SlideShare a Scribd company logo
LEPTOSPIROSIS
เชื้อเลปโตสไปรา   Leptospira  are spiral-shaped   bacteria   that are 6-20 μm long and 0.1 μm in diameter with a wave length of about 0.5 μm .One or both ends of the spirochete are usually hooked. Because they are so thin.
ลักษณะเชื้อ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โครงสร้างของเชื้อ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Pathogenic  Leptospira Leptospira interrogans   Leptospira kirschneri   Leptospira noguchii   Leptospira alexanderi   Leptospira weilii   Leptospira  genomospecies 1  Leptospira borgpetersenii   Leptospira santarosai   Leptospira kmetyi
Intermediates or opportunistic Leptospira ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Non- pathogenic Leptospirosis ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Scientific  classification ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เชื้อเลปโตสไปร่ามีหลายสายพันธุ์ (  species )  แต่ที่ก่อโรคในคนและสัตว์คือ  Leptospira interrogans   วิชัย โชควิวัฒน  (2544 : 6)
พบว่าเชื้อที่เป็นสาเหตุในกรุงเทพคือ   serovas batavia   และ   serovas javanica ,[object Object],[object Object],[object Object]
สาเหตุการติดต่อ ,[object Object],[object Object]
อาการและอาการแสดง  ,[object Object],90%   ของผู้มีอาการจะมีอาการเล็กน้อยและเป็นแบบไม่เหลือง  มีอาการคล้ายโรคติดเชื้ออื่น ๆ หลายโรค เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้สมองอักเสบ ไทฟอยด์ ริกเกตเซีย เมลิออยโดสิส  มักเริ่มมีอาการหลังรับเชื้อประมาณ  4   ถึง  11   วัน  ( ระยะฟักตัว 2-20   วัน ที่พบบ่อย คือ  7-12   วัน ) โดยมีไข้สูงทันทีทันใด  ปวดศรีษะ และปวดกล้ามเนื้อมาก ปวดน่อง ตาแดง
แบ่งเป็น  2  ระยะ โรคเลปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง  (  Anicteric  leptospirosis ) ระยะที่มีเชื้อในเลือด   (leptospiremic phase) มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้หนาวสั่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งในโรคเล็ปโตสไปโรซิสจะมีลักษณะเฉพาะคือ  ปวดบริเวณน่อง หลัง และหน้าท้อง ผู้ป่วยส่วนมากมักมีอาการปวดศีรษะมาก โดยเฉพาะบริเวณด้านหน้าหรือหลังเบ้าตา อาการอื่นๆที่อาจพบได้ ได้แก่ เจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก ผื่น สับสน ไอเป็นเลือด อาการแสดงที่อาจตรวจพบ ได้แก่ เยื่อบุตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต คอแดง กดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ ตับม้ามโต อาจพบอาการดีซ่านได้เล็กน้อย อาการในระยะนี้จะหายไปได้เองภายใน  1   สัปดาห์ ช่วงที่ไม่มีอาการจะนาน  1-3   วัน ก่อนจะเข้าสู่ระยะที่สอง
ระยะที่มีเชื้อในปัสสาวะ ,[object Object],(  leptospiruric phase และอาการแสดงมีความจำเพาะและความรุนแรงน้อยกว่าในระยะแรก ลักษณะที่สำคัญของโรคในระยะนี้คือ มากกว่า  15%   ของผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงของภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบแบบไร้เชื้อ  (aseptic meningitis)   ส่วนใหญ่พบในเด็ก ซึ่งอาจหายได้เองภายในเวลาไม่กี่วันหรืออาจคงอยู่นานเป็นสัปดาห์ สำหรับภาวะแทรกซ้อนอื่น เช่น ม่านตาอักเสบ จอตาอักเสบ มักเกิดตามหลังอาการเริ่มแรกของโรคนานหลายเดือน และคงอยู่ได้นานเป็นปี
โรคเลปโตสไปโรซิสรุนแรง  (  Severe   leptospirosis  ) โรคเลปโตสไปโรซิสรุนแรง หรือกลุ่มอาการเวล  (Weil's Syndrome) พบได้เป็นพิเศษในการติดเชื้อใน  serovas  icterohaemorrhagiae , อาการในระยะเริ่มแรกไม่ต่างจากโรคเล็ปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง แต่ไม่มีลักษณะที่แบ่งออกเป็นสองระยะชัดเจน มักแสดงอาการรุนแรงใน  4-9   วันหลังจากเริ่มมีอาการ อาการดีซ่าน  ที่พบในกลุ่มอาการเวล จะมีลักษณะเหลืองมากจนแทบเป็นสีส้มเมื่อสังเกตทางผิวหนัง มักพบตับโตร่วมกับกดเจ็บ ประมาณ  20%   ของผู้ติดเชื้อมีอาการม้ามโตร่วมด้วย อาการทางปอด เช่น ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย จนถึงระบบหายใจล้มเหลว  ไตวายเฉียบพลัน
[object Object],ระยะแรก  มีอาการไม่รุนแรงเริ่มจาก มีไข้สูง และมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อน่องมาก ระยะที่  2   ยังคงมีไข้สูง แต่จะปรากฎจ้ำเลือดและรอยช้ำเขียวตามผิวหนัง มีเยื่อบุตาอักเสบและเลือดออกภายในตา ระยะที่  3   เป็นระยะที่อาการรุนแรงมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องทันท่วงที อาจจะเสียชีวิต เนื่องจากเกิดภาวะตับและไตวาย หรือมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
 
 
เกณฑ์การแยกผู้ต้องสงสัยและผู้ป่วยด้วยโรคเลปโตสไปโรซิส ( ตามหลักขององค์การอนามัยโลก  (  Sejvar, 2005 )   A.   ผู้ป่วยมีอาการ   คะแนน ปวดศีรษะอย่างกะทันหัน 2 มีไข้ 2 หากมีไข้ อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า    39° C 2 ตาแดง 4 Meningism 4 ปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะบริเวณน่อง 4 มีอาการอย่างน้อย  3  อย่างข้างบนพร้อมกัน 10 ดีซ่าน 1 Albuminuria 2 รวม   31
B.   ลักษณะทางระบาดวิทยา คะแนน มีการสัมผัสสัตว์ที่ทำงาน บ้าน หรือเดินทาง หรือสัมผัสแหล่งน้ำที่มีการปนเปื้อน 10 รวม 10
หากคะแนนรวม    A + B + C  > 25  หรือ    A  > 25   หรือ    A + B  > 25 จัดเป็นผู้ที่น่าจะติดเชื้อ    (probable  infection ) หากคะแนนรวม    A + B + C   อยู่ระหว่าง  20-25   จัดเป็นผู้ป่วยสงสัย   ( possible  infection ) C.   ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ คะแนน ในบริเวณที่พบโรคเป็นประจำ  (  endemic ) ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานต่ำ   2 ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานสูง 10 ผลการตรวจเลือด  2   ครั้ง    ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานเพิ่ม 25 รวม 37 ในบริเวณที่ไม่พบโรคเป็นประจำ  (  not  endemic )   ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานต่ำ 5 ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานสูง 15 ผลการตรวจเลือด  2   ครั้ง    ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานเพิ่ม 25 รวม   45
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ,[object Object],Latex Agglutination test (LA)  Dipstick assay  :  Leptospira- specific IgM antibodies in human serum or whole blood samples.  Microcapsule agglutination test (MCAT)  Lateral flow test
confirmatory test ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรักษา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การป้องกันโรค  ,[object Object]
การควบคุมโรค ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
Prachaya Sriswang
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
Utai Sukviwatsirikul
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.
PaewWaew Chalinee
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
Utai Sukviwatsirikul
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
Utai Sukviwatsirikul
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 

What's hot (20)

Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรีระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Viewers also liked

Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
Tedson Murillo
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
Amandeep Kaur
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
ssucbba
 
Pp leptospirosis
Pp leptospirosisPp leptospirosis
Pp leptospirosis
Claudia Calvi
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
Amet J. David Gonzalez
 
leptospirosis
leptospirosisleptospirosis
leptospirosisIrene Ngu
 
Leptospirosis
Leptospirosis Leptospirosis
Leptospirosis
sartika Amran
 
Diapositivas leptospirosis
Diapositivas leptospirosisDiapositivas leptospirosis
Diapositivas leptospirosis
guest5fb3ff
 
#1clinical Case Pediatrics
#1clinical Case Pediatrics#1clinical Case Pediatrics
#1clinical Case Pediatrics
joseenrique
 
Seminario Brucelosis y Leptospirosis
Seminario Brucelosis y LeptospirosisSeminario Brucelosis y Leptospirosis
Seminario Brucelosis y LeptospirosisSandru Acevedo MD
 
Enfermedades zoonoticas - Leptospirosis
Enfermedades zoonoticas - LeptospirosisEnfermedades zoonoticas - Leptospirosis
Enfermedades zoonoticas - Leptospirosis
Lizeth S. Rosas
 
leptospirosis
leptospirosisleptospirosis
leptospirosis
MOnikita Vizcarra
 

Viewers also liked (20)

Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Pp leptospirosis
Pp leptospirosisPp leptospirosis
Pp leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
leptospirosis
leptospirosisleptospirosis
leptospirosis
 
Leptospirosis
Leptospirosis Leptospirosis
Leptospirosis
 
Diapositivas leptospirosis
Diapositivas leptospirosisDiapositivas leptospirosis
Diapositivas leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
LEPTOSPIROSIS
LEPTOSPIROSISLEPTOSPIROSIS
LEPTOSPIROSIS
 
#1clinical Case Pediatrics
#1clinical Case Pediatrics#1clinical Case Pediatrics
#1clinical Case Pediatrics
 
Seminario Brucelosis y Leptospirosis
Seminario Brucelosis y LeptospirosisSeminario Brucelosis y Leptospirosis
Seminario Brucelosis y Leptospirosis
 
Enfermedades zoonoticas - Leptospirosis
Enfermedades zoonoticas - LeptospirosisEnfermedades zoonoticas - Leptospirosis
Enfermedades zoonoticas - Leptospirosis
 
leptospirosis
leptospirosisleptospirosis
leptospirosis
 

Similar to Leptospirosis

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
pipepipe10
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
pitsanu duangkartok
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
Malaria
MalariaMalaria
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
uraipan chaisri
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
atirachonpanyayom
 
Gram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positiveGram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positive
Rattanawan Tharatthai
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
plague
plagueplague
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับPanda Jing
 
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
pitsanu duangkartok
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)Nonglak Ban
 

Similar to Leptospirosis (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Malaria
MalariaMalaria
Malaria
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
 
โรคร้ายจากหนู
โรคร้ายจากหนูโรคร้ายจากหนู
โรคร้ายจากหนู
 
Gram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positiveGram negative-oxidase-positive
Gram negative-oxidase-positive
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
plague
plagueplague
plague
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
 
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
 

More from Asst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
DUB
DUBDUB
DUB
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Nephrotic Syndrome
Nephrotic SyndromeNephrotic Syndrome
Nephrotic Syndrome
 
Kidney & Urinary System
Kidney & Urinary SystemKidney & Urinary System
Kidney & Urinary System
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Bile Duct Tumor
Bile Duct TumorBile Duct Tumor
Bile Duct Tumor
 
Appendicitis
AppendicitisAppendicitis
Appendicitis
 
Organ Transplant
Organ TransplantOrgan Transplant
Organ Transplant
 
Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Deep Vein Thrombosis
Deep Vein ThrombosisDeep Vein Thrombosis
Deep Vein Thrombosis
 
Gastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal TumorsGastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal Tumors
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 

Leptospirosis

  • 2. เชื้อเลปโตสไปรา Leptospira are spiral-shaped bacteria that are 6-20 μm long and 0.1 μm in diameter with a wave length of about 0.5 μm .One or both ends of the spirochete are usually hooked. Because they are so thin.
  • 3.
  • 4.
  • 5. Pathogenic Leptospira Leptospira interrogans Leptospira kirschneri Leptospira noguchii Leptospira alexanderi Leptospira weilii Leptospira genomospecies 1 Leptospira borgpetersenii Leptospira santarosai Leptospira kmetyi
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. เชื้อเลปโตสไปร่ามีหลายสายพันธุ์ ( species ) แต่ที่ก่อโรคในคนและสัตว์คือ Leptospira interrogans วิชัย โชควิวัฒน (2544 : 6)
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. แบ่งเป็น 2 ระยะ โรคเลปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง ( Anicteric leptospirosis ) ระยะที่มีเชื้อในเลือด (leptospiremic phase) มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้หนาวสั่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งในโรคเล็ปโตสไปโรซิสจะมีลักษณะเฉพาะคือ ปวดบริเวณน่อง หลัง และหน้าท้อง ผู้ป่วยส่วนมากมักมีอาการปวดศีรษะมาก โดยเฉพาะบริเวณด้านหน้าหรือหลังเบ้าตา อาการอื่นๆที่อาจพบได้ ได้แก่ เจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก ผื่น สับสน ไอเป็นเลือด อาการแสดงที่อาจตรวจพบ ได้แก่ เยื่อบุตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต คอแดง กดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ ตับม้ามโต อาจพบอาการดีซ่านได้เล็กน้อย อาการในระยะนี้จะหายไปได้เองภายใน 1 สัปดาห์ ช่วงที่ไม่มีอาการจะนาน 1-3 วัน ก่อนจะเข้าสู่ระยะที่สอง
  • 14.
  • 15. โรคเลปโตสไปโรซิสรุนแรง ( Severe leptospirosis ) โรคเลปโตสไปโรซิสรุนแรง หรือกลุ่มอาการเวล (Weil's Syndrome) พบได้เป็นพิเศษในการติดเชื้อใน serovas icterohaemorrhagiae , อาการในระยะเริ่มแรกไม่ต่างจากโรคเล็ปโตสไปโรซิสแบบไม่เหลือง แต่ไม่มีลักษณะที่แบ่งออกเป็นสองระยะชัดเจน มักแสดงอาการรุนแรงใน 4-9 วันหลังจากเริ่มมีอาการ อาการดีซ่าน ที่พบในกลุ่มอาการเวล จะมีลักษณะเหลืองมากจนแทบเป็นสีส้มเมื่อสังเกตทางผิวหนัง มักพบตับโตร่วมกับกดเจ็บ ประมาณ 20% ของผู้ติดเชื้อมีอาการม้ามโตร่วมด้วย อาการทางปอด เช่น ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย จนถึงระบบหายใจล้มเหลว ไตวายเฉียบพลัน
  • 16.
  • 17.  
  • 18.  
  • 19. เกณฑ์การแยกผู้ต้องสงสัยและผู้ป่วยด้วยโรคเลปโตสไปโรซิส ( ตามหลักขององค์การอนามัยโลก ( Sejvar, 2005 ) A.  ผู้ป่วยมีอาการ   คะแนน ปวดศีรษะอย่างกะทันหัน 2 มีไข้ 2 หากมีไข้ อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า   39° C 2 ตาแดง 4 Meningism 4 ปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะบริเวณน่อง 4 มีอาการอย่างน้อย 3 อย่างข้างบนพร้อมกัน 10 ดีซ่าน 1 Albuminuria 2 รวม   31
  • 20. B.  ลักษณะทางระบาดวิทยา คะแนน มีการสัมผัสสัตว์ที่ทำงาน บ้าน หรือเดินทาง หรือสัมผัสแหล่งน้ำที่มีการปนเปื้อน 10 รวม 10
  • 21. หากคะแนนรวม   A + B + C  > 25  หรือ   A  > 25  หรือ   A + B  > 25 จัดเป็นผู้ที่น่าจะติดเชื้อ   (probable  infection ) หากคะแนนรวม   A + B + C   อยู่ระหว่าง 20-25  จัดเป็นผู้ป่วยสงสัย ( possible  infection ) C.  ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ คะแนน ในบริเวณที่พบโรคเป็นประจำ ( endemic ) ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานต่ำ   2 ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานสูง 10 ผลการตรวจเลือด 2  ครั้ง   ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานเพิ่ม 25 รวม 37 ในบริเวณที่ไม่พบโรคเป็นประจำ ( not  endemic )   ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานต่ำ 5 ผลการตรวจเลือดครั้งเดียว ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานสูง 15 ผลการตรวจเลือด 2  ครั้ง   ได้ผลบวก ระดับภูมิต้านทานเพิ่ม 25 รวม   45
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.