SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
ความเร็ว และความเร่ง
เนื้อหาสาระ
ความเร็ว
- อธิบายความหมายของความเร็ว
- เขียนสูตรการหาความเร็วแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณที่
เกี่ยวข้อง
- รู้จักตัวแปรที่แทนค่าจากสูตรความเร็ว
- บอกหน่วยความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆที่ทําให้เกิดความเร็ว
- คํานวณแทนค่าจากสูตรความเร็ว
ความเร่ง
- อธิบายความหมายของความเร่ง
- เขียนสูตรการหาความเร่งแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณที่
เกี่ยวข้อง
- รู้จักตัวแปรที่แทนค่าจากสูตรความเร่ง
- บอกหน่วยความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆที่ทําให้เกิดความเร็ว
- คํานวณแทนค่าจากสูตรความเร่ง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความเร็ว และความเร็วได้ถูกต้อง
2. ฝึกคํานวณหาขนาดความเร็วและความเร่งในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีก
จุดหนึ่งจากแถบกระดาษ ได้ถูกต้องร้อยละ 80
3. ฝึกคํานวณหาขนาดความเร็วและความเร่ง จากสถานการณ์ที่กําหนดได้ถูกต้อง
ร้อยละ 80
2
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
คําแนะนําในการเรียนบทเรียนโปรแกรม
1. บทเรียนโปรแกรมใช้ทบทวนบทเรียนหลังจากเรียนในห้องเรียนเรื่อง ความเร็ว
และความเร่ง
2. นักเรียนควรศึกษาไปที่ละกรอบ ซึ่งแต่ละกรอบจะเรียงลําดับเนื้อหาจากง่ายไปยาก
3. นักเรียนสามารถตรวจคําตอบของแต่ละกรอบได้จากหน้าถัดไป นักเรียนควรมี
ความซื่อสัตย์ไม่เปิดดูเฉลยก่อนเรียนรู้ในแต่ละกรอบ
4. ถ้านักเรียนตอบคําถามแต่ละกรอบไม่ถูก แสดงว่านักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนใน
กรอบนั้นๆ ควรกลับไปทบทวนในกรอบนั้นๆให้เข้าใจ
5. นักเรียนต้อง ฝึกบ่อยๆ ในแต่ละกรอบ จะทําให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่คงทนฝัง
ลึก และมีความรู้ติดตัวกับนักเรียน สามารถนําไปใช้ในระดับสูงต่อไป
3
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 1 (Set frame)เริ่มต้นให้ความรู้
ความเร็ว เป็นความสัมพันธ์
ความเร็ว
ระหว่างการกระจัดกับเวลา
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลาเรียกว่า 
เป็นปริมาณเวกเตอร์
เป็นอัตราส่วน
อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลาเรียกว่า 
เป็นปริมาณ 
ระหว่างการกระจัดกับเวลา
การกระจัด เป็นระยะในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในแนวตรง และ
มีทิศทางในการเคลื่อนที่ เป็นปริมาณ เวกเตอร์
การกระจัด เป็นปริมาณ 
ระยะในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในแนวตรง และมีทิศทางใน
การเคลื่อนที่เรียกว่า 
ข
เช่น การเคลื่อนที่จาก จุด A ไป BA. ก .B
เส้นทาง ก เป็นการกระจัด เส้นทาง ขเป็นระยะทาง
เส้นทาง ก เป็น 
เส้นทาง ข เป็น 
การกระจัด มีหน่วย เป็น เมตร (m) หรือ เซนติเมตร หรือ กิโลเมตร (km)
เวลา มีหน่วยเป็น วินาที (s) หรือ นาที (min)หรือ ชั่วโมง (hr)
ความเร็ว เป็น อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา
หน่วยความเร็วก็เป็นอัตราส่วนระหว่าง เมตรกับวินาที ( m/s)
หรือ เซนติเมตรกับวินาที (cm/s)หรือ กิโลเมตรกับชั่วโมง (km/hr)
หน่วยความเร็วที่เป็นหน่วยสากล คือ 
หน่วยความเร็วที่ทําการทดลองในห้องปฏิบัติการ คือ 
หน่วยความเร็วของรถที่วิ่งตามท้องถนน คือ 
4
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 2 (Practice frame) ปฏิบัติ
ถ้าข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย ในช่อง  ดังนี้
1. หน่วยความเร็ว คือ km/hr
2. ความเร็วเป็นความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา 
3. อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา คือ ความเร็ว 
4. หน่วยสากลขนาดของความเร็ว คือ เซนติเมตร/วินาที
5. cm คือ หน่วยเซนติเมตร 
6. ระยะทางในแนวตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง คือ การกระจัด
7. เวลา มีหน่วยเป็น วินาที
ใช้รูปการเคลื่อนที่ จาก A ไป B ตอบข้อ 8-9
A. ก B
ข
8. เส้นทาง ก คือ การกระจัด 
9. เส้นทาง ข คือระยะทางจริง
10. ความเร็วเป็นปริมาณสเกลาร์
ได้คะแนน ....................คะแนน
จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
ลงชื่อ............................................ผู้ตรวจ
5
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 3 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
ขนาดความเร็วเฉลี่ย
เป็นอัตราส่วนระหว่างขนาดของการกระจัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งกับ
เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่
สูตรการหาความเร็วเฉลี่ย
𝑆𝑆⃑ คือ ขนาดของการกระจัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
มีหน่วยเป็น เมตร
t คือ เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่มีหน่วยเป็น วินาที
𝑉𝑉�⃑ คือ ขนาดของความเร็วเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
ขนาดของการกระจัด แทนด้วยตัวแปร 
จํานวนเวลาที่ใช้ทั้งหมด แทนด้วยตัวแปร 
อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา คือ 
แทนด้วยตัวแปร 
หน่วยความเร็วที่เป็นหน่วยสากล คือ 
ตรวจคําตอบแล้ว ได้คะแนน .................คะแนน จากคะแนนเต็ม5คะแนน
6
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 4 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
จากการสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลา 1 วินาที เคาะได้50 ครั้ง แต่ละ 1 ช่วงจุดใช้เวลาในการเคลื่อนที่เท่ากับ
1/50 วินาที ดังภาพแถบกระดาษ
1.5 cm 1.7 cm 2.5 cm 2.8 cm 3.2 cm
A1/50 B 1/50 s C 1/50 s D 1/50 s E 1/50 s F
อัตราส่วนระหว่างการกระจัดแต่ละช่วงจุดของแถบกระดาษกับเวลาใน 1 ช่วงจุด
คือ ขนาดความเร็วเฉลี่ยใน 1 ช่วงจุด เช่น
ระยะจาก A ไป B การกระจัดเท่ากับ 1.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ
1
50
s
ขนาดความเร็ว (𝑉𝑉)������⃑AB= 𝑆𝑆⃑AB = 1.5 = 1.5 × 50
1
cm/s = 75 cm/s = 0.75 m/s
tAB
1
50
ระยะจาก A ไป C การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
ระยะจาก Bไป C การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
ระยะจาก A ไป D การกระจัดเท่ากับ 5.7 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 3/50s
ระยะจาก A ไปEการกระจัดเท่ากับ 8.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 4/50s
ระยะจาก A ไป F การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
ระยะจาก B ไป D การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
ระยะจาก C ไป F การกระจัดเท่ากับ 8.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 3/50s
ขนาดความเร็ว (𝑉𝑉)������⃑CF = 𝑆𝑆⃑CF = 8.5 = 1.5 × 50
3
cm/s = 25 cm/s = 0.25 m/s
tCF
3
50
ระยะจาก B ไป E การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
7
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 5 (Practice frame) ปฏิบัติ
จงหา ความเร็วเฉลี่ย จาก A ไป F
สูตรหาขนาดความเร็ว คือ 
แทนค่าในสูตรได้ 
คําตอบ ที่ได้ 
เปลี่ยนเป็นหน่วยสากล คือ 
จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่ง คือ ตําแหน่ง C
สูตรหาขนาดความเร็ว คือ 
แทนค่าในสูตรได้ 
คําตอบ ที่ได้ 
เปลี่ยนเป็นหน่วยสากล คือ 
ความเร็วเฉลี่ยในหน่วยสากลจาก B ไป E และ C ไป F
8
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 6 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
การหาขนาดความเร็ว ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่ง
จากภาพ ความเร็ว ณ ตําแหน่ง B หาได้จากสูตร
แทนค่าจากสูตร 𝑽𝑽��⃑B =
𝑺𝑺��⃑
𝒕𝒕
𝑨𝑨𝑨𝑨
𝑨𝑨𝑨𝑨
=
𝟑𝟑.𝟐𝟐
𝟐𝟐
𝟓𝟓𝟓𝟓
=
3.2×50
2
= 80 cm/s = 0.80 m/s
จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่ง D
หาได้จากสูตร
แทนค่าจากสูตร
   
จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่ง E
หาได้จากสูตร
แทนค่าจากสูตร
   = 1.5 m/s
9
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 7 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า ความเร่ง
(acceleration) ใช้สัญลักษณ์ 𝑎𝑎⃑ และ ในระบบหน่วยระหว่างชาติ (SI : International
System Units) ความเร่งมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาทีกําลังสอง (m/s2
หรือ ms-2
)
รูปแสดงการตกของถุงทราย ด้วยความเร่ง 10m/s2
ขนาดความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
(gravitational acceleration) มีค่า 9.80665m/s2
ที่ระดับนํ้าทะเลจะแตกต่างกันตามระดับความสูงต่างๆ
เช่น
จังหวัด
ความสูงจาก
ระดับนํ้าทะเล (m)
ค่า g
(m/s2
)
เชียงใหม่ 416 9.78426
กรุงเทพฯ 2 9.78297
สงขลา 4 9.78120
วัตถุในสนามแรงโน้มถ่วงของโลก จะถูกแรงโน้มถ่วงกระทําต่อวัตถุ แรงโน้มถ่วง
ของโลกที่กระทําต่อวัตถุ เรียกว่า นํ้าหนักของวัตถุ (weight ; W) โดยที่ นํ้าหนักของวัตถุ
สัมพันธ์กับมวลของวัตถุ ดังนี้ 𝑊𝑊���⃑ = m𝑔𝑔⃑
เมื่อ m คือ มวลของวัตถุมีหน่วยเป็นกิโลกรัม (kg)
g คือ ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาทีกําลังสอง (m/s2
)
มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลกเสมอ
𝑊𝑊คือ นํ้าหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัมเมตรต่อวินาทีกําลังสอง(kg m/s2
)
500 g
แรงต้านของอากาศ
แรงโน้มถ่วงของโลก
10
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
หรือ นิวตัน (N) มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลกเสมอ
กรอบที่ 8 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
การหาขนาดความเร่ง
ความเร่ง(𝑎𝑎⃑) คือ อัตราส่วนระหว่างความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลา
ความเร็วที่เปลี่ยนไป(∆𝑉𝑉�⃑) คือ การเปลี่ยนแปลงของความเร็วต้น(𝑈𝑈��⃑) กับความเร็ว
ปลาย (𝑉𝑉�⃑) หรือ ∆𝑉𝑉�⃑= 𝑉𝑉�⃑- 𝑈𝑈��⃑
เพราะฉะนั้นความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) =
∆𝑉𝑉��⃑
∆𝑡𝑡
=
𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑
∆𝑡𝑡
การหาขนาดความเร่งการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลา ดังภาพ
หาความเร่ง ณ ตําแหน่ง B ไป E
การหาความเร่งจากตําแหน่ง B ไป Eต้องหาจากความเร็ว ณ ตําแหน่ง B และ
ตําแหน่ง E และเวลาที่ใช้ทั้งหมด
1. หาความเร็วเริ่มต้น (𝑈𝑈��⃑) = 𝑈𝑈��⃑AC =
𝑆𝑆⃑
∆𝑡𝑡
𝐴𝐴𝐴𝐴
𝐴𝐴𝐴𝐴
=
1.5+1.7
2
50
= 80 cm/s = 0.80 m/s
2. หาความเร็วปลาย (𝑉𝑉�⃑) = 𝑉𝑉�⃑ DF=
𝑆𝑆⃑
∆𝑡𝑡
𝐷𝐷𝐷𝐷
𝐷𝐷𝐷𝐷
=
2.8+3.2
2
50
= 150 cm/s = 1.50 m/s
3. เวลาที่เปลี่ยนแปลง ( ∆𝑡𝑡) = 𝑡𝑡BE =
1
50
+
1
50
+
1
50
=
3
50
11
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
แทนค่าจากสูตร ความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) =
∆𝑉𝑉��⃑
∆𝑡𝑡
=
𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑
∆𝑡𝑡
=
1.50−0.80
3
50
=11.67 m/s2
กรอบที่ 9 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ
การหาขนาดความเร่งการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลา ดังภาพ
หาความเร่ง ณ ตําแหน่ง Cไป E
การหาความเร่งจากตําแหน่ง Cไป E ต้องหาจากความเร็ว ณ ตําแหน่ง………
และ ตําแหน่ง...........และเวลาที่ใช้ทั้งหมด
1. หาความเร็วเริ่มต้น (𝑈𝑈��⃑) =……… = ………..
= ……….. = …… cm/s = ……. m/s
2. หาความเร็วปลาย (𝑉𝑉�⃑) = 𝑉𝑉�⃑ DF=
𝑆𝑆⃑
∆𝑡𝑡
𝐷𝐷𝐷𝐷
𝐷𝐷𝐷𝐷
=
2.8+3.2
2
50
= 150 cm/s = 1.50 m/s
3. เวลาที่เปลี่ยนแปลง ( ∆𝑡𝑡) = ……….. ………..
แทนค่าจากสูตร ความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) =
∆𝑉𝑉��⃑
∆𝑡𝑡
=
𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑
∆𝑡𝑡
= ….……….. m/s2
12
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 10 (Criterion frame) ทดสอบว่ารู้จริงหรือไม่
1. ในการดีดเหรียญให้เคลื่อนที่ออกไปในแนวระดับจากขอบโต๊ะจนตกถึงพื้น
การดีดแรงและค่อย มีผลต่อปริมาณต่อไปนี้ที่เกิดขึ้นบนเหรียญอย่างไร
1.1 ความเร็วในแนวระดับ
1.2 ความเร็วในแนวดิ่ง
1.3 การกระจัด
2. จงบรรยายการเคลื่อนที่ของรถที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
. . . . . . . . . . .
… . . . . . . . .
3. ปั่นจักรยานไปตามทางตรงด้วยความเร็วเฉลี่ย 6.02 m/s ไปทางทิศตะวันออก จงหา
การกระจัดที่เกิดขึ้นหลังจากเวลาผ่านไป 137s
4. ขับรถไปยังบ้านเพื่อนซึ่งห่างออกไป 160 km ทางทิศตะวันตก และเป็นช่วงที่ถนน
เป็นแนวตรง ถ้านักเรียนออกเดินทางเมื่อเวลา 10.00 น.ไปถึงบ้านเพื่อนเวลา
12.00 น. จงหาความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง
5. ถ้ากําหนดให้นักเรียนเดินทางไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 150 m แล้วเดิน
ย้อนกลับมาทางทิศตะวันตก 30 m ต้องการทราบว่านักเรียนเดินทางได้เป็น
ระยะทางเท่าไร และมีการกระจัดเท่าไร และถ้าใช้เวลาเดินทั้งหมด 3 นาที มี
อัตราเร็ว และความเร็วในการเดินทางเท่าใด
13
บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3
กรอบที่ 10 ต่อ (Criterion frame) ทดสอบว่ารู้จริงหรือไม่
6. วัตถุ 2 ชิ้น เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากันในเวลาที่เท่ากันแล้ว ปริมาณใดของการ
เคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองชิ้นที่มีค่าเท่ากัน และเป็นไปได้หรือไม่ที่วัตถุทั้งสองมี
ความเร็วไม่เท่ากัน
7. นักเรียนหญิงคนหนึ่งวิ่ง 60 m ใช้เวลา 12s จงหา
7.1 อัตราเร็วที่วิ่งในหน่วย m/s
7.2 อัตราเร็วที่วิ่งในหน่วย km/hr
7.3 ถ้าวิ่งด้วยอัตราเร็วตาม ข้อ 7.1 จงหาระยะที่วิ่งได้ในเวลา 40 s
7.4 ถ้ามีเพื่อนที่เริ่มวิ่ง วิ่งด้วยอัตราเร็ว 7.5 m/s จะใช้เวลาวิ่งนานเท่าไร (ตาม
ระยะทางในข้อ 7.3)
8. ทศพล วิ่งด้วยความเร็ว 4 m/s ได้ทาง 120 m ต่อมาจึงเดินด้วยความเร็ว 2 m/s ได้
ทาง 50 m ให้หาความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
9. รถเก๋งคันหนึ่งเริ่มสตาร์ทออกจากจุดหยุดนิ่ง 5 วินาที ต่อมามีความเร็วเป็น 20 m/s
จงหา
9.1 ความเร่งของรถเก๋งคันนี้
9.2 ความเร็วของรถคันนี้ขณะที่เวลาผ่านไป 2 วินาที
9.3 ถ้ารถเก๋งมีความเร่งเท่าเดิม จงหาความเร็วของรถเก๋งเมื่อเวลาผ่านไป 6 วินาที
10. รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km/hr เมื่อต้องการแซงรถคันอื่นจึงเหยียบคันเร่ง
ให้มีความเร็ว 126 km/hr ในการเปลี่ยนความเร็วนี้ใช้เวลาเพียง 4 วินาที จงหา
ความเร่งของรถยนต์

More Related Content

What's hot

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
Print25
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
Worrachet Boonyong
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
krupornpana55
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
nuchpool
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
untika
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
kroosarisa
 

What's hot (20)

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรงสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
7 1
7 17 1
7 1
 

Viewers also liked

หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
krupornpana55
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
krupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
krupornpana55
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
krupornpana55
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
krupornpana55
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
krupornpana55
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
krupornpana55
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
krupornpana55
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
krupornpana55
 
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
thanakit553
 
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
krupornpana55
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
teerachon
 

Viewers also liked (20)

หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
มวลแรงกฏการเคลื่อนที่
 
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 

Similar to Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
guest6eaa7e
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
Kaettichai Penwijit
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
kroosarisa
 
9789740330783
97897403307839789740330783
9789740330783
CUPress
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
weerawat pisurat
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
Lai Pong
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
krusridet
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
pumarin20012
 

Similar to Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง (20)

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
6 1
6 16 1
6 1
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
9789740330783
97897403307839789740330783
9789740330783
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
9 1
9 19 1
9 1
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
Lesson02
Lesson02Lesson02
Lesson02
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
krupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
krupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
krupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
krupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
krupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
krupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
krupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
krupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
krupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
krupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
krupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
krupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
krupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
krupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
krupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง

  • 1. 1 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 ความเร็ว และความเร่ง เนื้อหาสาระ ความเร็ว - อธิบายความหมายของความเร็ว - เขียนสูตรการหาความเร็วแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณที่ เกี่ยวข้อง - รู้จักตัวแปรที่แทนค่าจากสูตรความเร็ว - บอกหน่วยความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆที่ทําให้เกิดความเร็ว - คํานวณแทนค่าจากสูตรความเร็ว ความเร่ง - อธิบายความหมายของความเร่ง - เขียนสูตรการหาความเร่งแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณที่ เกี่ยวข้อง - รู้จักตัวแปรที่แทนค่าจากสูตรความเร่ง - บอกหน่วยความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆที่ทําให้เกิดความเร็ว - คํานวณแทนค่าจากสูตรความเร่ง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความเร็ว และความเร็วได้ถูกต้อง 2. ฝึกคํานวณหาขนาดความเร็วและความเร่งในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่งจากแถบกระดาษ ได้ถูกต้องร้อยละ 80 3. ฝึกคํานวณหาขนาดความเร็วและความเร่ง จากสถานการณ์ที่กําหนดได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
  • 2. 2 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 คําแนะนําในการเรียนบทเรียนโปรแกรม 1. บทเรียนโปรแกรมใช้ทบทวนบทเรียนหลังจากเรียนในห้องเรียนเรื่อง ความเร็ว และความเร่ง 2. นักเรียนควรศึกษาไปที่ละกรอบ ซึ่งแต่ละกรอบจะเรียงลําดับเนื้อหาจากง่ายไปยาก 3. นักเรียนสามารถตรวจคําตอบของแต่ละกรอบได้จากหน้าถัดไป นักเรียนควรมี ความซื่อสัตย์ไม่เปิดดูเฉลยก่อนเรียนรู้ในแต่ละกรอบ 4. ถ้านักเรียนตอบคําถามแต่ละกรอบไม่ถูก แสดงว่านักเรียนไม่เข้าใจบทเรียนใน กรอบนั้นๆ ควรกลับไปทบทวนในกรอบนั้นๆให้เข้าใจ 5. นักเรียนต้อง ฝึกบ่อยๆ ในแต่ละกรอบ จะทําให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่คงทนฝัง ลึก และมีความรู้ติดตัวกับนักเรียน สามารถนําไปใช้ในระดับสูงต่อไป
  • 3. 3 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 1 (Set frame)เริ่มต้นให้ความรู้ ความเร็ว เป็นความสัมพันธ์ ความเร็ว ระหว่างการกระจัดกับเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลาเรียกว่า  เป็นปริมาณเวกเตอร์ เป็นอัตราส่วน อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลาเรียกว่า  เป็นปริมาณ  ระหว่างการกระจัดกับเวลา การกระจัด เป็นระยะในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในแนวตรง และ มีทิศทางในการเคลื่อนที่ เป็นปริมาณ เวกเตอร์ การกระจัด เป็นปริมาณ  ระยะในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในแนวตรง และมีทิศทางใน การเคลื่อนที่เรียกว่า  ข เช่น การเคลื่อนที่จาก จุด A ไป BA. ก .B เส้นทาง ก เป็นการกระจัด เส้นทาง ขเป็นระยะทาง เส้นทาง ก เป็น  เส้นทาง ข เป็น  การกระจัด มีหน่วย เป็น เมตร (m) หรือ เซนติเมตร หรือ กิโลเมตร (km) เวลา มีหน่วยเป็น วินาที (s) หรือ นาที (min)หรือ ชั่วโมง (hr) ความเร็ว เป็น อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา หน่วยความเร็วก็เป็นอัตราส่วนระหว่าง เมตรกับวินาที ( m/s) หรือ เซนติเมตรกับวินาที (cm/s)หรือ กิโลเมตรกับชั่วโมง (km/hr) หน่วยความเร็วที่เป็นหน่วยสากล คือ  หน่วยความเร็วที่ทําการทดลองในห้องปฏิบัติการ คือ  หน่วยความเร็วของรถที่วิ่งตามท้องถนน คือ 
  • 4. 4 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 2 (Practice frame) ปฏิบัติ ถ้าข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย ในช่อง  ดังนี้ 1. หน่วยความเร็ว คือ km/hr 2. ความเร็วเป็นความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา  3. อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา คือ ความเร็ว  4. หน่วยสากลขนาดของความเร็ว คือ เซนติเมตร/วินาที 5. cm คือ หน่วยเซนติเมตร  6. ระยะทางในแนวตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง คือ การกระจัด 7. เวลา มีหน่วยเป็น วินาที ใช้รูปการเคลื่อนที่ จาก A ไป B ตอบข้อ 8-9 A. ก B ข 8. เส้นทาง ก คือ การกระจัด  9. เส้นทาง ข คือระยะทางจริง 10. ความเร็วเป็นปริมาณสเกลาร์ ได้คะแนน ....................คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ลงชื่อ............................................ผู้ตรวจ
  • 5. 5 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 3 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ ขนาดความเร็วเฉลี่ย เป็นอัตราส่วนระหว่างขนาดของการกระจัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งกับ เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่ สูตรการหาความเร็วเฉลี่ย 𝑆𝑆⃑ คือ ขนาดของการกระจัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง มีหน่วยเป็น เมตร t คือ เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่มีหน่วยเป็น วินาที 𝑉𝑉�⃑ คือ ขนาดของความเร็วเฉลี่ย มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที ขนาดของการกระจัด แทนด้วยตัวแปร  จํานวนเวลาที่ใช้ทั้งหมด แทนด้วยตัวแปร  อัตราส่วนระหว่างการกระจัดกับเวลา คือ  แทนด้วยตัวแปร  หน่วยความเร็วที่เป็นหน่วยสากล คือ  ตรวจคําตอบแล้ว ได้คะแนน .................คะแนน จากคะแนนเต็ม5คะแนน
  • 6. 6 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 4 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ จากการสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ สัญญาณเวลา 1 วินาที เคาะได้50 ครั้ง แต่ละ 1 ช่วงจุดใช้เวลาในการเคลื่อนที่เท่ากับ 1/50 วินาที ดังภาพแถบกระดาษ 1.5 cm 1.7 cm 2.5 cm 2.8 cm 3.2 cm A1/50 B 1/50 s C 1/50 s D 1/50 s E 1/50 s F อัตราส่วนระหว่างการกระจัดแต่ละช่วงจุดของแถบกระดาษกับเวลาใน 1 ช่วงจุด คือ ขนาดความเร็วเฉลี่ยใน 1 ช่วงจุด เช่น ระยะจาก A ไป B การกระจัดเท่ากับ 1.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 1 50 s ขนาดความเร็ว (𝑉𝑉)������⃑AB= 𝑆𝑆⃑AB = 1.5 = 1.5 × 50 1 cm/s = 75 cm/s = 0.75 m/s tAB 1 50 ระยะจาก A ไป C การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s ระยะจาก Bไป C การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s ระยะจาก A ไป D การกระจัดเท่ากับ 5.7 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 3/50s ระยะจาก A ไปEการกระจัดเท่ากับ 8.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 4/50s ระยะจาก A ไป F การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s ระยะจาก B ไป D การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s ระยะจาก C ไป F การกระจัดเท่ากับ 8.5 cm เวลาที่ใช้เท่ากับ 3/50s ขนาดความเร็ว (𝑉𝑉)������⃑CF = 𝑆𝑆⃑CF = 8.5 = 1.5 × 50 3 cm/s = 25 cm/s = 0.25 m/s tCF 3 50 ระยะจาก B ไป E การกระจัดเท่ากับ ……… cm เวลาที่ใช้เท่ากับ ……..s
  • 7. 7 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 5 (Practice frame) ปฏิบัติ จงหา ความเร็วเฉลี่ย จาก A ไป F สูตรหาขนาดความเร็ว คือ  แทนค่าในสูตรได้  คําตอบ ที่ได้  เปลี่ยนเป็นหน่วยสากล คือ  จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่ง คือ ตําแหน่ง C สูตรหาขนาดความเร็ว คือ  แทนค่าในสูตรได้  คําตอบ ที่ได้  เปลี่ยนเป็นหน่วยสากล คือ  ความเร็วเฉลี่ยในหน่วยสากลจาก B ไป E และ C ไป F
  • 8. 8 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 6 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ การหาขนาดความเร็ว ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่ง จากภาพ ความเร็ว ณ ตําแหน่ง B หาได้จากสูตร แทนค่าจากสูตร 𝑽𝑽��⃑B = 𝑺𝑺��⃑ 𝒕𝒕 𝑨𝑨𝑨𝑨 𝑨𝑨𝑨𝑨 = 𝟑𝟑.𝟐𝟐 𝟐𝟐 𝟓𝟓𝟓𝟓 = 3.2×50 2 = 80 cm/s = 0.80 m/s จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่ง D หาได้จากสูตร แทนค่าจากสูตร     จงหา ความเร็ว ณ ตําแหน่ง E หาได้จากสูตร แทนค่าจากสูตร    = 1.5 m/s
  • 9. 9 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 7 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า ความเร่ง (acceleration) ใช้สัญลักษณ์ 𝑎𝑎⃑ และ ในระบบหน่วยระหว่างชาติ (SI : International System Units) ความเร่งมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาทีกําลังสอง (m/s2 หรือ ms-2 ) รูปแสดงการตกของถุงทราย ด้วยความเร่ง 10m/s2 ขนาดความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (gravitational acceleration) มีค่า 9.80665m/s2 ที่ระดับนํ้าทะเลจะแตกต่างกันตามระดับความสูงต่างๆ เช่น จังหวัด ความสูงจาก ระดับนํ้าทะเล (m) ค่า g (m/s2 ) เชียงใหม่ 416 9.78426 กรุงเทพฯ 2 9.78297 สงขลา 4 9.78120 วัตถุในสนามแรงโน้มถ่วงของโลก จะถูกแรงโน้มถ่วงกระทําต่อวัตถุ แรงโน้มถ่วง ของโลกที่กระทําต่อวัตถุ เรียกว่า นํ้าหนักของวัตถุ (weight ; W) โดยที่ นํ้าหนักของวัตถุ สัมพันธ์กับมวลของวัตถุ ดังนี้ 𝑊𝑊���⃑ = m𝑔𝑔⃑ เมื่อ m คือ มวลของวัตถุมีหน่วยเป็นกิโลกรัม (kg) g คือ ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาทีกําลังสอง (m/s2 ) มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลกเสมอ 𝑊𝑊คือ นํ้าหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัมเมตรต่อวินาทีกําลังสอง(kg m/s2 ) 500 g แรงต้านของอากาศ แรงโน้มถ่วงของโลก
  • 10. 10 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 หรือ นิวตัน (N) มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลกเสมอ กรอบที่ 8 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ การหาขนาดความเร่ง ความเร่ง(𝑎𝑎⃑) คือ อัตราส่วนระหว่างความเร็วที่เปลี่ยนไปกับเวลา ความเร็วที่เปลี่ยนไป(∆𝑉𝑉�⃑) คือ การเปลี่ยนแปลงของความเร็วต้น(𝑈𝑈��⃑) กับความเร็ว ปลาย (𝑉𝑉�⃑) หรือ ∆𝑉𝑉�⃑= 𝑉𝑉�⃑- 𝑈𝑈��⃑ เพราะฉะนั้นความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) = ∆𝑉𝑉��⃑ ∆𝑡𝑡 = 𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑ ∆𝑡𝑡 การหาขนาดความเร่งการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ สัญญาณเวลา ดังภาพ หาความเร่ง ณ ตําแหน่ง B ไป E การหาความเร่งจากตําแหน่ง B ไป Eต้องหาจากความเร็ว ณ ตําแหน่ง B และ ตําแหน่ง E และเวลาที่ใช้ทั้งหมด 1. หาความเร็วเริ่มต้น (𝑈𝑈��⃑) = 𝑈𝑈��⃑AC = 𝑆𝑆⃑ ∆𝑡𝑡 𝐴𝐴𝐴𝐴 𝐴𝐴𝐴𝐴 = 1.5+1.7 2 50 = 80 cm/s = 0.80 m/s 2. หาความเร็วปลาย (𝑉𝑉�⃑) = 𝑉𝑉�⃑ DF= 𝑆𝑆⃑ ∆𝑡𝑡 𝐷𝐷𝐷𝐷 𝐷𝐷𝐷𝐷 = 2.8+3.2 2 50 = 150 cm/s = 1.50 m/s 3. เวลาที่เปลี่ยนแปลง ( ∆𝑡𝑡) = 𝑡𝑡BE = 1 50 + 1 50 + 1 50 = 3 50
  • 11. 11 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 แทนค่าจากสูตร ความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) = ∆𝑉𝑉��⃑ ∆𝑡𝑡 = 𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑ ∆𝑡𝑡 = 1.50−0.80 3 50 =11.67 m/s2 กรอบที่ 9 (Set frame) ให้ความรู้ต่อ การหาขนาดความเร่งการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะ สัญญาณเวลา ดังภาพ หาความเร่ง ณ ตําแหน่ง Cไป E การหาความเร่งจากตําแหน่ง Cไป E ต้องหาจากความเร็ว ณ ตําแหน่ง……… และ ตําแหน่ง...........และเวลาที่ใช้ทั้งหมด 1. หาความเร็วเริ่มต้น (𝑈𝑈��⃑) =……… = ……….. = ……….. = …… cm/s = ……. m/s 2. หาความเร็วปลาย (𝑉𝑉�⃑) = 𝑉𝑉�⃑ DF= 𝑆𝑆⃑ ∆𝑡𝑡 𝐷𝐷𝐷𝐷 𝐷𝐷𝐷𝐷 = 2.8+3.2 2 50 = 150 cm/s = 1.50 m/s 3. เวลาที่เปลี่ยนแปลง ( ∆𝑡𝑡) = ……….. ……….. แทนค่าจากสูตร ความเร่ง (𝑎𝑎⃑ ) = ∆𝑉𝑉��⃑ ∆𝑡𝑡 = 𝑉𝑉��⃑−𝑈𝑈��⃑ ∆𝑡𝑡 = ….……….. m/s2
  • 12. 12 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 10 (Criterion frame) ทดสอบว่ารู้จริงหรือไม่ 1. ในการดีดเหรียญให้เคลื่อนที่ออกไปในแนวระดับจากขอบโต๊ะจนตกถึงพื้น การดีดแรงและค่อย มีผลต่อปริมาณต่อไปนี้ที่เกิดขึ้นบนเหรียญอย่างไร 1.1 ความเร็วในแนวระดับ 1.2 ความเร็วในแนวดิ่ง 1.3 การกระจัด 2. จงบรรยายการเคลื่อนที่ของรถที่ติดแถบกระดาษลากผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา . . . . . . . . . . . … . . . . . . . . 3. ปั่นจักรยานไปตามทางตรงด้วยความเร็วเฉลี่ย 6.02 m/s ไปทางทิศตะวันออก จงหา การกระจัดที่เกิดขึ้นหลังจากเวลาผ่านไป 137s 4. ขับรถไปยังบ้านเพื่อนซึ่งห่างออกไป 160 km ทางทิศตะวันตก และเป็นช่วงที่ถนน เป็นแนวตรง ถ้านักเรียนออกเดินทางเมื่อเวลา 10.00 น.ไปถึงบ้านเพื่อนเวลา 12.00 น. จงหาความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง 5. ถ้ากําหนดให้นักเรียนเดินทางไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 150 m แล้วเดิน ย้อนกลับมาทางทิศตะวันตก 30 m ต้องการทราบว่านักเรียนเดินทางได้เป็น ระยะทางเท่าไร และมีการกระจัดเท่าไร และถ้าใช้เวลาเดินทั้งหมด 3 นาที มี อัตราเร็ว และความเร็วในการเดินทางเท่าใด
  • 13. 13 บทเรียนโปรแกรม เรื่อง ความเร็วและความเรง รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้น ม.3 กรอบที่ 10 ต่อ (Criterion frame) ทดสอบว่ารู้จริงหรือไม่ 6. วัตถุ 2 ชิ้น เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากันในเวลาที่เท่ากันแล้ว ปริมาณใดของการ เคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองชิ้นที่มีค่าเท่ากัน และเป็นไปได้หรือไม่ที่วัตถุทั้งสองมี ความเร็วไม่เท่ากัน 7. นักเรียนหญิงคนหนึ่งวิ่ง 60 m ใช้เวลา 12s จงหา 7.1 อัตราเร็วที่วิ่งในหน่วย m/s 7.2 อัตราเร็วที่วิ่งในหน่วย km/hr 7.3 ถ้าวิ่งด้วยอัตราเร็วตาม ข้อ 7.1 จงหาระยะที่วิ่งได้ในเวลา 40 s 7.4 ถ้ามีเพื่อนที่เริ่มวิ่ง วิ่งด้วยอัตราเร็ว 7.5 m/s จะใช้เวลาวิ่งนานเท่าไร (ตาม ระยะทางในข้อ 7.3) 8. ทศพล วิ่งด้วยความเร็ว 4 m/s ได้ทาง 120 m ต่อมาจึงเดินด้วยความเร็ว 2 m/s ได้ ทาง 50 m ให้หาความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ 9. รถเก๋งคันหนึ่งเริ่มสตาร์ทออกจากจุดหยุดนิ่ง 5 วินาที ต่อมามีความเร็วเป็น 20 m/s จงหา 9.1 ความเร่งของรถเก๋งคันนี้ 9.2 ความเร็วของรถคันนี้ขณะที่เวลาผ่านไป 2 วินาที 9.3 ถ้ารถเก๋งมีความเร่งเท่าเดิม จงหาความเร็วของรถเก๋งเมื่อเวลาผ่านไป 6 วินาที 10. รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km/hr เมื่อต้องการแซงรถคันอื่นจึงเหยียบคันเร่ง ให้มีความเร็ว 126 km/hr ในการเปลี่ยนความเร็วนี้ใช้เวลาเพียง 4 วินาที จงหา ความเร่งของรถยนต์