SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
โจทย์ปัญหาอสมการ

  การสร้างประโยคสัญลักษณ์


 ค33101 คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน


ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
การแก้โจทย์ปัญหาของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีข้นตอน
                                                  ั
             ่
1. วิเคราะห์วาโจทย์กาหนดสิ่ งใด และต้องการทราบอะไร
2. สมมุติตวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ตองการ หรื อที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่
          ั                    ้
 โจทย์ตองการหา
       ้
3. เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสัญลักษณ์
4. แก้อสมการ
5. ตรวจสอบคาตอบ

  ให้นกเรี ยนพิจารณาศึกษาขั้นที่ 1 2 และ 3 ซึ่งเป็ นขั้นสาคัญ
      ั
ในขันตอนที่ 1 นักเรี ยนต้ องอ่ านโจทย์ ปัญหา และวิเคราะห์
    ้
        1.1 โจทย์เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร
        1.2 โจทย์กาหนดอะไรมาให้ หรื อโจทย์ให้ขอมูลอะไรมา
                                              ้
        1.3 โจทย์ตองการทราบอะไร
                  ้
ตัวอย่างที่ 1) นายเชิดมีรายได้เพิ่มจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิง
                                                                  ั            ่
 ซึ่ งมีรายได้เดือนละ 45,000 บาท จงหาว่านายเชิดมีรายได้อยูเ่ ดิมมากสุ ดเดือนละ
 เท่าไร

ขันที่ 1 เป็ นเรื่ องเงิน รายได้นายเชิดเพิมจากเดิมเดือนละ1,200 แต่นอยกว่านายยิงรายได้ต่อ
  ้                                       ่                        ้          ่
เดือนละ 45,000 บาท ต้องการหารายได้เดิมของนายเชิดมากสุ ดเดือนละเท่าไร

 ขันที่ 2 สมมุติให้นายเชิดเดิมมีรายได้เดือนละ x บาท
   ้

 ขั้นที่ 3 จากนายเชิดมีรายได้เพิมจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิงซึ่ งมี
                                ่                             ั             ่
 รายได้เดือนละ 45,000 บาท

        จะได้อสมการ        x + 1,200 < 45,000

   ขันที่ 4 แก้อสมการ;
     ้                            x     <      45,000 – 1,200
จะได้อสมการ       x + 1,200 < 45,000

ขันที่ 4 แก้อสมการ;
  ้                             x      <         45,000 – 1,200
                                x      <         43,800
                      x มีค่ามากสุ ดได้ 43,799
          ตอบ นายเชิดเดิมมีรายได้มากสุ ดเดือนละ 43,799 บาท


ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ
  ้                    แทนค่า x = 43,799;         ใน x + 1,200 < 45,000
                                                 43,799 + 1,200 < 45,000
                                                          44,999   < 45,000   จริ ง
ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวน
เรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
แนวคิด ขันที่ 1 ( 1.1) เป็ นเรื่ อง จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่ เช่ น 7 , 9, 11
          ้
- เมื่อจานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีเ้ ลขตัวน้ อยที่สุดเป็ น 7
- จานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีที่เรี ยงต่ อกันอีกเป็ น 9, 11 เทียบได้ 7+2 และ 7+4
                            ้
(1.2) โจทย์ กาหนด จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยงกัน
ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
(1.3) โจทย์ ต้องการทราบ จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้ง
สามจานวนเรี ยงกัน                         จึงต้องสมมุติให้จานวน
เต็มเลขคี่จานวนน้อยเป็ น x
ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยง
กันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51

   ขันที่ 2 สมมุติตัวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ ต้องการ
     ้

  วิธีทา สมมุติให้จานวนเต็มเลขคี่จานวนแรกเป็ น x
  จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันคือ x, x + 2, x + 4

  ขันที่ 3 เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสั ญลักษณ์
    ้

 เนื่องจากจานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51
 สร้างอสมการได้ x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
ขันที่ 4 การแก้ อสมการ
      ้
               x+ x+2+ x+4           >
                                     51
                        3x + 6       >
                                     51
                           3x        >
                                     51 – 6
                              x      >
                                     45
                                      3
                            x > 15
       ตอบ x เป็ นจานวนเต็มคี่จานวนแรกคือ 17
ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 17; ใน x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
  ้
         จานวนเต็มคี่สามจานวนเรี ยงกัน คือ 17, 19, 21
          จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่ งมีผลบวกที่มากกว่า 51
           17 + 19 + 21 มากกว่า 51
                    57 มากกว่า 51            จริ ง
ตัวอย่างที่3) แผ่นไม้อดรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากมีดานยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7
                      ั                        ้
เซนติเมตร ถ้าวัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร จงหาด้านกว้าง
มีขนาดอย่างมากกี่เซนติเมตร
แนวคิด ขันที่ 1 เรื่ องรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า การวัดความยาวรอบรอบรู ป
         ้                                                           โจทย์ให้
ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 7 เซนติเมตร วัดความยาวรอบของแผ่นไม้ได้ไม่ถึง 50
เซนติเมตร ต้องการหาขนาดของด้านกว้าง
วิธีทา ขันที่ 2 สมมุติให้ไม้อดมีดานกว้าง x เซนติเมตร
         ้                   ั ้
จากด้านยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 เซนติเมตร
ได้ดานยาวยาว x + 7 เซนติเมตร
     ้
                    x+7
                                           ความยาวรอบได้ x + (x+7) + x + (x+7)
           x                       x
                 x+7
ขันที่ 3 วัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร
  ้
       จะได้อสมการ x + (x+7) + x + (x+7) < 50
ขันที่ 4 การแก้ อสมการ x+x+7+x+x+7 < 50
  ้
                                  4x + 14 < 50
                                      4x      < 50 – 14
                                        x     < 36
                                                 4
                                        x     < 9
               x มีค่าเป็ น 8, 7 , 6 , 5 ,...
           ตอบ ด้านกว้างมีขนาดอย่ างมาก 8 เซนติเมตร
ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ
  ้                      แทนค่า x = 8; x + (x+7) + x + (x+7) < 50
                                 8 + (8 + 7) + 8 + (8 + 7)   < 50
                                                         46  < 50   จริ ง
ตัวอย่างที่ 4     พ่อค้าซื้ อส้มโอขนาดผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล
 เป็ นเงิน 16,500 บาท นามาขายปลีกขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ผลเล็กขายผลละ 10 บาท
ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท พ่อค้าซื้ อส้มขนาดผลใหญ่มาจานวนเท่าใด
  วิธีทา       สมมติให้ซ้ื อส้มผลใหญ่มาจานวน x ผล
           จากโจทย์ ซื้ อส้มผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล
           ดังนั้นซื้ อส้มผลเล็กมาจานวน 1,500 – x ผล
           จากขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท
           ดังนั้นขายส้มผลใหญ่ x ผล ขายได้เงิน 12x บาท
           จากขายส้มผลเล็กผลละ 10 บาท
           ดังนั้น ขายส้มผลเล็ก 1,500 – x ผล      ขายได้เงิน 10(1,500 – x ) บาท
           ขายส้มได้เงินทั้งหมด 12x + 10(1,500 – x ) บาท
(โดยปกติ ราคาขาย – ทุน เท่ากับ กาไร)
                 ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท
                 ราคาขาย – ทุน มากกว่า กาไร 800 บาท
ดังนั้น   {12x + 10(1500 – x )} – 16500     > 800
            12x + 15000 – 10x – 16500       > 800
                               12x – 10 x    > 800 – 15000 +16500
                                      2x     > 2300
                                       x     > 2300
                                                 2
                                      x      > 1150
          ตอบ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่จานวนมากกว่า 1150 ผล
           หรื อ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่อย่างน้อย 1151 ผล
ตัวอย่าที่ 5 สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5
มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด จานวนเต็มจานวนนั้นคืออะไร
 วิธีทา    สมมติให้ จานวนจานวนนั้นเป็ น x
   จากโจทย์ สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5
            มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด
  ได้อสมการ       3(x + 5 ) > x – 7
                  3x + 15 > x – 7
                   3x – x   > – 7 – 15
                   2x       > – 22
                      x     > – 22
                                  2
                        x   > – 11
       ตอบ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า – 11
ตัวอย่างที่ 6 ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32
และผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 จงหาจานวนที่มากเป็ นจานวนเท่าใดได้บาง
                                                                      ้
วิธีทา   สมมติให้ จานวนมากเป็ น x
จากโจทย์ ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32           ได้จานวนน้อยเป็ น 32 – x
จากโจทย์ ผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24
  ได้          x – (32 – x) > 24
               x – 32 + x   > 24
                     2x     > 24 + 32
                         x  > 56
                              2
                          x > 28
          จานวนเต็มที่มากกว่า 28 แต่ตองไม่มากกว่า 32
                                     ้
ตัวอย่างที่ 7 สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท
     ถ้ากางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท      จงหาว่าสมรจะซื้ อเสื้ อ
    และกางเกงที่ราคาสู งสุ ดได้เท่าไร

วิธีทา    สมมติให้ ซื้ อเสื้ อราคาตัวละ x บาท
          ซื้ อเสื้ อ 4 ตัว เป็ นเงิน 4x บาท
          จาก กางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท
          ดังนั้น กางเกงราคาตัวละ 2x + 10 บาท
          ซื้ อ กางเกง 3 ตัว เป็ นเงิน 3(2x + 10) บาท
          สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท

          ได้อสมการ; 4x + 3(2x + 10) < 1510
4x + 3(2x + 10) < 1510
                4x + 6x + 30 < 1510
                    10x      < 1510 – 30
                         x < 1480
                                 10
                          x < 148

             ซื้ อเสื้ อราคาสู งสุ ดไม่ถึง 148 บาท

ซื้ อกางแกงราคาสู งสุ ด 2(148) + 10        = 296 + 10 = 306 บาท
ตัวอย่างที่ 8     รู ปสามเหลี่ยมหน้าจัวรู ปหนึ่ งมีฐานยาว 15 เซนติเมตร
                                      ่
   มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร จงหาด้านประกอบมุมยอดยาวเท่าไร
  วิธีทา        สมมติให้ x แทนความยาวด้านประกอบมุมยอด
            ด้านประกกอบมุมยอด สองด้านยาว 2x เซนติเมตร
            จาก มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร


                   x               x

                           15

      ได้อสมการ;           2x + 15 < 41
2x + 15 < 41

              2x < 41 – 15

                 x <       26
                            2
                 x < 13

ตอบ ด้านประกอบมุมยอดยาวน้อยกว่า 13 เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 9                         ่
                   มีเหรี ยญสิ บบาทอยูจานวนหนึ่ ง มีเหรี ยญห้าบาทน้อยกว่าเหรี ยญสิ บบาท
     อยู่ 5 เหรี ยญ และมีเหรี ยญหนึ่งบาทเป็ นสองเท่าของเหรี ยญห้าบาท
      รวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท
                                             ้
      จงหาว่ามีเหรี ยญสิ บบาทจานวนกี่เหรี ยญ
วิธีทา          สมมติให้ มีเหรี ยญสิ บบาทจานวน x เหรี ยญ
                ดังนั้นเหรี ยญสิ บบาท x เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 10x บาท
                มีเหรี ยญห้าบาทจานวน x – 5 เหรี ยญ
                ดังนั้นเหรี ยญห้าบาท (x – 5 ) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 5(x – 5) บาท
                มีเหรี ยญหนึ่งบาทจานวน 2(x – 5) เหรี ยญ
                 ดังนั้นเหรี ยญหนึ่งบาท 2(x – 5) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 2(x – 5) บาท
       จากรวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท
                                              ้
      ได้อสมการ       305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
            305 < 10x + 5x – 25 + 2x – 10           < 390
            305 < 17x – 35                          < 390

          305 < 17x – 35          และ     17x – 35 < 390
    305 + 35 < 17x                และ     17x         < 390 + 35
         340 < x                  และ      x          < 425
          17                                             17
           20 < x                 และ           x      < 25

                            20 < x < 25

ตอบ มีเหรี ยญสิ บบาทมากกว่า 20 เหรี ยญ    แต่ไม่ถึง 25 เหรี ยญ
แก้อสมการ 2

More Related Content

What's hot

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวPiyanouch Suwong
 
สื่อPptยกกำลัง00
สื่อPptยกกำลัง00สื่อPptยกกำลัง00
สื่อPptยกกำลัง00kroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายkrurutsamee
 

What's hot (20)

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สื่อPptยกกำลัง00
สื่อPptยกกำลัง00สื่อPptยกกำลัง00
สื่อPptยกกำลัง00
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 

Viewers also liked

บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
Project for developing the Date Sector in Jericho and the Jordan Valley
Project for developing the Date Sector in  Jericho and the Jordan ValleyProject for developing the Date Sector in  Jericho and the Jordan Valley
Project for developing the Date Sector in Jericho and the Jordan ValleyAsian People's Fund
 
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp0110remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01Gina Gu
 
10 главных мифов об авторском праве
10 главных мифов об авторском праве10 главных мифов об авторском праве
10 главных мифов об авторском правеhadgiewa
 
Preliminary task draft 1
Preliminary task draft 1Preliminary task draft 1
Preliminary task draft 1debbie14
 
Present saint-per3-by-pavel-vlasov
Present saint-per3-by-pavel-vlasovPresent saint-per3-by-pavel-vlasov
Present saint-per3-by-pavel-vlasovPavel Vlasov
 
Primero q2 results presentation final
Primero q2 results presentation finalPrimero q2 results presentation final
Primero q2 results presentation finalprimero_mining
 
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)吉田印刷所
 
Theory# Slideshow for OrgTheory
Theory# Slideshow for OrgTheoryTheory# Slideshow for OrgTheory
Theory# Slideshow for OrgTheoryStephanie Lynch
 
Machine Learning
Machine LearningMachine Learning
Machine LearningShrey Malik
 
Primero Corporate Presentation December 2014
Primero Corporate Presentation December 2014Primero Corporate Presentation December 2014
Primero Corporate Presentation December 2014primero_mining
 
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!BrightWork
 
Assignment 9
Assignment 9Assignment 9
Assignment 9debbie14
 
Lu dina bite jauna
Lu dina bite jaunaLu dina bite jauna
Lu dina bite jaunaegilsdo
 
Primero june presentation print
Primero june presentation printPrimero june presentation print
Primero june presentation printprimero_mining
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
Project for developing the Date Sector in Jericho and the Jordan Valley
Project for developing the Date Sector in  Jericho and the Jordan ValleyProject for developing the Date Sector in  Jericho and the Jordan Valley
Project for developing the Date Sector in Jericho and the Jordan Valley
 
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp0110remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01
10remarkableentrepreneurshipthoughts 131008125313-phpapp01
 
10 главных мифов об авторском праве
10 главных мифов об авторском праве10 главных мифов об авторском праве
10 главных мифов об авторском праве
 
Preliminary task draft 1
Preliminary task draft 1Preliminary task draft 1
Preliminary task draft 1
 
Inflammation by wasif
Inflammation by wasif Inflammation by wasif
Inflammation by wasif
 
Brochure work flow_en
Brochure work flow_enBrochure work flow_en
Brochure work flow_en
 
Present saint-per3-by-pavel-vlasov
Present saint-per3-by-pavel-vlasovPresent saint-per3-by-pavel-vlasov
Present saint-per3-by-pavel-vlasov
 
Primero q2 results presentation final
Primero q2 results presentation finalPrimero q2 results presentation final
Primero q2 results presentation final
 
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)
吉田印刷所 東日本大震災 緊急災害支援報告書(2011年4月12日)
 
Theory# Slideshow for OrgTheory
Theory# Slideshow for OrgTheoryTheory# Slideshow for OrgTheory
Theory# Slideshow for OrgTheory
 
Machine Learning
Machine LearningMachine Learning
Machine Learning
 
Primero Corporate Presentation December 2014
Primero Corporate Presentation December 2014Primero Corporate Presentation December 2014
Primero Corporate Presentation December 2014
 
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!
Crawl, Walk, Run - Evolve Your Project Management in 2015!
 
Assignment 9
Assignment 9Assignment 9
Assignment 9
 
Lu dina bite jauna
Lu dina bite jaunaLu dina bite jauna
Lu dina bite jauna
 
Primero june presentation print
Primero june presentation printPrimero june presentation print
Primero june presentation print
 
Article tema 1
Article tema 1Article tema 1
Article tema 1
 

Similar to แก้อสมการ 2 (20)

วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
112
112112
112
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
  ___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06  ___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.2 _ (___________________) ___ 01-06
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 

แก้อสมการ 2

  • 1. โจทย์ปัญหาอสมการ การสร้างประโยคสัญลักษณ์ ค33101 คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  • 2. การแก้โจทย์ปัญหาของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีข้นตอน ั ่ 1. วิเคราะห์วาโจทย์กาหนดสิ่ งใด และต้องการทราบอะไร 2. สมมุติตวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ตองการ หรื อที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ ั ้ โจทย์ตองการหา ้ 3. เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสัญลักษณ์ 4. แก้อสมการ 5. ตรวจสอบคาตอบ ให้นกเรี ยนพิจารณาศึกษาขั้นที่ 1 2 และ 3 ซึ่งเป็ นขั้นสาคัญ ั
  • 3. ในขันตอนที่ 1 นักเรี ยนต้ องอ่ านโจทย์ ปัญหา และวิเคราะห์ ้ 1.1 โจทย์เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร 1.2 โจทย์กาหนดอะไรมาให้ หรื อโจทย์ให้ขอมูลอะไรมา ้ 1.3 โจทย์ตองการทราบอะไร ้
  • 4. ตัวอย่างที่ 1) นายเชิดมีรายได้เพิ่มจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิง ั ่ ซึ่ งมีรายได้เดือนละ 45,000 บาท จงหาว่านายเชิดมีรายได้อยูเ่ ดิมมากสุ ดเดือนละ เท่าไร ขันที่ 1 เป็ นเรื่ องเงิน รายได้นายเชิดเพิมจากเดิมเดือนละ1,200 แต่นอยกว่านายยิงรายได้ต่อ ้ ่ ้ ่ เดือนละ 45,000 บาท ต้องการหารายได้เดิมของนายเชิดมากสุ ดเดือนละเท่าไร ขันที่ 2 สมมุติให้นายเชิดเดิมมีรายได้เดือนละ x บาท ้ ขั้นที่ 3 จากนายเชิดมีรายได้เพิมจากเดิมเดือนละ 1,200 บาท แต่ยงน้อยกว่านายยิงซึ่ งมี ่ ั ่ รายได้เดือนละ 45,000 บาท จะได้อสมการ x + 1,200 < 45,000 ขันที่ 4 แก้อสมการ; ้ x < 45,000 – 1,200
  • 5. จะได้อสมการ x + 1,200 < 45,000 ขันที่ 4 แก้อสมการ; ้ x < 45,000 – 1,200 x < 43,800 x มีค่ามากสุ ดได้ 43,799 ตอบ นายเชิดเดิมมีรายได้มากสุ ดเดือนละ 43,799 บาท ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ ้ แทนค่า x = 43,799; ใน x + 1,200 < 45,000 43,799 + 1,200 < 45,000 44,999 < 45,000 จริ ง
  • 6. ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวน เรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 แนวคิด ขันที่ 1 ( 1.1) เป็ นเรื่ อง จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่ เช่ น 7 , 9, 11 ้ - เมื่อจานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีเ้ ลขตัวน้ อยที่สุดเป็ น 7 - จานวนเต็มเลขคี่ในชุดนีที่เรี ยงต่ อกันอีกเป็ น 9, 11 เทียบได้ 7+2 และ 7+4 ้ (1.2) โจทย์ กาหนด จานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยงกัน ซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 (1.3) โจทย์ ต้องการทราบ จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้ง สามจานวนเรี ยงกัน จึงต้องสมมุติให้จานวน เต็มเลขคี่จานวนน้อยเป็ น x
  • 7. ตัวอย่างที่ 2) จงหาจานวนเต็มที่เป็ นเลขคี่จานวนแรก เมื่อทั้งสามจานวนเรี ยง กันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 ขันที่ 2 สมมุติตัวแปรแทนสิ่ งที่โจทย์ ต้องการ ้ วิธีทา สมมุติให้จานวนเต็มเลขคี่จานวนแรกเป็ น x จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันคือ x, x + 2, x + 4 ขันที่ 3 เปลี่ยนประโยคภาษาของอสมการเป็ นประโยคสั ญลักษณ์ ้ เนื่องจากจานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่งมีผลบวกที่มากกว่า 51 สร้างอสมการได้ x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51
  • 8. ขันที่ 4 การแก้ อสมการ ้ x+ x+2+ x+4 > 51 3x + 6 > 51 3x > 51 – 6 x > 45 3 x > 15 ตอบ x เป็ นจานวนเต็มคี่จานวนแรกคือ 17 ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 17; ใน x + ( x + 2) + ( x + 4) > 51 ้ จานวนเต็มคี่สามจานวนเรี ยงกัน คือ 17, 19, 21 จานวนเต็มเลขคี่สามจานวนที่เรี ยงกันซึ่ งมีผลบวกที่มากกว่า 51 17 + 19 + 21 มากกว่า 51 57 มากกว่า 51 จริ ง
  • 9. ตัวอย่างที่3) แผ่นไม้อดรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากมีดานยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 ั ้ เซนติเมตร ถ้าวัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร จงหาด้านกว้าง มีขนาดอย่างมากกี่เซนติเมตร แนวคิด ขันที่ 1 เรื่ องรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า การวัดความยาวรอบรอบรู ป ้ โจทย์ให้ ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 7 เซนติเมตร วัดความยาวรอบของแผ่นไม้ได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร ต้องการหาขนาดของด้านกว้าง วิธีทา ขันที่ 2 สมมุติให้ไม้อดมีดานกว้าง x เซนติเมตร ้ ั ้ จากด้านยาวยาวกว่าด้านกว้างอยู่ 7 เซนติเมตร ได้ดานยาวยาว x + 7 เซนติเมตร ้ x+7 ความยาวรอบได้ x + (x+7) + x + (x+7) x x x+7
  • 10. ขันที่ 3 วัดความยาวรอบของแผ่นไม้น้ ีได้ไม่ถึง 50 เซนติเมตร ้ จะได้อสมการ x + (x+7) + x + (x+7) < 50 ขันที่ 4 การแก้ อสมการ x+x+7+x+x+7 < 50 ้ 4x + 14 < 50 4x < 50 – 14 x < 36 4 x < 9 x มีค่าเป็ น 8, 7 , 6 , 5 ,... ตอบ ด้านกว้างมีขนาดอย่ างมาก 8 เซนติเมตร ขันที่ 5 ตรวจคาตอบ ้ แทนค่า x = 8; x + (x+7) + x + (x+7) < 50 8 + (8 + 7) + 8 + (8 + 7) < 50 46 < 50 จริ ง
  • 11. ตัวอย่างที่ 4 พ่อค้าซื้ อส้มโอขนาดผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล เป็ นเงิน 16,500 บาท นามาขายปลีกขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ผลเล็กขายผลละ 10 บาท ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท พ่อค้าซื้ อส้มขนาดผลใหญ่มาจานวนเท่าใด วิธีทา สมมติให้ซ้ื อส้มผลใหญ่มาจานวน x ผล จากโจทย์ ซื้ อส้มผลใหญ่และผลเล็กรวมกัน 1,500 ผล ดังนั้นซื้ อส้มผลเล็กมาจานวน 1,500 – x ผล จากขายผลใหญ่ผลละ 12 บาท ดังนั้นขายส้มผลใหญ่ x ผล ขายได้เงิน 12x บาท จากขายส้มผลเล็กผลละ 10 บาท ดังนั้น ขายส้มผลเล็ก 1,500 – x ผล ขายได้เงิน 10(1,500 – x ) บาท ขายส้มได้เงินทั้งหมด 12x + 10(1,500 – x ) บาท
  • 12. (โดยปกติ ราคาขาย – ทุน เท่ากับ กาไร) ขายส้มหมดได้กาไร มากกว่า 800 บาท ราคาขาย – ทุน มากกว่า กาไร 800 บาท ดังนั้น {12x + 10(1500 – x )} – 16500 > 800 12x + 15000 – 10x – 16500 > 800 12x – 10 x > 800 – 15000 +16500 2x > 2300 x > 2300 2 x > 1150 ตอบ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่จานวนมากกว่า 1150 ผล หรื อ จะต้องซื้ อส้มผลใหญ่อย่างน้อย 1151 ผล
  • 13. ตัวอย่าที่ 5 สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5 มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด จานวนเต็มจานวนนั้นคืออะไร วิธีทา สมมติให้ จานวนจานวนนั้นเป็ น x จากโจทย์ สามเท่าของผลบวกของจานวนเต็มจานวนหนึ่ งกับ 5 มีค่ามากกว่าจานวนๆนั้นหักออกเจ็ด ได้อสมการ 3(x + 5 ) > x – 7 3x + 15 > x – 7 3x – x > – 7 – 15 2x > – 22 x > – 22 2 x > – 11 ตอบ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า – 11
  • 14. ตัวอย่างที่ 6 ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32 และผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 จงหาจานวนที่มากเป็ นจานวนเท่าใดได้บาง ้ วิธีทา สมมติให้ จานวนมากเป็ น x จากโจทย์ ผลบวกของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 32 ได้จานวนน้อยเป็ น 32 – x จากโจทย์ ผลต่างของจานวนทั้งสองมากกว่า 24 ได้ x – (32 – x) > 24 x – 32 + x > 24 2x > 24 + 32 x > 56 2 x > 28 จานวนเต็มที่มากกว่า 28 แต่ตองไม่มากกว่า 32 ้
  • 15. ตัวอย่างที่ 7 สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท ถ้ากางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท จงหาว่าสมรจะซื้ อเสื้ อ และกางเกงที่ราคาสู งสุ ดได้เท่าไร วิธีทา สมมติให้ ซื้ อเสื้ อราคาตัวละ x บาท ซื้ อเสื้ อ 4 ตัว เป็ นเงิน 4x บาท จาก กางเกงมีราคามากกว่าสองเท่าของราคาเสื้ ออยู่ 10 บาท ดังนั้น กางเกงราคาตัวละ 2x + 10 บาท ซื้ อ กางเกง 3 ตัว เป็ นเงิน 3(2x + 10) บาท สมรซื้ อเสื้ อ 4 ตัว กางเกง 3 ตัว ราคารวมกันเป็ นเงินน้อยกว่า 1,510 บาท ได้อสมการ; 4x + 3(2x + 10) < 1510
  • 16. 4x + 3(2x + 10) < 1510 4x + 6x + 30 < 1510 10x < 1510 – 30 x < 1480 10 x < 148 ซื้ อเสื้ อราคาสู งสุ ดไม่ถึง 148 บาท ซื้ อกางแกงราคาสู งสุ ด 2(148) + 10 = 296 + 10 = 306 บาท
  • 17. ตัวอย่างที่ 8 รู ปสามเหลี่ยมหน้าจัวรู ปหนึ่ งมีฐานยาว 15 เซนติเมตร ่ มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร จงหาด้านประกอบมุมยอดยาวเท่าไร วิธีทา สมมติให้ x แทนความยาวด้านประกอบมุมยอด ด้านประกกอบมุมยอด สองด้านยาว 2x เซนติเมตร จาก มีเส้นรอบรู ปยาวไม่เกิน 41 เซนติเมตร x x 15 ได้อสมการ; 2x + 15 < 41
  • 18. 2x + 15 < 41 2x < 41 – 15 x < 26 2 x < 13 ตอบ ด้านประกอบมุมยอดยาวน้อยกว่า 13 เซนติเมตร
  • 19. ตัวอย่างที่ 9 ่ มีเหรี ยญสิ บบาทอยูจานวนหนึ่ ง มีเหรี ยญห้าบาทน้อยกว่าเหรี ยญสิ บบาท อยู่ 5 เหรี ยญ และมีเหรี ยญหนึ่งบาทเป็ นสองเท่าของเหรี ยญห้าบาท รวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท ้ จงหาว่ามีเหรี ยญสิ บบาทจานวนกี่เหรี ยญ วิธีทา สมมติให้ มีเหรี ยญสิ บบาทจานวน x เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญสิ บบาท x เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 10x บาท มีเหรี ยญห้าบาทจานวน x – 5 เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญห้าบาท (x – 5 ) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 5(x – 5) บาท มีเหรี ยญหนึ่งบาทจานวน 2(x – 5) เหรี ยญ ดังนั้นเหรี ยญหนึ่งบาท 2(x – 5) เหรี ยญคิดเป็ นเงิน 2(x – 5) บาท จากรวมเงินทั้งหมดมากกว่า 305 บาท แต่นอยกว่า 390 บาท ้ ได้อสมการ 305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390
  • 20. 305 < 10x + 5(x – 5) + 2(x – 5) < 390 305 < 10x + 5x – 25 + 2x – 10 < 390 305 < 17x – 35 < 390 305 < 17x – 35 และ 17x – 35 < 390 305 + 35 < 17x และ 17x < 390 + 35 340 < x และ x < 425 17 17 20 < x และ x < 25 20 < x < 25 ตอบ มีเหรี ยญสิ บบาทมากกว่า 20 เหรี ยญ แต่ไม่ถึง 25 เหรี ยญ