x       > – 22
                      x     > – 22
                                  2
                        x   > – 11
       ตอบ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า – 11
ตัวอย่างที่ 6 ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32
และผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 จงหาจานวนที่มากเป็ นจานวนเท่าใดได้บาง
                                                                      ้
วิธีทา   สมมติให้ จานวนมากเป็ น x
จากโจทย์ ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32           ได้จานวนน้อยเป็ น 32 – x
จากโจทย์ ผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24
  ได้          x – (32 – x) > 24
               x – 32 + x   > 24
                     2x     > 24 + 32
                         x  > 56
                              2
                          x > 28
          จานวนเต็มที่มากกว่า 28 แต่ตองไม่มากกว่า 32
                                     ้
ตัวอย่างที่ 7 สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท
     ถ้ากางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท      จงหาว่าสมรจะซื้ อเสื้ อ
    และกางเกงที่ราคาสู งสุ ดได้เท่าไร

วิธีทา    สมมติให้ ซื้ อเสื้ อราคาตัวละ x บาท
          ซื้ อเสื้ อ 4 ตัว เป็ นเงิน 4x บาท
          จาก กางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท
          ดังนั้น กางเกงราคาตัวละ 2x + 10 บาท
          ซื้ อ กางเกง 3 ตัว เป็ นเงิน 3(2x + 10) บาท
          สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท

          ได้อสมการ; 4x + 3(2x + 10) < 1510
4x + 3(2x + 10) < 1510
                4x + 6x + 30 < 1510
                    10x      < 1510 – 30
                         x < 1480
                                 10
                          x < 148

             ซื้ อเสื้ อราคาสู งสุ ดไม่ถึง 148 บาท

ซื้ อกางแกงราคาสู งสุ ด 2(148) + 10        = 296 + 10 = 306 บาท
ตัวอย่างที่ 8     รู ปสามเหลี่ยมหน้าจัวรู ปหนึ่ งมีฐานยาว 15 เซนติเมตร
                                      ่
   มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร จงหาด้านประกอบมุมยอดยาวเท่าไร
  วิธีทา        สมมติให้ x แทนความยาวด้านประกอบมุมยอด
            ด้านประกกอบมุมยอด สองด้านยาว 2x เซนติเมตร
            จาก มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร


                   x               x

                           15

      ได้อสมการ;           2x + 15 < 41
2x + 15 < 41

              2x < 41 – 15

                 x <       26
                            2
                 x < 13

ตอบ ด้านประกอบมุมยอดยาวน้อยกว่า 13 เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 9                         ่
                   มีเหรี ยญสิ บบาทอยูจานวนหนึ่ ง มีเหรี ยญห้าบาทน้อยกว่าเหรี ยญสิ บบาท
     อยู่ 5 เหรี ยญ และมีเหรี ยญหนึ่ งบาทเป็ นสองเท่าของเหรี ยญห้าบาท
      รวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท
                                             ้
      จงหาว่ามีเหรี ยญสิ บบาทจานวนกี่เหรี ยญ
วิธีทา          สมมติให้ มีเหรี ยญสิ บบาทจานวน x เหรี ยญ
                ดังนั้นเหรี ยญสิ บบาท x เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 10x บาท
                มีเหรี ยญห้าบาทจานวน x – 5 เหรี ยญ
                ดังนั้นเหรี ยญห้าบาท (x – 5 ) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 5(x – 5) บาท
                มีเหรี ยญหนึ่งบาทจานวน 2(x – 5) เหรี ยญ
                 ดังนั้นเหรี ยญหนึ่งบาท 2(x – 5) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 2(x – 5) บาท
       จากรวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท
                                              ้
      ได้อสมการ       305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
            305 < 10x + 5x – 25 + 2x – 10           < 390
            305 < 17x – 35                          < 390

          305 < 17x – 35          และ     17x – 35 < 390
    305 + 35 < 17x                และ     17x          < 390 + 35
         340 < x                  และ      x           < 425
          17                                              17
           20 < x                 และ           x       < 25

                            20 < x < 25

ตอบ มีเหรี ยญสิ บบาทมากกว่า 20 เหรี ยญ    แต่ไม่ถึง 25 เหรี ยญ

More Related Content

What's hot

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาDarika Roopdee
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 

What's hot (20)

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
การอสมการสองอสมการ
การอสมการสองอสมการการอสมการสองอสมการ
การอสมการสองอสมการ
 

Viewers also liked

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียมทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (20)

32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
(พื้นที่ใต้เส้นโค้ง)
(พื้นที่ใต้เส้นโค้ง)(พื้นที่ใต้เส้นโค้ง)
(พื้นที่ใต้เส้นโค้ง)
 
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6
วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6
วิชา ค23102 คณิตศาสตร์ 6
 
(เส้นโค้งปกติ)
(เส้นโค้งปกติ)(เส้นโค้งปกติ)
(เส้นโค้งปกติ)
 
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม(ขอบล่าง   ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
(ขอบล่าง ขอบบน) - รูปหลายเหลียม
 
ค23101 คณิตศาสตร์ 5
ค23101 คณิตศาสตร์ 5ค23101 คณิตศาสตร์ 5
ค23101 คณิตศาสตร์ 5
 
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆการนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
 
เฉลย O net ม.3 ปี 56
เฉลย O net ม.3 ปี 56เฉลย O net ม.3 ปี 56
เฉลย O net ม.3 ปี 56
 
ตรีโกณมิติครูทับทิม
ตรีโกณมิติครูทับทิมตรีโกณมิติครูทับทิม
ตรีโกณมิติครูทับทิม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 

Similar to วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน

Similar to วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน (20)

112
112112
112
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
  ___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06  ___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 
Real
RealReal
Real
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
666
666666
666
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 
ความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลังความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลัง
 

วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน

  • 2. การแก้โจทย์ปัญหาของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีข้นตอน ั ่ 1. วิเคราะห์วาโจทย์กาหนดสิ่ งใด และต้องการทราบอะไร 2. สมมุติตวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ตองการ หรื อที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ ั ้ โจทย์ตองการหา ้ 3. เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสัญลักษณ์ 4. แก้อสมการ 5. ตรวจสอบคาตอบ ให้นกเรี ยนพิจารณาศึกษาขั้นที่ 1 2 และ 3 ซึ่งเป็ นขั้นสาคัญ ั
  • 3. ในขันตอนที่ 1 นักเรี ยนต้ องอ่ านโจทย์ ปัญหา และวิเคราะห์ ้ 1.1 โจทย์เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร 1.2 โจทย์กาหนดอะไรมาให้ หรื อโจทย์ให้ขอมูลอะไรมา ้ 1.3 โจทย์ตองการทราบอะไร ้
  • 4. ตัวอย่างที่ 1) นายเชิดมีรายได้เพิ่มจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิง ั ่ ซึ่ งมีรายได้เดือนละ 45,000 บาท จงหาว่านายเชิดมีรายได้อยูเ่ ดิมมากสุ ดเดือนละ เท่าไร ขันที่ 1 เป็ นเรื่ องเงิน รายได้นายเชิดเพิมจากเดิมเดือนละ1,200 แต่นอยกว่านายยิงรายได้ต่อ ้ ่ ้ ่ เดือนละ 45,000 บาท ต้องการหารายได้เดิมของนายเชิดมากสุ ดเดือนละเท่าไร ขันที่ 2 สมมุติให้นายเชิดเดิมมีรายได้เดือนละ x บาท ้ ขั้นที่ 3 จากนายเชิดมีรายได้เพิมจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิงซึ่ งมี ่ ั ่ รายได้เดือนละ 45,000 บาท จะได้อสมการ x + 1,200 < 45,000 ขันที่ 4 แก้อสมการ; ้ x < 45,000 – 1,200
  • 5. จะได้อสมการ x + 1,200 < 45,000 ขันที่ 4 แก้อสมการ; ้ x < 45,000 – 1,200 x < 43,800 x มีค่ามากสุ ดได้ 43,799 ตอบ นายเชิดเดิมมีรายได้มากสุ ดเดือนละ 43,799 บาท ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ ้ แทนค่า x = 43,799; ใน x + 1,200 < 45,000 43,799 + 1,200 < 45,000 44,999 < 45,000 จริ ง
  • 6. ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวน เรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 แนวคิด ขันที่ 1 ( 1.1) เป็ นเรื่ อง จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่ เช่ น 7 , 9, 11 ้ - เมื่อจานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีเ้ ลขตัวน้ อยที่สุดเป็ น 7 - จานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีที่เรี ยงต่ อกันอีกเป็ น 9, 11 เทียบได้ 7+2 และ 7+4 ้ (1.2) โจทย์ กาหนด จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 (1.3) โจทย์ ต้องการทราบ จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้ง สามจานวนเรี ยงกัน จึงต้องสมมุติให้จานวน เต็มเลขคี่จานวนน้อยเป็ น x
  • 7. ขันที่ 2 สมมติตัวแปรแทนสิ่ งที่ โจทย์ ต้องการ ้ วิธีทา สมมุติให้จานวนเต็มเลขคี่จานวนแรกเป็ น x จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันคือ x, x + 2, x + 4 ขันที่ 3 เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสั ญลักษณ์ ้ เนื่องจากจานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 สร้างอสมการได้ x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
  • 8. ขันที่ 4 การแก้ อสมการ ้ x+ x+2+ x+4 > 51 3x + 6 > 51 3x > 51 – 6 x > 45 3 x > 15 ตอบ x เป็ นจานวนเต็มคี่จานวนแรกคือ 17 ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 17; ใน x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51 ้ จานวนเต็มคี่สามจานวนเรี ยงกัน คือ 17, 19, 21 จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่ งมีผลบวกที่มากกว่า 51 17 + 19 + 21 มากกว่า 51 57 มากกว่า 51 จริ ง
  • 9. ตัวอย่างที่3) แผ่นไม้อดรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากมีดานยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 ั ้ เซนติเมตร ถ้าวัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร จงหาด้านกว้าง มีขนาดอย่างมากกี่เซนติเมตร แนวคิด ขันที่ 1 เรื่ องรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า การวัดความยาวรอบรอบรู ป ้ โจทย์ให้ ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 7 เซนติเมตร วัดความยาวรอบของแผ่นไม้ได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร ต้องการหาขนาดของด้านกว้าง วิธีทา ขันที่ 2 สมมุติให้ไม้อดมีดานกว้าง x เซนติเมตร ้ ั ้ จากด้านยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 เซนติเมตร ได้ดานยาวยาว x + 7 เซนติเมตร ้ x+7 ความยาวรอบได้ x + (x+7) + x + (x+7) x x x+7
  • 10. ขันที่ 3 วัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร ้ จะได้อสมการ x + (x+7) + x + (x+7) < 50 ขันที่ 4 การแก้ อสมการ x+x+7+x+x+7 < 50 ้ 4x + 14 < 50 4x < 50 – 14 x < 36 4 x < 9 x มีค่าเป็ น 8, 7 , 6 , 5 ,... ตอบ ด้านกว้างมีขนาดอย่ างมาก 8 เซนติเมตร ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ ้ แทนค่า x = 8; x + (x+7) + x + (x+7) < 50 8 + (8 + 7) + 8 + (8 + 7) < 50 46 < 50 จริ ง
  • 11. ตัวอย่างที่ 4 พ่อค้าซื้ อส้มโอขนาดผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล เป็ นเงิน 16,500 บาท นามาขายปลีกขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ผลเล็กขายผลละ 10 บาท ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท พ่อค้าซื้ อส้มขนาดผลใหญ่มาจานวนเท่าใด วิธีทา สมมติให้ซ้ื อส้มผลใหญ่มาจานวน x ผล จากโจทย์ ซื้ อส้มผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล ดังนั้นซื้ อส้มผลเล็กมาจานวน 1,500 – x ผล จากขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ดังนั้นขายส้มผลใหญ่ x ผล ขายได้เงิน 12x บาท จากขายส้มผลเล็กผลละ 10 บาท ดังนั้น ขายส้มผลเล็ก 1,500 – x ผล ขายได้เงิน 10(1,500 – x ) บาท ขายส้มได้เงินทั้งหมด 12x + 10(1,500 – x ) บาท
  • 12. (โดยปกติ ราคาขาย – ทุน เท่ากับ กาไร) ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท ราคาขาย – ทุน มากกว่า กาไร 800 บาท ดังนั้น {12x + 10(1500 – x )} – 16500 > 800 12x + 15000 – 10x – 16500 > 800 12x – 10 x > 800 – 15000 +16500 2x > 2300 x > 2300 2 x > 1150 ตอบ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่จานวนมากกว่า 1150 ผล หรื อ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่อย่างน้อย 1151 ผล
  • 13. ตัวอย่างที่ 5 สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5 มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด จานวนเต็มจานวนนั้นคืออะไร วิธีทา สมมติให้ จานวนจานวนนั้นเป็ น x จากโจทย์ สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5 มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด ได้อสมการ 3(x + 5 ) > x – 7 3x + 15 > x – 7 3x – x > – 7 – 15 2x > – 22 x > – 22 2 x > – 11 ตอบ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า – 11
  • 14. ตัวอย่างที่ 6 ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32 และผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 จงหาจานวนที่มากเป็ นจานวนเท่าใดได้บาง ้ วิธีทา สมมติให้ จานวนมากเป็ น x จากโจทย์ ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32 ได้จานวนน้อยเป็ น 32 – x จากโจทย์ ผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 ได้ x – (32 – x) > 24 x – 32 + x > 24 2x > 24 + 32 x > 56 2 x > 28 จานวนเต็มที่มากกว่า 28 แต่ตองไม่มากกว่า 32 ้
  • 15. ตัวอย่างที่ 7 สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท ถ้ากางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท จงหาว่าสมรจะซื้ อเสื้ อ และกางเกงที่ราคาสู งสุ ดได้เท่าไร วิธีทา สมมติให้ ซื้ อเสื้ อราคาตัวละ x บาท ซื้ อเสื้ อ 4 ตัว เป็ นเงิน 4x บาท จาก กางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท ดังนั้น กางเกงราคาตัวละ 2x + 10 บาท ซื้ อ กางเกง 3 ตัว เป็ นเงิน 3(2x + 10) บาท สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท ได้อสมการ; 4x + 3(2x + 10) < 1510
  • 16. 4x + 3(2x + 10) < 1510 4x + 6x + 30 < 1510 10x < 1510 – 30 x < 1480 10 x < 148 ซื้ อเสื้ อราคาสู งสุ ดไม่ถึง 148 บาท ซื้ อกางแกงราคาสู งสุ ด 2(148) + 10 = 296 + 10 = 306 บาท
  • 17. ตัวอย่างที่ 8 รู ปสามเหลี่ยมหน้าจัวรู ปหนึ่ งมีฐานยาว 15 เซนติเมตร ่ มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร จงหาด้านประกอบมุมยอดยาวเท่าไร วิธีทา สมมติให้ x แทนความยาวด้านประกอบมุมยอด ด้านประกกอบมุมยอด สองด้านยาว 2x เซนติเมตร จาก มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร x x 15 ได้อสมการ; 2x + 15 < 41
  • 18. 2x + 15 < 41 2x < 41 – 15 x < 26 2 x < 13 ตอบ ด้านประกอบมุมยอดยาวน้อยกว่า 13 เซนติเมตร
  • 19. ตัวอย่างที่ 9 ่ มีเหรี ยญสิ บบาทอยูจานวนหนึ่ ง มีเหรี ยญห้าบาทน้อยกว่าเหรี ยญสิ บบาท อยู่ 5 เหรี ยญ และมีเหรี ยญหนึ่ งบาทเป็ นสองเท่าของเหรี ยญห้าบาท รวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท ้ จงหาว่ามีเหรี ยญสิ บบาทจานวนกี่เหรี ยญ วิธีทา สมมติให้ มีเหรี ยญสิ บบาทจานวน x เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญสิ บบาท x เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 10x บาท มีเหรี ยญห้าบาทจานวน x – 5 เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญห้าบาท (x – 5 ) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 5(x – 5) บาท มีเหรี ยญหนึ่งบาทจานวน 2(x – 5) เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญหนึ่งบาท 2(x – 5) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 2(x – 5) บาท จากรวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท ้ ได้อสมการ 305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
  • 20. 305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390 305 < 10x + 5x – 25 + 2x – 10 < 390 305 < 17x – 35 < 390 305 < 17x – 35 และ 17x – 35 < 390 305 + 35 < 17x และ 17x < 390 + 35 340 < x และ x < 425 17 17 20 < x และ x < 25 20 < x < 25 ตอบ มีเหรี ยญสิ บบาทมากกว่า 20 เหรี ยญ แต่ไม่ถึง 25 เหรี ยญ