SlideShare a Scribd company logo
โลโก้ของหน่วยงาน
โรคมือ เท้า ปาก(Hand Foot and Mouth Disease)
พบมากในเด็กทารกและเด็กเล็ก มักเกิดในช่วงต้นฤดูฝนถึงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงธันวาคม
สาเหตุ
การติดต่อ
อาการ
อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์
การป้องกัน
เกิดจากเชื้อกลุ่มเอนเทอโรไวรัส(Enterovirus)
จากการสัมผัสโดยตรงกับน�้ำมูกน�้ำลายละอองจากการไอจามน�้ำเหลือง
จากแผลพุพองหรืออุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้อมีระยะฟักตัว3-7วัน
เริ่มจากมีไข้ต่อมาอีก1-2วันมีอาการเจ็บปากและเบื่ออาหารมีแผลอักเสบ
ที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้มทั้งสองข้าง ต่อมาที่ผิวหนังจะมีผื่นเป็นจุดแดง
อาจจะนูนหรือราบ ไม่มีอาการคัน ผื่นพบมากที่ฝ่ามือฝ่าเท้า ผื่นนี้จะ
กลายเป็นตุ่มพองใสรอบๆแดงและแตกออกเป็นหลุมตื้นๆ
-เด็กมีอาการซึมลงไม่เล่นไม่รับประทานอาหารหรือนม
-บ่นปวดศีรษะมากปวดทนไม่ไหว
-มีอาการพูดเพ้อไม่รู้เรื่องสลับกับการซึมลง
-ปวดต้นคอคอแข็งมีการรับรู้สับสนและอาเจียน
-มีอาการสะดุ้งผวาตัวสั่นๆอาจมีแขนหรือมือสั่นบ้าง
-มีอาการไอหายใจเร็วดูเหนื่อยๆหน้าซีดมีเสมหะมากโดยอาจมีหรือไม่มีไข้ร่วมด้วยก็ได้
- หมั่นล้างมือเด็กด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการรับประทานอาหารหลังขับถ่ายและหลังจาก
เล่นของเล่น
- ก�ำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลดูแลรักษาและท�ำความสะอาดอาคารสถานที่เครื่องมือเครื่องใช้ และ
ของเล่นต่างๆ
- คัดกรองเด็กที่ป่วยแยกออกจากเด็กปกติหรือให้หยุดพักรักษาตัวที่บ้านประมาณ1สัปดาห
หรือจนกว่าจะหายเป็นปกติเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อให้เด็กอื่นๆ
อาจท�ำให้เสียชีวิต
โรคมือ เท้า ปาก
หยุดพักรักษาตัวที่บ้าน
1 สัปดาห์ หรือจนกว่าจะหาย
ล้างมือบ่อยๆ
ด้วยน�้ำและสบู่
หมั่นท�ำความสะอาด
สถานที่ ของใช้ ของเล่น
โรคไข้หวัด(Commoncold)
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจในเด็กที่พบบ่อยที่สุด
โรคไข้หวัดใหญ่(influenza)
มักมีอาการรุนแรงกว่าไข้หวัดธรรมดาและมีโอกาสเกิดอาการแทรกซ้อนได้มากกว่า
สาเหตุ สาเหตุ
อาการ
การป้องกัน
การติดต่อ
อาการ
อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์
เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิด เกิดจากเชื้อไวรัสอินฟลูเอนซา(influenzavirus)
ไข้ต�่ำ คัดจมูก จาม น�้ำมูกไหล เจ็บคอ ไอแห้ง โดยอาการเหล่านี้จะเป็นมาก
ใน1–2วันแรกและสามารถหายได้ภายใน1 สัปดาห
1.ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอและพักผ่อนให้เพียงพอ	 5.หมั่นล้างมือบ่อยๆด้วยน�้ำและสบู่
2.หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ป่วยหรือสถานที่แออัด	 	 6.หลีกเลี่ยงมลพิษควันบุหรี่ควันไฟในบ้านควันท่อไอเสียรถ
3.กินอาหารที่มีประโยชนผักและผลไม้ 		 7.เมื่อป่วยควรพักที่บ้านอย่างน้อย3–7วันหรือจนกว่าจะหาย
เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารและวิตามินพอเพียง	 8.เวลาไอหรือจามควรปิดปากปิดจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชู
4.ดูแลรักษาร่างกายให้อบอุ่นในช่วงอากาศหนาวเย็น	 ทุกครั้งหรือสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หรืออากาศเปลี่ยนแปลง		 		 ให้กับผู้อื่น
ทางตรง : การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ร่างกายจากการไอหรือจามรดกัน		 ทางอ้อม : การใช้ของร่วมกันหรือมือไปสัมผัสกับละอองน�้ำมูกน�้ำลายขยี้ตาหรือจมูก
ไข้สูง 38 - 40 องศา เป็นเวลา 3-4 วัน หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไอ
และมีเสมหะมากเจ็บคอคัดจมูกน�้ำมูกไหลอาจพบอาการคลื่นไส้อาเจียนและอุจจาระร่วงได้
-หายใจผิดปกติได้แก่หายใจเร็วหอบหายใจแรง
จนชายโครงบุ๋มหายใจเสียงดัง
-ไข้สูงเกิน3วัน
-ไม่กินนมหรือน�้ำ	
-ซึมลงหรือกระสับกระส่าย		
-อาการป่วยมากขึ้นกว่าเดิม
อาจท�ำให้เสียชีวิต
โรคไข้หวัด และไข้หวัดใหญ่
หลีกเลี่ยงผู้ป่ วย
สถานที่แออัดและมลพิษ
ออกก�ำลังกาย
กินอาหารที่มีประโยชน์
สวมหน้ากากอนามัย
ล้างมือบ่อย ๆ
ด้วยน�้ำและสบู่
แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน
จนกว่าจะหาย
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
โรคปอดบวมหรือปอดอักเสบ(Pneumonia)
สาเหตุ
การติดต่อ
อาการ
การป้องกัน
เชื้อไวรัสแบคทีเรียและเชื้อรา
การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย หรือสัมผัสสารคัดหลั่งทางตา จมูก และ
การสูดหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศที่เป็นละอองฝอยเข้าสู่ปอดโดยตรง
เริ่มจากมีไข้ต�่ำๆ ไอ มีน�้ำมูก คออักเสบ ต่อมาไข้สูง หอบเหนื่อย
หายใจล�ำบากและมีเสียงหวีดหรือฮืด ซึมลง ตัวเขียว ไม่กินน�้ำ ไม่กินนม
ซึ่งเป็นสัญญาณของอาการปอดบวมต้องรีบพาไปพบแพทย
1. ไม่ควรน�ำเด็กเล็กใกล้ชิดกับผู้ป่วยและอยู่ในที่มีผู้คนหนาแน่นเช่นศูนยการค้า
โรงภาพยนตรโดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาดของไข้หวัด
2. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เช่น ควันบุหรี่ควันไฟควันจากท่อไอเสียรถยนตหรือ
อากาศที่หนาวเย็น
3. ล้างมือให้เด็กบ่อยๆรวมถึงคนรอบข้าง
4. เมื่อมีเด็กป่วยในศูนยเด็กเล็กหรือโรงเรียนให้ผู้ปกครองรับเด็กกลับบ้าน
หากไม่สามารถรับกลับบ้านได้ให้แยกเด็กและแยกเครื่องใช้ของเด็กป่วย
ออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
5. ให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันโรคปอดบวม
หองพยาบาล
โรคปอดบวมหรือปอดอักเสบ  
หลีกเลี่ยงผู้ป่ วย
สถานที่แออัด และมลพิษ
สวมหน้ากากอนามัย
ล้างมือบ่อย ๆ
ด้วยน�้ำและสบู่
แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน
จนกว่าจะหาย
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
ออกก�ำลังกาย
กินอาหารที่มีประโยชน์
เลี่ยง
-เลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ป่วยหรือสถานที่คนหนาแน่น
มาตรการ “ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด ฉีด”
สำ�หรับการป้องกันโรคทางเดินหายใจ
ปิด
ล้าง
หยุด
ฉีด
-ปิดปากปิดจมูกเมื่อไอหรือจาม
-ล้างมือบ่อยๆด้วยน�้ำและสบู่
-หยุดงานหยุดเรียนหยุดกิจกรรมกับผู้อื่นพักรักษาตัวอยู่บ้านจนกว่าจะหาย
1) หญิงตั้งครรภอายุครรภ4เดือนขึ้นไป
2)เด็กอายุ6เดือนถึง2ปี
3)ผู้มีโรคเรื้อรังคือปอดอุดกั้นเรื้อรังหอบหืดหัวใจหลอดเลือดสมองไตวาย
ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบ�ำบัดและเบาหวาน
4)บุคคลที่มีอายุ65ปีขึ้นไป
5)ผู้มีน�้ำหนักตัวมากกว่า100กิโลกรัม
6)ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
7)ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
8)ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง(รวมผู้ติดเชื้อHIVที่มีอาการ)
ปิด
ล้าง
เลี่ยง
หยุด
ฉีด
มาตรการ
“ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด ฉีด”
ส�ำหรับการป้องกัน
โรคทางเดินหายใจ
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
มียุงลายเป็นพาหะน�ำโรค เกิดได้ตลอดปี พบมากช่วงฤดูฝน ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
สาเหตุ
อาการ
อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์
การป้องกัน
เกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกีซึ่งมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรคเมื่อถูกยุงที่มีเชื้อกัด
เชื้อจะเข้าสู่ร่างกาย
มีไข้สูงลอย(ให้ยาลดไข้แล้วไข้ไม่ลดถึงปกติหรือลดระยะสั้นแล้วกลับขึ้นอีก)
ปวดศรีษะ หน้าแดง เบื่ออาหาร อาเจียน อาจพบมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามล�ำตัว
แขน ขา อาจมีเลือดก�ำเดาหรือถ่ายอุจจาระด�ำ ตับโต กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา
และมีภาวะช็อคช่วงไข้ลดมือเท้าเย็นชีพจรเบาเร็วท�ำให้เสียชีวิตได้
เพื่อป้องกัน3โรคคือโรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกาและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
	 1. เก็บบ้านให้สะอาดโปร่งโล่งไม่ให้มีมุมอับทึบเป็นที่เกาะพักของยุง
	 2.เก็บขยะเศษภาชนะรอบบ้านโดยท�ำต่อเนื่องสัปดาหละครั้งไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุยุง
	 3.เก็บน�้ำส�ำรวจภาชนะใส่น�้ำต้องปิดฝาให้มิดชิดป้องกันยุงลายวางไข่
-ไข้ลดลงอาการซึมเหงื่อออก	 -ปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
-มือเท้าเย็นชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว	-ปัสสาวะลดลง
-หลีกเลี่ยงไม่ให้ยุงลายกัดเช่นนอนในมุ้งทายากันยุงเป็นต้น
-ท�ำลายแหล่งเพาะพันธุและก�ำจัดลูกน�้ำในบริเวณที่มีน�้ำขังเช่นโอ่งแจกันยางรถยนตหรือ
ภาชนะที่มีน�้ำขังทุกสัปดาหอย่างสม�่ำเสมอ
-แยกเด็กป่วยขณะมีไข้ ไว้ในบริเวณที่ไม่มียุงลายและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
มาตรการ “3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค”
อาจท�ำให้เสียชีวิต
โรคไข้เลือดออก
โรคอุจจาระร่วง (Diarrheal Diseases)
สาเหตุ
อาการ
การป้องกัน
มาตรการ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ”
อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์
จากการติดเชื้อแบคทีเรียไวรัสและหนอนพยาธิในส�ำไส้โดยการกินอาหารและน�้ำที่ไม่สะอาดอาหารสุกๆดิบๆ
ถ่ายเหลวตั้งแต่3ครั้งขึ้นไปหรือถ่ายมีมูกปนเลือดอย่างน้อย1 ครั้งอาจมีอาการปวดท้อง(อาเจียน)หรือเป็นไข้ร่วมด้วย
ถ้าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มักพบผู้ป่วยมีอาการไข้สูงและอาเจียนใน3วันแรกและอุจจาระมักเป็นสีเหลือง
-กินอาหารและดื่มน�้ำที่สะอาดอาหารร้อนๆปรุงสุกใหม่
-ท�ำความสะอาดภาชนะที่ใช้ในการกินและดื่มอย่างถูกวิธี
-ล้างมือด้วยน�้ำและสบู่ทุกครั้งก่อน-หลังรับประทานอาหาร		
-แยกเด็กที่ป่วยแยกของเล่นของใช้และท�ำความสะอาดหลังขับถ่าย
และหลังสัมผัสสิ่งปฏิกูลทันทีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
-เมื่อป่วยให้หยุดรักษาตัวที่บ้านจนกว่าจะหาย		
-ก�ำจัดอุจจาระอย่างถูกวิธี	
กินร้อน 	 โดยใช้ความร้อนสูงอย่างน้อย70องศาเซลเซียสและไม่ปรุงแบบสุกๆดิบๆเก็บอาหารปรุงสุกอย่างเหมาะสม
		 อาหารที่เหลือจากการกินถ้าเก็บไว้นานกว่า4ชั่วโมงต้องน�ำมาอุ่นให้ร้อนอย่างทั่วถึงก่อนน�ำมากินอีกครั้ง
ช้อนกลาง 	 ช่วยป้องกันโรคจากการติดต่อทางน�้ำลายไม่ให้แพร่กระจายระหว่างบุคคลได้นอกจากนี้ ยังช่วยป้องกันน�้ำลาย
		 ของผู้กินไม่ให้ลงไปปนเปื้อนอาหารท�ำให้บูดเสียง่าย
ล้างมือ		 ควรล้างมือให้สะอาดด้วยน�้ำและสบู่ทั้งก่อนรับประทานอาหารก่อนเตรียมอาหารและหลังเข้าห้องน�้ำทุกครั้ง
		 เพื่อลดเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
-อาการไม่ดีขึ้นซึมลงและยังถ่ายปริมาณมากหรือมีมูก
ปนเลือดมากขึ้น
-ยังมีภาวะขาดน�้ำอยู่เช่น ปัสสาวะออกน้อยร้องไห้
เสียงแหบไม่มีน�้ำตา
-ปากแห้ง ตาลึกโบ๋ ชีพจรเต้นเร็ว
-มีไข้สูงตลอด ไข้ไม่ลง
-อาเจียนมาก
ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระเหลว จํานวน 3 ครั้ง ต่อวันหรือมากกว่า หรือถ่ายมีมูกหรือปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง หรือถ่ายเป็นนํ้าจํานวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน
อาจท�ำให้เสียชีวิต
หองน้ำ
โรคอุจจาระร่วง
กินร้อน
ช้อนกลาง
ล้างมือ
โรคอีสุกอีใส (Chickenpox)
เกิดขึ้นได้ตลอดปี มักระบาดในช่วงปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อน
อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์
การป้องกัน
-มีไข้ขึ้นสูงหรือเป็นติดต่อนานกว่า4วัน
-บริเวณผื่นกลายเป็นสีแดงเข้มขึ้น
-ตุ่มนูนตามร่างกายมีน�้ำหนองไหลออกมา	
-ไออย่างรุนแรงปวดท้องรุนแรง
-มีผื่นแดงเป็นจ�้ำๆและเลือดออก
-ควรให้เด็กหยุดเรียนและแยกผู้ป่วยไม่ให้คลุกคลีกับผู้อื่นจนกว่าแผลจะแห้ง
-แยกท�ำความสะอาดเสื้อผ้าและเครื่องใช้ของผู้ป่วยออกจากผู้อื่น
-ห้ามใช้สิ่งของและภาชนะร่วมกับผู้ป่วย
-ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสตามค�ำแนะน�ำแพทย
สาเหตุ
การติดต่อ
เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร(Varicella-zostervirus)
ทางตรง : การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ร่างกายจากการไอหรือจามรดกัน
ทางอ้อม:การใช้ของร่วมกันหรือสัมผัสผื่นที่ผิวหนังหรือน�้ำเหลืองจากตุ่มน�้ำของผู้ป่วย
อาการ
มีไข้พร้อมผื่นในระยะแรกจะเป็นผื่นแดง ต่อมาผื่นเป็นตุ่มนูนขึ้นและกลายเป็น
ตุ่มน�้ำพองใสตรงกลางผื่นจะขึ้นมากบริเวณล�ำตัวมากกว่าแขนขา ผื่นในกลุ่มเดียวกัน
มีหลายระยะปนกันตุ่มที่เกิดขึ้นจะมีรอยบุ๋มตรงกลางแล้วค่อยๆแห้งไปในบางราย
อาจมีแผลในปากร่วมด้วย
อาจท�ำให้เสียชีวิต
โรคอีสุกอีใส
แยกท�ำความสะอาด
เสื้อผ้าและเครื่องใช้
ของผู้ป่ วยจากผู้อื่น
แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน
จนกว่าจะหาย
ห้ามใช้สิ่งของและภาชนะ
ร่วมกับผู้ป่ วย
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
สาเหตุ
การติดต่อ
อาการ
การป้องกัน
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส
-มือสัมผัสขี้ตาน�้ำตาของผู้ป่วยแล้วมาสัมผัสตาตัวเองหรือใช้ของส่วนตัว
ร่วมกับผู้ป่วย
-แมลงหวี่แมลงวันตอมสิ่งสกปรกหรือตาผู้ป่วยแล้วมาตอมตา
-ลงเล่นในน�้ำที่มีความสกปรกสูง
ตาแดง เคืองตา แสบตา น�้ำตาไหล ปวดตา ตามัว จะเป็นที่ข้างใด
ข้างหนึ่งก่อน และลามไปเป็นสองข้างอย่างรวดเร็วภายใน1-2วัน
-หมั่นล้างมือด้วยสบู่ให้สะอาด
-ไม่เอามือขยี้ตา
-ไม่คลุกคลีกับคนที่เป็นโรคไม่ใช้สิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัวร่วมกันเช่นผ้าเช็ดหน้า
-หากมีเด็กป่วยเป็นโรคตาแดงควรให้หยุดเรียนและงดลงสระว่ายน�้ำ
โรคตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis)
ตาแดงเป็นการอักเสบของเยื่อบุตา เกิดได้ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
โรคตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบ
ล้างมือบ่อย ๆ
ด้วยน�้ำและสบู่
ไม่เอามือขยี้ตา
ไม่ใช้สิ่งของ
ร่วมกัน
แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน
จนกว่าจะหาย
งดลงสระว่ายน�้ำ
ไข้อีดำ�อีแดง (Scarlet fever)
เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ที่ท�ำให้มีผื่นแดงขึ้นตามตัว ร่วมกับทอนซิลอักเสบ พบบ่อยในเด็ก และมักเกิดในช่วงฤดูฝน
สาเหตุ
การติดต่อ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสชนิดเอ(StreptococcusGroupA)
การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยหรือหายใจเอาละอองฝอยที่ติดเชื้อ
เข้าทางระบบทางเดินหายใจ
อาการ
มีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ใบหน้าแดง แต่รอบปากซีด ลิ้นเป็นปื้นขาว เมื่อปื้นขาว
ลอกออกจะบวมแดงคล้ายลูกสตรอเบอรรี่ ต่อมามีผื่นละเอียดสีแดง สัมผัสคล้าย
กระดาษทราย พบผื่นบริเวณล�ำคอ รักแร้ หน้าอกช่วงบน และตามล�ำตัว แขน ขา
มักเห็นชัดเจนบริเวณข้อพับ หลังมีผื่น 2-3 วัน ผื่นจะเริ่มลอกโดยเฉพาะบริเวณ
ปลายนิ้วปลายเท้าบางรายอาจมีต่อมน�้ำเหลืองที่คอบวมโตกดเจ็บ
การป้องกัน
-ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอพักผ่อนให้เพียงพอและออกก�ำลังกาย
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยและไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย
-ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วยหรือของใช้ของผู้ป่วย
-ไม่ขยี้ตาแคะจมูกหรือปาก
-แยกเด็กป่วยออกจากเด็กปกติทันทีหรือแจ้งให้ผู้ปกครองมารับเด็กกลับบ้าน
เพื่อพาเด็กไปพบแพทย
ไข้อีด�ำอีแดง
ใบหน้าแดง รอบปากซีด
ลิ้นเป็นปื้นขาว
ต่อมาจะบวมแดง
คล้ายลูกสตรอเบอร์รี่
ผื่นบริเวณข้อพับ
สัมผัสคล้ายกระดาษทราย
มีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ
โรคหัด (Measles)
สาเหตุ
การติดต่อ
เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มพารามิคโซไวรัส(Paramyxovirus)
จากการหายใจเอาเชื้อไวรัสในฝอยละอองน�้ำมูก น�้ำลาย ที่ฟุ้งกระจายในอากาศ
จากการไอจามรดกันหรือพูดกันในระยะใกล้ชิด
อาการ
ไข้สูงถึง40องศาเซลเซียสน�้ำมูกไหลไอตาแดงตาแฉะและกลัวแสงมีผื่นแดง
ขึ้นตามร่างกายใบหน้าล�ำคอบริเวณชิดขอบผมแล้วแผ่กระจายไปตามล�ำตัวแขนขา
ภายใน 3 วัน ลักษณะผื่นนูนแดง ติดกันเป็นปื้นๆ ก่อนผื่นขึ้นมักพบจุดขาวๆ เล็กๆ
มีขอบสีแดงอยู่ในกระพุ้งแก้ม(KoplikSpots)
การป้องกัน
-ฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด2ครั้งครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ9-12เดือน
ครั้งที่2เมื่อเด็กอายุ2ปีครึ่งหรือสามารถฉีดวัคซีนก่อนสัมผัสโรคไม่เกิน3วัน
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย
-แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคหัดจนถึงผื่นขึ้นครบ4วัน
เป็นโรคไข้ออกผื่น มักพบในเด็กอายุเกิน 5 ปี เด็กที่เป็นโรคหัดอาจเกิดโรคแทรกซ้อน โดยเฉพาะโรคปอดบวมหรือโรคปอดอักเสบ และท�ำให้เสียชีวิตได้
หองพยาบาล
โรคหัด
ฉีดวัคซีน ไข้สูง
จุดขาวๆ เล็กๆ ในกระพุ้งแก้ม
(Koplik Spots)
ผื่นแดงตามใบหน้า
ล�ำคอ และบริเวณชิดขอบผม
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่ วย
แยกผู้ป่ วย
การล้างมือ
2 ก่อน : 	 ก่อนปรุงอาหาร
	 ก่อนกินอาหาร
5 หลัง : 	 หลังเข้าห้องน�้ำ
	 หลังจับสัตวเลี้ยง
	 หลังสัมผัสสิ่งสกปรก
	 หลังไอ-จาม
	 หลังกลับจากโรงพยาบาล
ขั้นตอนการล้างมือที่ดี7ขั้นตอน
1.ฝ่ามือถูฝ่ามือ
2.ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว
3.ฝ่ามือถูฝ่ามือและนิ้วถูซอกนิ้ว
4.ใช้หลังมือถูฝ่ามือ
5.ถูนิ้วหัวแม่มือ
6.ใช้ปลายนิ้วถูขวางมือ
7.ถูรอบข้อมือ
การล้างมือด้วยน�้ำและสบู่ที่ถูกวิธี
จะสามารถลดการติดเชื้อได้ถึง 90%
การล้างมือ 7 ขั้นตอน
1. ฝ่ามือถูฝ่ามือ
5.ถูนิ้วหัวแม่มือ
6.ใช้ปลายนิ้วถูขวางมือ
7.ถูรอบข้อมือ
2.ฝ่ามือถูหลังมือ
และนิ้วถูซอกนิ้ว
3.ฝ่ามือถูฝ่ามือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4.ใช้หลังมือถูฝ่ามือ
การใช้หน้ากากอนามัย
1. ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมใส่หน้ากาก
2.เอาด้านสีเข้มออกด้านนอกขอบลวดอยู่ด้านบนสันจมูกสวมให้คลุมจมูกกับปากและดึงให้คลุม
ถึงปลายคางแล้วกดขอบลวดให้พอดีกับจมูก
3.เวลาใส่หน้ากากห้ามน�ำมือไปสัมผัสด้านนอกของหน้ากากเพราะอาจสัมผัสกับเชื้อโรคที่ติดอยู่ได้
4.หน้ากากที่ท�ำด้วยกระดาษควรเปลี่ยนและทิ้งในถังขยะที่มีฝาปิด
5.หากหน้ากากมีการปนเปื้อนหรือช�ำรุดควรเปลี่ยนใหม่
6.ล้างมือหลังถอดหน้ากากทุกครั้ง
ประโยชน์จากการใช้หน้ากากอนามัย
ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไปสู่ผู้อื่น
การใช้หน้ากากอนามัย
กำ�หนดการให้วัคซีนแก่เด็ก ตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข
อายุ วัคซีนป้องกันโรค ข้อแนะน�ำ
แรกเกิด
BCG(วัคซีนป้องกันวัณโรค) ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล
HB1(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี) ควรให้เร็วที่สุดภายใน24ชั่วโมงหลังคลอด
1เดือน HB2(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี) เฉพาะรายที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี
2เดือน DTP-HB1(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี)
OPV1(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
4เดือน
DTP-HB2(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี)
ให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด1เข็มพร้อมกับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน1ครั้งOPV2(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
IPV1(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด)
6เดือน DTP-HB3(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี)
OPV3(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
9เดือน MMR1(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน) หากไม่ได้ฉีดเมื่ออายุ9เดือนให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด
1ปี LAJE1(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์)
1ปี6เดือน DTP4(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน)
OPV4(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
2ปี6เดือน LAJE2(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์)
MMR2(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน)
4ปี DTP5(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน)
OPV5(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
ประถมศึกษาปีที่1
MMR(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน)
เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ
HB(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี)
LAJE(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์)
IPV(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด)
dT(วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก)
OPV(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน)
BCG(วัคซีนป้องกันวัณโรค) 1.ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2.ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการของโรคเอดส
ประถมศึกษาปีที่5 HPV1และHPV2(วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี) ระยะห่างระหว่างเข็มห่างกันอย่างน้อย6เดือนแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย
ก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนหญิงชั้นป.5
ประถมศึกษาปีที่6 dT(วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก) แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนชั้นป.6
หมายเหตุ : 	 1. วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามก�ำหนดได้ก็เริ่มให้ทันทีที่พบครั้งแรก
		 2.วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า1 ครั้งหากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้วและไม่มารับครั้งต่อไปตามก�ำหนดนัดให้วัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็กโดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่1 ใหม่
หมายเหตุ : 	
	 -วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามก�ำหนดได้ให้เริ่มทันทีที่พบครั้งแรก
	 -วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า1 ครั้งหากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้วและไม่มารับครั้งต่อไปตามก�ำหนดนัดให้ฉีดวัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็กโดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่1 ใหม่
	 -วัคซีนวัณโรคจะไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอ็ชไอวีที่มีอาการของโรคเอดส
	 -วัคซีนHPVให้2เข็มห่างกันอย่างน้อย6เดือนแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนหญิงชั้นป.5
	 *หมายถึงเด็กที่คลอดจากแม่ที่เป็นพาหะของโรคตับอักเสบบีให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเพิ่มอีก1 เข็มเมื่อเด็กอายุ1 เดือน
กำ�หนดการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย ปี 2561
วัคซีน
อายุ แรกเกิด 1 เดือน 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 1 ปี 1 1/2 ปี 2 1/2 ปี 4 ปี ป. 1 ป. 5 ป. 6
วัณโรค
(BCG) BCG
ตรวจสอบ
การได้รับ
วัคซีนก่อน
วัยเรียน
และให้
เฉพาะราย
ที่ได้รับ
ไม่ครบ
ตามเกณฑ
ไวรัสตับอักเสบบี
(HBV) HBV1 HBV2*
DTwP
+HB1
DTwP
+HB2
DTwP
+HB3คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน
(DTwP)
DTwP
(กระตุ้น1)
DTwP
(กระตุ้น2)
dTและ
ทุก10ปี
โปลิโอ
(OPV) OPV1
OPV2
+IPV
(ชนิดฉีด)
OPV3 OPV
(กระตุ้น1)
OPV
(กระตุ้น2)
หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม
(MMR) MMR1 MMR2
ไข้สมองอักเสบเจอี
(LiveJE) LAJE1 LAJE2
มะเร็งปากมดลูก
(HPV)
HPV 1
HPV2
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก

More Related Content

What's hot

การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
dentyomaraj
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
Ballista Pg
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
Dbeat Dong
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
Ballista Pg
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
Ballista Pg
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
พรพจน์ แสงแก้ว
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
BowBow580146
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
Ballista Pg
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 

What's hot (20)

Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 

Similar to โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก

คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
Prachaya Sriswang
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
native
 
คางทูม
คางทูม คางทูม
คางทูม
Dbeat Dong
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
Nithimar Or
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
ไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้ายไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้าย
Patthanan Sornwichai
 

Similar to โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก (20)

Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
คางทูม
คางทูม คางทูม
คางทูม
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
อาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อนอาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อน
 
ไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้ายไวรัส วายร้าย
ไวรัส วายร้าย
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ

วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563Covid19Ranong3152563
ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
Librariean 2562
Librariean 2562Librariean 2562
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลากประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
Ab creative thinking
Ab creative thinkingAb creative thinking
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัยประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคารประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 

More from ยุทธกิจ สัตยาวุธ (20)

วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
วันงดดื่มสุราแห่งชาติ 2564
 
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน covid-19 (คำสั่งจังหวัดระนอง)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 2)
 
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
มาตรการป้องกัน covid-19 ในท้องที่จังหวัดระนอง (ฉบับที่ 1)
 
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
 
Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563Covid19Ranong3152563
Covid19Ranong3152563
 
Handfootmouth59
Handfootmouth59Handfootmouth59
Handfootmouth59
 
ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191ปชส.จากสายด่วน 191
ปชส.จากสายด่วน 191
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
รับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ
 
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
รับสมัครเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์
 
Librariean 2562
Librariean 2562Librariean 2562
Librariean 2562
 
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลากประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
ประกาศเลื่อนวันจับฉลาก
 
บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)บทคัดย่อ (แก้ไข)
บทคัดย่อ (แก้ไข)
 
Ab creative thinking
Ab creative thinkingAb creative thinking
Ab creative thinking
 
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.4/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.3/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิตรายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
รายชื่อ ป.2/2561ห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต
 
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัยประการรับสมัครครูปฐมวัย
ประการรับสมัครครูปฐมวัย
 
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่ธุรการ (การเงิน)
 
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคารประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
ประกาศขายทอดตลาดวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนอาคาร
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก

  • 2. โรคมือ เท้า ปาก(Hand Foot and Mouth Disease) พบมากในเด็กทารกและเด็กเล็ก มักเกิดในช่วงต้นฤดูฝนถึงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงธันวาคม สาเหตุ การติดต่อ อาการ อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์ การป้องกัน เกิดจากเชื้อกลุ่มเอนเทอโรไวรัส(Enterovirus) จากการสัมผัสโดยตรงกับน�้ำมูกน�้ำลายละอองจากการไอจามน�้ำเหลือง จากแผลพุพองหรืออุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้อมีระยะฟักตัว3-7วัน เริ่มจากมีไข้ต่อมาอีก1-2วันมีอาการเจ็บปากและเบื่ออาหารมีแผลอักเสบ ที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้มทั้งสองข้าง ต่อมาที่ผิวหนังจะมีผื่นเป็นจุดแดง อาจจะนูนหรือราบ ไม่มีอาการคัน ผื่นพบมากที่ฝ่ามือฝ่าเท้า ผื่นนี้จะ กลายเป็นตุ่มพองใสรอบๆแดงและแตกออกเป็นหลุมตื้นๆ -เด็กมีอาการซึมลงไม่เล่นไม่รับประทานอาหารหรือนม -บ่นปวดศีรษะมากปวดทนไม่ไหว -มีอาการพูดเพ้อไม่รู้เรื่องสลับกับการซึมลง -ปวดต้นคอคอแข็งมีการรับรู้สับสนและอาเจียน -มีอาการสะดุ้งผวาตัวสั่นๆอาจมีแขนหรือมือสั่นบ้าง -มีอาการไอหายใจเร็วดูเหนื่อยๆหน้าซีดมีเสมหะมากโดยอาจมีหรือไม่มีไข้ร่วมด้วยก็ได้ - หมั่นล้างมือเด็กด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการรับประทานอาหารหลังขับถ่ายและหลังจาก เล่นของเล่น - ก�ำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลดูแลรักษาและท�ำความสะอาดอาคารสถานที่เครื่องมือเครื่องใช้ และ ของเล่นต่างๆ - คัดกรองเด็กที่ป่วยแยกออกจากเด็กปกติหรือให้หยุดพักรักษาตัวที่บ้านประมาณ1สัปดาห หรือจนกว่าจะหายเป็นปกติเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อให้เด็กอื่นๆ อาจท�ำให้เสียชีวิต
  • 3. โรคมือ เท้า ปาก หยุดพักรักษาตัวที่บ้าน 1 สัปดาห์ หรือจนกว่าจะหาย ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน�้ำและสบู่ หมั่นท�ำความสะอาด สถานที่ ของใช้ ของเล่น
  • 4. โรคไข้หวัด(Commoncold) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจในเด็กที่พบบ่อยที่สุด โรคไข้หวัดใหญ่(influenza) มักมีอาการรุนแรงกว่าไข้หวัดธรรมดาและมีโอกาสเกิดอาการแทรกซ้อนได้มากกว่า สาเหตุ สาเหตุ อาการ การป้องกัน การติดต่อ อาการ อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์ เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิด เกิดจากเชื้อไวรัสอินฟลูเอนซา(influenzavirus) ไข้ต�่ำ คัดจมูก จาม น�้ำมูกไหล เจ็บคอ ไอแห้ง โดยอาการเหล่านี้จะเป็นมาก ใน1–2วันแรกและสามารถหายได้ภายใน1 สัปดาห 1.ออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอและพักผ่อนให้เพียงพอ 5.หมั่นล้างมือบ่อยๆด้วยน�้ำและสบู่ 2.หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ป่วยหรือสถานที่แออัด 6.หลีกเลี่ยงมลพิษควันบุหรี่ควันไฟในบ้านควันท่อไอเสียรถ 3.กินอาหารที่มีประโยชนผักและผลไม้ 7.เมื่อป่วยควรพักที่บ้านอย่างน้อย3–7วันหรือจนกว่าจะหาย เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารและวิตามินพอเพียง 8.เวลาไอหรือจามควรปิดปากปิดจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชู 4.ดูแลรักษาร่างกายให้อบอุ่นในช่วงอากาศหนาวเย็น ทุกครั้งหรือสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ หรืออากาศเปลี่ยนแปลง ให้กับผู้อื่น ทางตรง : การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ร่างกายจากการไอหรือจามรดกัน ทางอ้อม : การใช้ของร่วมกันหรือมือไปสัมผัสกับละอองน�้ำมูกน�้ำลายขยี้ตาหรือจมูก ไข้สูง 38 - 40 องศา เป็นเวลา 3-4 วัน หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไอ และมีเสมหะมากเจ็บคอคัดจมูกน�้ำมูกไหลอาจพบอาการคลื่นไส้อาเจียนและอุจจาระร่วงได้ -หายใจผิดปกติได้แก่หายใจเร็วหอบหายใจแรง จนชายโครงบุ๋มหายใจเสียงดัง -ไข้สูงเกิน3วัน -ไม่กินนมหรือน�้ำ -ซึมลงหรือกระสับกระส่าย -อาการป่วยมากขึ้นกว่าเดิม อาจท�ำให้เสียชีวิต
  • 6. โรคปอดบวมหรือปอดอักเสบ(Pneumonia) สาเหตุ การติดต่อ อาการ การป้องกัน เชื้อไวรัสแบคทีเรียและเชื้อรา การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย หรือสัมผัสสารคัดหลั่งทางตา จมูก และ การสูดหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศที่เป็นละอองฝอยเข้าสู่ปอดโดยตรง เริ่มจากมีไข้ต�่ำๆ ไอ มีน�้ำมูก คออักเสบ ต่อมาไข้สูง หอบเหนื่อย หายใจล�ำบากและมีเสียงหวีดหรือฮืด ซึมลง ตัวเขียว ไม่กินน�้ำ ไม่กินนม ซึ่งเป็นสัญญาณของอาการปอดบวมต้องรีบพาไปพบแพทย 1. ไม่ควรน�ำเด็กเล็กใกล้ชิดกับผู้ป่วยและอยู่ในที่มีผู้คนหนาแน่นเช่นศูนยการค้า โรงภาพยนตรโดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาดของไข้หวัด 2. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เช่น ควันบุหรี่ควันไฟควันจากท่อไอเสียรถยนตหรือ อากาศที่หนาวเย็น 3. ล้างมือให้เด็กบ่อยๆรวมถึงคนรอบข้าง 4. เมื่อมีเด็กป่วยในศูนยเด็กเล็กหรือโรงเรียนให้ผู้ปกครองรับเด็กกลับบ้าน หากไม่สามารถรับกลับบ้านได้ให้แยกเด็กและแยกเครื่องใช้ของเด็กป่วย ออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค 5. ให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันโรคปอดบวม
  • 7. หองพยาบาล โรคปอดบวมหรือปอดอักเสบ   หลีกเลี่ยงผู้ป่ วย สถานที่แออัด และมลพิษ สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน�้ำและสบู่ แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน จนกว่าจะหาย ฉีดวัคซีนป้องกันโรค ออกก�ำลังกาย กินอาหารที่มีประโยชน์
  • 8. เลี่ยง -เลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ป่วยหรือสถานที่คนหนาแน่น มาตรการ “ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด ฉีด” สำ�หรับการป้องกันโรคทางเดินหายใจ ปิด ล้าง หยุด ฉีด -ปิดปากปิดจมูกเมื่อไอหรือจาม -ล้างมือบ่อยๆด้วยน�้ำและสบู่ -หยุดงานหยุดเรียนหยุดกิจกรรมกับผู้อื่นพักรักษาตัวอยู่บ้านจนกว่าจะหาย 1) หญิงตั้งครรภอายุครรภ4เดือนขึ้นไป 2)เด็กอายุ6เดือนถึง2ปี 3)ผู้มีโรคเรื้อรังคือปอดอุดกั้นเรื้อรังหอบหืดหัวใจหลอดเลือดสมองไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบ�ำบัดและเบาหวาน 4)บุคคลที่มีอายุ65ปีขึ้นไป 5)ผู้มีน�้ำหนักตัวมากกว่า100กิโลกรัม 6)ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ 7)ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย 8)ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง(รวมผู้ติดเชื้อHIVที่มีอาการ)
  • 9. ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด ฉีด มาตรการ “ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด ฉีด” ส�ำหรับการป้องกัน โรคทางเดินหายใจ
  • 10. โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) มียุงลายเป็นพาหะน�ำโรค เกิดได้ตลอดปี พบมากช่วงฤดูฝน ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สาเหตุ อาการ อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์ การป้องกัน เกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกีซึ่งมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรคเมื่อถูกยุงที่มีเชื้อกัด เชื้อจะเข้าสู่ร่างกาย มีไข้สูงลอย(ให้ยาลดไข้แล้วไข้ไม่ลดถึงปกติหรือลดระยะสั้นแล้วกลับขึ้นอีก) ปวดศรีษะ หน้าแดง เบื่ออาหาร อาเจียน อาจพบมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามล�ำตัว แขน ขา อาจมีเลือดก�ำเดาหรือถ่ายอุจจาระด�ำ ตับโต กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา และมีภาวะช็อคช่วงไข้ลดมือเท้าเย็นชีพจรเบาเร็วท�ำให้เสียชีวิตได้ เพื่อป้องกัน3โรคคือโรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกาและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย 1. เก็บบ้านให้สะอาดโปร่งโล่งไม่ให้มีมุมอับทึบเป็นที่เกาะพักของยุง 2.เก็บขยะเศษภาชนะรอบบ้านโดยท�ำต่อเนื่องสัปดาหละครั้งไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุยุง 3.เก็บน�้ำส�ำรวจภาชนะใส่น�้ำต้องปิดฝาให้มิดชิดป้องกันยุงลายวางไข่ -ไข้ลดลงอาการซึมเหงื่อออก -ปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา -มือเท้าเย็นชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว -ปัสสาวะลดลง -หลีกเลี่ยงไม่ให้ยุงลายกัดเช่นนอนในมุ้งทายากันยุงเป็นต้น -ท�ำลายแหล่งเพาะพันธุและก�ำจัดลูกน�้ำในบริเวณที่มีน�้ำขังเช่นโอ่งแจกันยางรถยนตหรือ ภาชนะที่มีน�้ำขังทุกสัปดาหอย่างสม�่ำเสมอ -แยกเด็กป่วยขณะมีไข้ ไว้ในบริเวณที่ไม่มียุงลายและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด มาตรการ “3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค” อาจท�ำให้เสียชีวิต
  • 12. โรคอุจจาระร่วง (Diarrheal Diseases) สาเหตุ อาการ การป้องกัน มาตรการ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ” อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์ จากการติดเชื้อแบคทีเรียไวรัสและหนอนพยาธิในส�ำไส้โดยการกินอาหารและน�้ำที่ไม่สะอาดอาหารสุกๆดิบๆ ถ่ายเหลวตั้งแต่3ครั้งขึ้นไปหรือถ่ายมีมูกปนเลือดอย่างน้อย1 ครั้งอาจมีอาการปวดท้อง(อาเจียน)หรือเป็นไข้ร่วมด้วย ถ้าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มักพบผู้ป่วยมีอาการไข้สูงและอาเจียนใน3วันแรกและอุจจาระมักเป็นสีเหลือง -กินอาหารและดื่มน�้ำที่สะอาดอาหารร้อนๆปรุงสุกใหม่ -ท�ำความสะอาดภาชนะที่ใช้ในการกินและดื่มอย่างถูกวิธี -ล้างมือด้วยน�้ำและสบู่ทุกครั้งก่อน-หลังรับประทานอาหาร -แยกเด็กที่ป่วยแยกของเล่นของใช้และท�ำความสะอาดหลังขับถ่าย และหลังสัมผัสสิ่งปฏิกูลทันทีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ -เมื่อป่วยให้หยุดรักษาตัวที่บ้านจนกว่าจะหาย -ก�ำจัดอุจจาระอย่างถูกวิธี กินร้อน โดยใช้ความร้อนสูงอย่างน้อย70องศาเซลเซียสและไม่ปรุงแบบสุกๆดิบๆเก็บอาหารปรุงสุกอย่างเหมาะสม อาหารที่เหลือจากการกินถ้าเก็บไว้นานกว่า4ชั่วโมงต้องน�ำมาอุ่นให้ร้อนอย่างทั่วถึงก่อนน�ำมากินอีกครั้ง ช้อนกลาง ช่วยป้องกันโรคจากการติดต่อทางน�้ำลายไม่ให้แพร่กระจายระหว่างบุคคลได้นอกจากนี้ ยังช่วยป้องกันน�้ำลาย ของผู้กินไม่ให้ลงไปปนเปื้อนอาหารท�ำให้บูดเสียง่าย ล้างมือ ควรล้างมือให้สะอาดด้วยน�้ำและสบู่ทั้งก่อนรับประทานอาหารก่อนเตรียมอาหารและหลังเข้าห้องน�้ำทุกครั้ง เพื่อลดเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย -อาการไม่ดีขึ้นซึมลงและยังถ่ายปริมาณมากหรือมีมูก ปนเลือดมากขึ้น -ยังมีภาวะขาดน�้ำอยู่เช่น ปัสสาวะออกน้อยร้องไห้ เสียงแหบไม่มีน�้ำตา -ปากแห้ง ตาลึกโบ๋ ชีพจรเต้นเร็ว -มีไข้สูงตลอด ไข้ไม่ลง -อาเจียนมาก ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระเหลว จํานวน 3 ครั้ง ต่อวันหรือมากกว่า หรือถ่ายมีมูกหรือปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง หรือถ่ายเป็นนํ้าจํานวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน อาจท�ำให้เสียชีวิต
  • 14. โรคอีสุกอีใส (Chickenpox) เกิดขึ้นได้ตลอดปี มักระบาดในช่วงปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อน อาการผิดปกติที่ควรรีบไปพบแพทย์ การป้องกัน -มีไข้ขึ้นสูงหรือเป็นติดต่อนานกว่า4วัน -บริเวณผื่นกลายเป็นสีแดงเข้มขึ้น -ตุ่มนูนตามร่างกายมีน�้ำหนองไหลออกมา -ไออย่างรุนแรงปวดท้องรุนแรง -มีผื่นแดงเป็นจ�้ำๆและเลือดออก -ควรให้เด็กหยุดเรียนและแยกผู้ป่วยไม่ให้คลุกคลีกับผู้อื่นจนกว่าแผลจะแห้ง -แยกท�ำความสะอาดเสื้อผ้าและเครื่องใช้ของผู้ป่วยออกจากผู้อื่น -ห้ามใช้สิ่งของและภาชนะร่วมกับผู้ป่วย -ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสตามค�ำแนะน�ำแพทย สาเหตุ การติดต่อ เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร(Varicella-zostervirus) ทางตรง : การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ร่างกายจากการไอหรือจามรดกัน ทางอ้อม:การใช้ของร่วมกันหรือสัมผัสผื่นที่ผิวหนังหรือน�้ำเหลืองจากตุ่มน�้ำของผู้ป่วย อาการ มีไข้พร้อมผื่นในระยะแรกจะเป็นผื่นแดง ต่อมาผื่นเป็นตุ่มนูนขึ้นและกลายเป็น ตุ่มน�้ำพองใสตรงกลางผื่นจะขึ้นมากบริเวณล�ำตัวมากกว่าแขนขา ผื่นในกลุ่มเดียวกัน มีหลายระยะปนกันตุ่มที่เกิดขึ้นจะมีรอยบุ๋มตรงกลางแล้วค่อยๆแห้งไปในบางราย อาจมีแผลในปากร่วมด้วย อาจท�ำให้เสียชีวิต
  • 15. โรคอีสุกอีใส แยกท�ำความสะอาด เสื้อผ้าและเครื่องใช้ ของผู้ป่ วยจากผู้อื่น แยกเด็กป่ วย และให้หยุดพักที่บ้าน จนกว่าจะหาย ห้ามใช้สิ่งของและภาชนะ ร่วมกับผู้ป่ วย ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
  • 16. สาเหตุ การติดต่อ อาการ การป้องกัน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส -มือสัมผัสขี้ตาน�้ำตาของผู้ป่วยแล้วมาสัมผัสตาตัวเองหรือใช้ของส่วนตัว ร่วมกับผู้ป่วย -แมลงหวี่แมลงวันตอมสิ่งสกปรกหรือตาผู้ป่วยแล้วมาตอมตา -ลงเล่นในน�้ำที่มีความสกปรกสูง ตาแดง เคืองตา แสบตา น�้ำตาไหล ปวดตา ตามัว จะเป็นที่ข้างใด ข้างหนึ่งก่อน และลามไปเป็นสองข้างอย่างรวดเร็วภายใน1-2วัน -หมั่นล้างมือด้วยสบู่ให้สะอาด -ไม่เอามือขยี้ตา -ไม่คลุกคลีกับคนที่เป็นโรคไม่ใช้สิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัวร่วมกันเช่นผ้าเช็ดหน้า -หากมีเด็กป่วยเป็นโรคตาแดงควรให้หยุดเรียนและงดลงสระว่ายน�้ำ โรคตาแดงหรือเยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis) ตาแดงเป็นการอักเสบของเยื่อบุตา เกิดได้ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
  • 18. ไข้อีดำ�อีแดง (Scarlet fever) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ที่ท�ำให้มีผื่นแดงขึ้นตามตัว ร่วมกับทอนซิลอักเสบ พบบ่อยในเด็ก และมักเกิดในช่วงฤดูฝน สาเหตุ การติดต่อ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสชนิดเอ(StreptococcusGroupA) การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยหรือหายใจเอาละอองฝอยที่ติดเชื้อ เข้าทางระบบทางเดินหายใจ อาการ มีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ใบหน้าแดง แต่รอบปากซีด ลิ้นเป็นปื้นขาว เมื่อปื้นขาว ลอกออกจะบวมแดงคล้ายลูกสตรอเบอรรี่ ต่อมามีผื่นละเอียดสีแดง สัมผัสคล้าย กระดาษทราย พบผื่นบริเวณล�ำคอ รักแร้ หน้าอกช่วงบน และตามล�ำตัว แขน ขา มักเห็นชัดเจนบริเวณข้อพับ หลังมีผื่น 2-3 วัน ผื่นจะเริ่มลอกโดยเฉพาะบริเวณ ปลายนิ้วปลายเท้าบางรายอาจมีต่อมน�้ำเหลืองที่คอบวมโตกดเจ็บ การป้องกัน -ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอพักผ่อนให้เพียงพอและออกก�ำลังกาย -หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยและไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย -ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วยหรือของใช้ของผู้ป่วย -ไม่ขยี้ตาแคะจมูกหรือปาก -แยกเด็กป่วยออกจากเด็กปกติทันทีหรือแจ้งให้ผู้ปกครองมารับเด็กกลับบ้าน เพื่อพาเด็กไปพบแพทย
  • 20. โรคหัด (Measles) สาเหตุ การติดต่อ เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มพารามิคโซไวรัส(Paramyxovirus) จากการหายใจเอาเชื้อไวรัสในฝอยละอองน�้ำมูก น�้ำลาย ที่ฟุ้งกระจายในอากาศ จากการไอจามรดกันหรือพูดกันในระยะใกล้ชิด อาการ ไข้สูงถึง40องศาเซลเซียสน�้ำมูกไหลไอตาแดงตาแฉะและกลัวแสงมีผื่นแดง ขึ้นตามร่างกายใบหน้าล�ำคอบริเวณชิดขอบผมแล้วแผ่กระจายไปตามล�ำตัวแขนขา ภายใน 3 วัน ลักษณะผื่นนูนแดง ติดกันเป็นปื้นๆ ก่อนผื่นขึ้นมักพบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงอยู่ในกระพุ้งแก้ม(KoplikSpots) การป้องกัน -ฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด2ครั้งครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ9-12เดือน ครั้งที่2เมื่อเด็กอายุ2ปีครึ่งหรือสามารถฉีดวัคซีนก่อนสัมผัสโรคไม่เกิน3วัน -หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย -แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคหัดจนถึงผื่นขึ้นครบ4วัน เป็นโรคไข้ออกผื่น มักพบในเด็กอายุเกิน 5 ปี เด็กที่เป็นโรคหัดอาจเกิดโรคแทรกซ้อน โดยเฉพาะโรคปอดบวมหรือโรคปอดอักเสบ และท�ำให้เสียชีวิตได้
  • 21. หองพยาบาล โรคหัด ฉีดวัคซีน ไข้สูง จุดขาวๆ เล็กๆ ในกระพุ้งแก้ม (Koplik Spots) ผื่นแดงตามใบหน้า ล�ำคอ และบริเวณชิดขอบผม หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่ วย แยกผู้ป่ วย
  • 22. การล้างมือ 2 ก่อน : ก่อนปรุงอาหาร ก่อนกินอาหาร 5 หลัง : หลังเข้าห้องน�้ำ หลังจับสัตวเลี้ยง หลังสัมผัสสิ่งสกปรก หลังไอ-จาม หลังกลับจากโรงพยาบาล ขั้นตอนการล้างมือที่ดี7ขั้นตอน 1.ฝ่ามือถูฝ่ามือ 2.ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 3.ฝ่ามือถูฝ่ามือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4.ใช้หลังมือถูฝ่ามือ 5.ถูนิ้วหัวแม่มือ 6.ใช้ปลายนิ้วถูขวางมือ 7.ถูรอบข้อมือ การล้างมือด้วยน�้ำและสบู่ที่ถูกวิธี จะสามารถลดการติดเชื้อได้ถึง 90%
  • 23. การล้างมือ 7 ขั้นตอน 1. ฝ่ามือถูฝ่ามือ 5.ถูนิ้วหัวแม่มือ 6.ใช้ปลายนิ้วถูขวางมือ 7.ถูรอบข้อมือ 2.ฝ่ามือถูหลังมือ และนิ้วถูซอกนิ้ว 3.ฝ่ามือถูฝ่ามือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4.ใช้หลังมือถูฝ่ามือ
  • 24. การใช้หน้ากากอนามัย 1. ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมใส่หน้ากาก 2.เอาด้านสีเข้มออกด้านนอกขอบลวดอยู่ด้านบนสันจมูกสวมให้คลุมจมูกกับปากและดึงให้คลุม ถึงปลายคางแล้วกดขอบลวดให้พอดีกับจมูก 3.เวลาใส่หน้ากากห้ามน�ำมือไปสัมผัสด้านนอกของหน้ากากเพราะอาจสัมผัสกับเชื้อโรคที่ติดอยู่ได้ 4.หน้ากากที่ท�ำด้วยกระดาษควรเปลี่ยนและทิ้งในถังขยะที่มีฝาปิด 5.หากหน้ากากมีการปนเปื้อนหรือช�ำรุดควรเปลี่ยนใหม่ 6.ล้างมือหลังถอดหน้ากากทุกครั้ง ประโยชน์จากการใช้หน้ากากอนามัย ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไปสู่ผู้อื่น
  • 26. กำ�หนดการให้วัคซีนแก่เด็ก ตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข อายุ วัคซีนป้องกันโรค ข้อแนะน�ำ แรกเกิด BCG(วัคซีนป้องกันวัณโรค) ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล HB1(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี) ควรให้เร็วที่สุดภายใน24ชั่วโมงหลังคลอด 1เดือน HB2(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี) เฉพาะรายที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี 2เดือน DTP-HB1(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี) OPV1(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) 4เดือน DTP-HB2(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี) ให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด1เข็มพร้อมกับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน1ครั้งOPV2(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) IPV1(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด) 6เดือน DTP-HB3(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี) OPV3(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) 9เดือน MMR1(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน) หากไม่ได้ฉีดเมื่ออายุ9เดือนให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด 1ปี LAJE1(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์) 1ปี6เดือน DTP4(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน) OPV4(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) 2ปี6เดือน LAJE2(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์) MMR2(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน) 4ปี DTP5(วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน) OPV5(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) ประถมศึกษาปีที่1 MMR(วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน) เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ HB(วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี) LAJE(วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์) IPV(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด) dT(วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก) OPV(วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) BCG(วัคซีนป้องกันวัณโรค) 1.ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2.ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการของโรคเอดส ประถมศึกษาปีที่5 HPV1และHPV2(วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี) ระยะห่างระหว่างเข็มห่างกันอย่างน้อย6เดือนแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย ก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนหญิงชั้นป.5 ประถมศึกษาปีที่6 dT(วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก) แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนชั้นป.6 หมายเหตุ : 1. วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามก�ำหนดได้ก็เริ่มให้ทันทีที่พบครั้งแรก 2.วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า1 ครั้งหากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้วและไม่มารับครั้งต่อไปตามก�ำหนดนัดให้วัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็กโดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่1 ใหม่
  • 27. หมายเหตุ : -วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มให้ตามก�ำหนดได้ให้เริ่มทันทีที่พบครั้งแรก -วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า1 ครั้งหากเด็กเคยได้รับวัคซีนมาบ้างแล้วและไม่มารับครั้งต่อไปตามก�ำหนดนัดให้ฉีดวัคซีนครั้งต่อไปนั้นได้ทันทีเมื่อพบเด็กโดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่1 ใหม่ -วัคซีนวัณโรคจะไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอ็ชไอวีที่มีอาการของโรคเอดส -วัคซีนHPVให้2เข็มห่างกันอย่างน้อย6เดือนแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยก�ำหนดให้ฉีดเด็กนักเรียนหญิงชั้นป.5 *หมายถึงเด็กที่คลอดจากแม่ที่เป็นพาหะของโรคตับอักเสบบีให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเพิ่มอีก1 เข็มเมื่อเด็กอายุ1 เดือน กำ�หนดการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย ปี 2561 วัคซีน อายุ แรกเกิด 1 เดือน 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 1 ปี 1 1/2 ปี 2 1/2 ปี 4 ปี ป. 1 ป. 5 ป. 6 วัณโรค (BCG) BCG ตรวจสอบ การได้รับ วัคซีนก่อน วัยเรียน และให้ เฉพาะราย ที่ได้รับ ไม่ครบ ตามเกณฑ ไวรัสตับอักเสบบี (HBV) HBV1 HBV2* DTwP +HB1 DTwP +HB2 DTwP +HB3คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP) DTwP (กระตุ้น1) DTwP (กระตุ้น2) dTและ ทุก10ปี โปลิโอ (OPV) OPV1 OPV2 +IPV (ชนิดฉีด) OPV3 OPV (กระตุ้น1) OPV (กระตุ้น2) หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม (MMR) MMR1 MMR2 ไข้สมองอักเสบเจอี (LiveJE) LAJE1 LAJE2 มะเร็งปากมดลูก (HPV) HPV 1 HPV2