SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ตัวอย่างที่ 1
1) 3x3
– 9x2
+ x – 5 เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จ ที่มี
ดีกรีของพจน์ 3x3 เท่ากับ 3
ดีกรีของพจน์ –9x2 เท่ากับ 2
ดีกรีของพจน์ x เท่ากับ 1
ดีกรีของพจน์ –5 เท่ากับ 0
ดังนั้น ดีกรีของพจน์ 3x3 – 9x2 + x – 5 เท่ากับ 3
2) –5x2yz + 7x2y2z – 4xyz เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จ ที่มี
ดีกรีของพจน์ –5x2yz เท่ากับ 4
ดีกรีของพจน์ 7x2y2z เท่ากับ 5
ดีกรีของพจน์ –4xyz เท่ากับ 3
ดังนั้น ดีกรีของพจน์ –5x2yz + 7x2y2z – 4xyz เท่ากับ 5
3) 0 เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จที่เป็นเอกนาม และไม่กล่าวถึงดีกรีของเอกนาม 0 ดังนั้น จึงไม่กล่าวถึง
ดีกรีของพหุนาม 0
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนพหุนามต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปพหุนามผลสาเร็จ และบอกดีกรีของพหุนาม
1) 9x2y – 5xy2 + 7x2y – 3xy2 + 4
วิธีทา 9x2y – 5xy2 + 7x2y – 3xy2 + 4
= (9x2y + 7x2y) + (–5xy2 – 3xy2) + 4
= 16x2y + (–8xy2) + 4
= 16x2y – 8xy2 + 4
ตอบ พหุนามในรูปผลสาเร็จคือ 16x2y – 8xy2 + 4 มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ 3
2) (–10a3b2) + 10a3b2 + 7ab2 – 9ab2 + b4 + (–5)
วิธีทา (–10a3b2) + 10a3b2 + 7ab2 – 9ab2 + b4 + (–5)
= (–10a3b2 + 10a3b2) + (7ab2 – 9ab2) + b4 + (–5)
= 0a3b2 – 2ab2 + b4 + (–5)
= b4 – 2ab2 – 5
ตอบ พหุนามในรูปผลสาเร็จคือ b4 – 2ab2 – 5 มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ 4
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวกของพหุนามต่อไปนี้
5a4 + 7a3 – 5a + 6 กับ (–7a4) + (–5a2) – 4a – 3
วิธีที่ 1
ขั้นที่ 1 ให้เขียนพหุนามที่กาหนดให้ทั้งหมดที่ต้องการจะนามาบวกกันในบรรทัดเดียวกัน จะได้
= (5a4 + 7a3 – 5a + 6) + (–7a4 – 5a2 – 4a – 3)
ขั้นที่ 2 ให้รวมพจน์ที่คล้ายกันตามแนวนอน จะได้
= (5a4 – 7a3) + (7a3)+ (–5a2) + (–5a – 4a) + (6 – 3)
ขั้นที่ 3 ให้เขียนผลลัพธ์ที่ได้ในรูปพหุนามผลสาเร็จ จะได้
= –2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3
วิธีที่ 2
ขั้นที่ 1 เขียนพหุนามที่กาหนดให้ โดยให้พจน์ที่คล้ายกันอยู่ตรงกัน จะได้
5a4 + 7a3 – 5a + 6
–7a4 – 5a2 – 4a – 3
ขั้นที่ 2 รวมพจน์ที่คล้ายกันตามหลักการบวกตามแนวตั้ง จะได้
5a4 + 7a3 – 5a + 6
–7a4 – 5a2 – 4a – 3
–2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3
ขั้นที่ 3 เขียนผลลัพท์ที่ได้ในรูปพหุนามผลสาเร็จ จะได้
–2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3
การหาผลลบของพหุนามสองพหุนาม มีหลักการดังนี้
พหุนามตัวตั้ง – พหุนามตัวลบ = พหุนามตัวตั้ง + พหุนามตรงข้ามของพหุนามตัวลบ เช่น
พหุนาม พหุนามตรงข้าม
7
–9x
5x – 7y
8a3
+ 6a2
– 9a + 7
–7
9x
–(5x – 7y) หรือ –5x + 7y
– (8a3
+ 6a2
– 9a + 7) หรือ –8a3
– 6a2
+ 9a – 7
+
+
การบวกลบพหุนาม

More Related Content

What's hot

การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงkroojaja
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 

What's hot (20)

การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 

Similar to การบวกลบพหุนาม

พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1Rung Pj
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นงานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นทับทิม เจริญตา
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศpummath
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 

Similar to การบวกลบพหุนาม (20)

การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นงานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
112
112112
112
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 

More from ทับทิม เจริญตา

ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2ทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 
ความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลังความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลัง
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 

การบวกลบพหุนาม

  • 1. ตัวอย่างที่ 1 1) 3x3 – 9x2 + x – 5 เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จ ที่มี ดีกรีของพจน์ 3x3 เท่ากับ 3 ดีกรีของพจน์ –9x2 เท่ากับ 2 ดีกรีของพจน์ x เท่ากับ 1 ดีกรีของพจน์ –5 เท่ากับ 0 ดังนั้น ดีกรีของพจน์ 3x3 – 9x2 + x – 5 เท่ากับ 3 2) –5x2yz + 7x2y2z – 4xyz เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จ ที่มี ดีกรีของพจน์ –5x2yz เท่ากับ 4 ดีกรีของพจน์ 7x2y2z เท่ากับ 5 ดีกรีของพจน์ –4xyz เท่ากับ 3 ดังนั้น ดีกรีของพจน์ –5x2yz + 7x2y2z – 4xyz เท่ากับ 5 3) 0 เป็นพหุนามในรูปผลสาเร็จที่เป็นเอกนาม และไม่กล่าวถึงดีกรีของเอกนาม 0 ดังนั้น จึงไม่กล่าวถึง ดีกรีของพหุนาม 0 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนพหุนามต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปพหุนามผลสาเร็จ และบอกดีกรีของพหุนาม 1) 9x2y – 5xy2 + 7x2y – 3xy2 + 4 วิธีทา 9x2y – 5xy2 + 7x2y – 3xy2 + 4 = (9x2y + 7x2y) + (–5xy2 – 3xy2) + 4 = 16x2y + (–8xy2) + 4 = 16x2y – 8xy2 + 4 ตอบ พหุนามในรูปผลสาเร็จคือ 16x2y – 8xy2 + 4 มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ 3 2) (–10a3b2) + 10a3b2 + 7ab2 – 9ab2 + b4 + (–5) วิธีทา (–10a3b2) + 10a3b2 + 7ab2 – 9ab2 + b4 + (–5) = (–10a3b2 + 10a3b2) + (7ab2 – 9ab2) + b4 + (–5) = 0a3b2 – 2ab2 + b4 + (–5) = b4 – 2ab2 – 5 ตอบ พหุนามในรูปผลสาเร็จคือ b4 – 2ab2 – 5 มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ 4 ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวกของพหุนามต่อไปนี้ 5a4 + 7a3 – 5a + 6 กับ (–7a4) + (–5a2) – 4a – 3 วิธีที่ 1 ขั้นที่ 1 ให้เขียนพหุนามที่กาหนดให้ทั้งหมดที่ต้องการจะนามาบวกกันในบรรทัดเดียวกัน จะได้ = (5a4 + 7a3 – 5a + 6) + (–7a4 – 5a2 – 4a – 3) ขั้นที่ 2 ให้รวมพจน์ที่คล้ายกันตามแนวนอน จะได้ = (5a4 – 7a3) + (7a3)+ (–5a2) + (–5a – 4a) + (6 – 3) ขั้นที่ 3 ให้เขียนผลลัพธ์ที่ได้ในรูปพหุนามผลสาเร็จ จะได้ = –2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3
  • 2. วิธีที่ 2 ขั้นที่ 1 เขียนพหุนามที่กาหนดให้ โดยให้พจน์ที่คล้ายกันอยู่ตรงกัน จะได้ 5a4 + 7a3 – 5a + 6 –7a4 – 5a2 – 4a – 3 ขั้นที่ 2 รวมพจน์ที่คล้ายกันตามหลักการบวกตามแนวตั้ง จะได้ 5a4 + 7a3 – 5a + 6 –7a4 – 5a2 – 4a – 3 –2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3 ขั้นที่ 3 เขียนผลลัพท์ที่ได้ในรูปพหุนามผลสาเร็จ จะได้ –2a4 + 7a3 – 5a2 – 9a + 3 การหาผลลบของพหุนามสองพหุนาม มีหลักการดังนี้ พหุนามตัวตั้ง – พหุนามตัวลบ = พหุนามตัวตั้ง + พหุนามตรงข้ามของพหุนามตัวลบ เช่น พหุนาม พหุนามตรงข้าม 7 –9x 5x – 7y 8a3 + 6a2 – 9a + 7 –7 9x –(5x – 7y) หรือ –5x + 7y – (8a3 + 6a2 – 9a + 7) หรือ –8a3 – 6a2 + 9a – 7 + +