SlideShare a Scribd company logo
การจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ โรค
     ติด ต่อ นำา โดยแมลง
 จัด แบ่ง พื้น ที่ คัด เลือ กพื้น ที่

              นายพิษ ณุว ัฒ น์ พานารถ
    นัก วิช าการสาธารณสุข ชำา นาญการพิเ ศษ
             งานตอบโต้ภ าวะฉุก เฉิน ฯ

กลุ่ม ปฏิบ ัต ิก ารควบคุม โรคและตอบโต้
 ภาวะฉุก เฉิน ทางด้า นสาธารณสุข
กระบวนการจัด การยุง
               พาหะนำา โรค
             (Implementation
                 Process)
• จัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ของโรค
  ติด ต่อ ที่น ำา โดยยุง
• จัด แบ่ง พื้น ที่เ สีย งต่อ โรคติด ต่อ ที่
                       ่
  นำา โดยยุง
• คัด เลือ กพื้น ที่ท ี่จ ะดำา เนิน การ
  จัด การยุง พาหะนำา โรค
โรคติด ต่อ นำา โดยยุง ที่
สำา คัญ
       • โรคไข้เ ลือ ด
         ออก
       • โรคไข้ป วดข้อ
         ยุง ลาย
       • โรคไข้
         มาลาเรีย
โรคไข้เ ลือ ดออก
   โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะ
 นำาโรค ยุงลายจะได้รับเชื้อไวรัสจากผู้ทป่วยเป็นโรค
                                             ี่
             ไข้เลือดออกและแพร่ไปสู่คนอืนๆ ่
     โรคไข้เลือดออกทีพบในประเทศไทยและประเทศ
                        ่
ใกล้เคียงในเอเซียอาคเนย์เกิดจากไวรัสเดงกี่ จึงเรียก
    ชื่อว่า Dengue Haemorrhagic Fever (DHF)
    ไวรัส เดงกี เชื้อไวรัสเดงกีเป็น RNA virus จัดอยู่
ใน Family Flaviviridae มี 4 serotypes, DEN 1-4
ถ้ามีการติดเชื้อชนิดใดชนิดหนึงแล้วจะมีภูมคุ้มกันต่อ
                                   ่            ิ
ชนิดนันไปตลอดชีวิต (permanent immunity) แต่จะ
          ้
มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเดงกี่ชนิดอื่นๆอีก 3 ชนิดได้ในช่วง
 สั้นๆ (partial immunity) ประมาณ 6-12 เดือน หลัง
การติด ต่อ : ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำาโรคที่สำาคัญ


•โรคไข้
เลือ ดออก
อาการทางคลิน ก ของโรคไข้เ ลือ ดออก
                  ิ
หลัง จากได้ร ับ เชื้อ จากยุง ประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟัก ตัว ) จะเริ่ม มีอ าการ

1.ไข้ส ูง ลอย 2-7 วัน อาจสูง 40-41 C บางรายอาจ
ชัก ได้
2. มีอ าการเลือ ดออก ส่ว นใหญ่จ ะพบทีผ ิว หนัง พบ่
บ่อ ยทีส ด คือ ทีผ ิว หนัง อาจมีเ ลือ ดกำา เดา
        ่ ุ       ่                                    หรือ
เลือ ดออกตามไรฟัน
3. มีต ับ โต กดเจ็บ
4. มีภ าวะการไหลเวีย นล้ม เหลว /ภาวะช็อ ก หากว่า ผู้
ป่ว ยได้นใหญ่ผ ู้ป ่ว ยจะไม่มอาการนำ้างทัไหล ว งทีอาการไอ ต้อ ง
      ส่ว ร ับ การรัก ษาช็ อ กอย่า มูก น ท่ หรือ แ ละถูก
                             ี

ส่ว นใหญ่ก ็จ ะฟื้น ตัว ได้อ ย่า งรวดเร็ว
การวิน จ ฉัย อาศัย อาการทางคลิน ิก ร่ว มกับ ผล
         ิ
  รู้ได้อย่การตรวจทางโลหิต วิท ยา
             างไรว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ?
   1. ไข้ส ง เฉีย บพลัน และสูง ลอย 2 - 7 วัน
             ู
 2. อาการเลือ ดออกอย่า งน้อ ย tourniquet
 test ให้ผ ลบวกร่ว มกับ อาการเลือ ดออกอื่น
    3. ปริม าณเกล็ด เลือ ด 100,000 เซลล์ /
 ลบ.มม. หรือ นับ จำา นวนเกล็ด เลือ ดใน 10 oil
           field ค่า เฉลี่ย 3 per oil fied
4. ความเข็ม ข้น ของเม็ด เลือ ดแดง (Hct) เพิ่ม
 ขึ้น เท่า กับ หรือ มากกว่า 20 % เมือ เทีย บกับ
                                        ่
                       Hct เดิม
        การส่ง ตัว อย่า งนำ้า เหลือ ง (Serology)
เพื่อ ตรวจยืน ยัน โรค DHF ควรส่ง เมือ ผูป ว ยมี
                                          ่ ้ ่
 อาการ รวมทั้ง ผลการตรวจโลหิต วิท ยาไม่
การดูแลรักษาผู้ปวย มีหลักปฏิบติดงนี้
                  ่            ั ั

1. ในระยะไข้ส ง ให้ย าลดไข้ ควรใช้ย าพวก
                    ู
 พาราเซตามอล ห้า มใช้ย าพวกแอสไพริน
 เพราะจะทำา ให้เ กร็ด เลือ ดเสีย การทำา งาน
2. ให้ผ ู้ป ว ยได้น ำ้า ชดเชย เเพราะผูป ว ยส่า ย
 จะระคายกระเพาะทำา ให้ ลือ ดออกได้ง ่ ว น
            ่                         ้ ่
ใหญ่ม ีไ ข้ส ง เบือ อาหาร ตัว ช่ว ยลดไข้ด ้ว ย
  ขึ้น ควรจะใช้่ ก ารเช็ด และอาเจีย น ทำา ให้
               ู
 ขาดนำ้า และเกลือ โซเดีย มด้ว ย ควรให้ผ ู้
ป่ว ยดื่ม นำ้า ผลไม้ห รือ สารละลายผงนำ้า ตาล
เกลือ แร่ (โอ อาร์ เอส) ในรายที่อ าเจีย นให้
 3. จะต้อ งติด ตามดูอ าการผูป่ม บ่อ ยๆ งใกล้
        ดื่ม ครั้ง ละน้อ ยๆ และดื ว ยอย่า
                                  ้ ่
  ชิด เพื่อ จะได้ต รวจพบและป้อ งกัน ภาวะ
                  ช็อ กได้ท ัน เวลา
การรัก ษาโรคไข้เ ลือ ดออกเป็น แบบการรัก ษา
        ตามอาการและประคับ ประคอง
โรคปวดข้อ ยุง ลาย (ชิค ุน กุน ยา)

• ชื่อ โรคชิค ุน กุน ยา เป็น ภาษา Makonde (ภาษา
  ถิ่น ในอาฟริก า)
• “ that which bends up” แปลว่า เจ็บ จนตัว โก่ง งอ
• ระบาดครั้ง แรกในประเทศแทนซาเนีย ในปี 2496
• พบการระบาดครั้ง แรกในไทย พ .ศ.2501




ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สถานการณ์โรคในต่างประเทศ

  เกิด การระบาดใหญ่ข องโรคไข้ป วด
 ข้อ ยุง ลายที่ห มู่เ กาะทางตอนใต้ข อง
 มหาสมุท รอิน เดีย ในปีพ .ศ.2548 –
2549 และกระจายไปยัง ประเทศอืน ๆ     ่
 และในช่ว งเวลาเดีย วกัน ก็เ กิด การ
 ระบาดของโรคในทวีป เอเชีย ดัง นี้
    •ประเทศอิน เดีย พบผู้ป ว ยทั้ง สิน
                              ่       ้
               1,427,683 ราย
 •ประเทศศรีล ัก กา มีร ายงานผู้ป ่ว ยทั้ง
             สิ้น 37,667 ราย
  •ประเทศมาเลเซีย พบผู้ป ว ย 1,975
                                ่
1,400,000




266000
Chikungunya Infection ในประเทศไทย

•    พ.ศ.    2501
            ระบาดครั้ง แรก ตรวจพบที่ก รุง เทพมหานคร
•    พ.ศ.    2519
            จัง หวัด ปราจีน บุร ี
•    พ.ศ.    2531
            จัง หวัด สุร ิน ทร์
•    พ.ศ.    2534
            จัง หวัด ขอนแก่น (96)
•    พ.ศ.    2536
            จัง หวัด เลย และจัง หวัด พะเยา
•    พ.ศ.    2538
            จัง หวัด นครศรีธ รรมราช (576)
            และจัง หวัด หนองคาย (331)
• พ.ศ. 2551 จัง หวัด นราธิว าสและปัต ตานี

    การระบาดในปี 2505-2538 เป็น เชื้อ ไวรัส ใน Asian strain
                       (AFRIMS)

ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สถานการณ์โ รคไข้ป วดข้อ ยุง ลายใน
                  ประเทศไทย
       (ข้อมูลตั้งแต่1ม.ค.53 - 27 เม.ย.53)
• จำา นวนผู้ป ่ว ย 851 ราย
• พบผู้ป ่ว ยใน 25 จัง หวัด จำา แนกเป็น
- ภาคใต้ 13 จัง หวัด
- ภาคกลาง 7 จัง หวัด
- ภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ 3 จัง หวัด
- ภาคเหนือ 2 จัง หวัด
• อัต ราป่ว ย 1.34 ต่อ ประชากรแสนคน
• ไม่พ บผู้เ สีย ชีว ิต
จัง หวัด ที่ม ีอ ัต ราป่ว ยมากที่ส ุด : พัท ลุง
นครศรีธ รรมราช สุร าษฏร์ธ านี

                   ที่ม า : สำา นัก ระบาด
                   วิท ยา
สาเหตุ
เกิด จากเชื้อ ไวรัส ชิค ุน กุน ยา
(Chikungunya virus) ซึ่ง เป็น RNA
Virus จัด อยูใ น genus alphavirus
              ่
และ family Togaviridae มีย ง ลาย  ุ
Aedes aegypti, Ae.albopictus เป็น
พาหะนำา โรค



          ภาพจาก:สำานักโรคติดต่อนำาโดยแมลง
วิธีการติดต่อ
        โรคไข้ป วดข้อ ยุง ลาย เป็น โรค
ติด ต่อ นำา โดยแมลง มีย ุง ลายเป็น พาหะ
แพร่เ ชื้อ ได้แ ก่ย ง ลาย Aedes aegypti
                    ุ
   (ยุง ลายบ้า น) และยุง ลาย Aedes
 albopictus (ยุง ลายสวน) เมื่อ ยุง ลาย
 ตัว เมีย กัด และดูด เลือ ดผู้ป ่ว ยที่อ ยูใ น
                                           ่
ระยะไข้ส ูง ซึ่ง เป็น ระยะที่ม ีไ วรัส อยูใ น่
     กระแสเลือ ด เชื้อ ไวรัส จะเข้า สู่
 กระเพาะยุง และเพิม จำา นวนมากขึน
                        ่                      ้
แล้ว เดิน ทางเข้า สูต ่อ มนำ้า ลาย เมื่อ ยุง ที่
                      ่
ระยะฟัก ตัว ของโรค
                     ประมาณ 3 - 12 วัน
                    แต่ท พ บบ่อ ยคือ 2 - 4 วัน
                         ี่

                  ระยะติด ต่อ ของโรค
ประมาณ 4 - 7 วัน ผู้ป ่ว ยจะมีเ ชื้อ ไวรัส อยูใ นกระแส
                                              ่
 เลือ ด ตัง แต่เ ริ่ม แสดงอาการ จึง ต้อ งระวัง อย่า ให้ผ ู้
          ้
 ป่ว ยถูก ยุง กัด โดยเฉพาะในช่ว ง 4 - 7 วัน หลัง เริ่ม
                        แสดงอาการ

ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
อาการของ
 ผู้ป ว ย
      ่
มีไ ข้ส ง ร่ว มกับ อาการ ดัง นี้ 
        ู
  • ปวดข้อ หรือ ข้อ บวม หรือ ข้อ อัก เสบ
  (Arthralgia or Joint swelling or
  Arthritis)
  • มีผ น (Maculopapular rash)
              ื่
  • ปวดกล้า มเนื้อ (Myalgia)
  • ปวดศีร ษะ (Headache)
  • ปวดกระบอกตา ( Peri-orbital pain)
  • และอาการอื่น ๆ เช่น คลื่น ไส้ อาเจีย น
ภาพจาก อ นเพลีย อุเบืหม่อาหาร เป็น ต้น
    อ่ : สำานักโรคติดต่อ บัติใ อ
                               ่
ร้อยละของอาการและอาการแสดงต่างๆที่พบในผู้ป่วย
                                   ที่มา:สำานักระบาดวิทยา
ผื่น แดงตาม
             ร่า งกาย




ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผื่น และอาการ
         ข้อ อัก เสบ




ภาพจาก :นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงษ์ จาก สสจ.นราธิวาส
การรักษา
    ไม่มการรักษาที่จำาเพาะเจาะจง
        ี
          (specific treatment)
 – การรัักษาเป็นการรักษาแบบประคับประคอง
  (supportive treatment) เช่น ให้ยาลดอาการ
   ไข้ ลดอาการปวดข้อ เช็ดตัวลดไข้และพัก
                ผ่อนให้เพียงพอ
     - ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้ไปพบแพทย์
- โรคนี้สวนใหญ่ไม่รุนแรงถึงชีวิตจะหายได้เอง
         ่
• ประชาชนทีเ ดิน ทางเคลื่อ นย้า ยเข้า /ออก
           ่
  ในพืน ทีร ะบาด
        ้ ่
• ทหาร / ตำา รวจ ทีป ฏิบ ัต ิง านในจัง หวัด ทีม ก าร
                   ่                          ่ ี
  ระบาดต่อ เนือ ง่
• นัก ศึก ษา โดยเฉพาะนัก เรีย น นัก ศึก ษา และ
  นัก ศึก ษาพยาบาลทีม ภ ม ล ำา เนาในจัง หวัด ทีม ก าร
                     ่ ี ู ิ                      ่ ี
  ระบาด
• ประชาชนทีใ ช้แ รงงาน (รับ จ้า งกรีด ยาง)
               ่



ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โรคไข้ม าลาเรีย
       โรคมาลาเรีย เกิด จากเชื้อ พวกสปอ
 โรซัว มีช อ เรีย กหลายชื่อ คือ ไข้จ ับ สัน
              ื่                            ่
ไข้ป า ไข้ห ัว ลม ไข้ด อกสัก พบทั่ว ไปใน
     ่
 บริเ วณป่า เทือ กเขามีล ำา ธาร หรือ อาจ
เป็น นำ้า เค็ม นำ้า กร่อ ย ป่า ชายทะเลที่ม ีย ง
                                              ุ
    ก้น ปล่อ งตัว เมีย เป็น พาหะนำา เชื้อ
มาลาเรีย เป็น โรคของประเทศแถบร้อ น
และชิด เขตร้อ น องค์ก ารอนามัย โลกได้
จัด ให้เ ป็น โรคที่ส ำา คัญ โรคหนึ่ง ของโรค
แหล่งแพร่กระจาย
ชนิดของเชือไข้มาลาเรียและยุงพาหะ
            ้

  1. Plasmodium falciparum พบทุก ภาค
   ของประเทศไทย พบถึง ร้อ ยละ 60 ของผู้
  ป่ว ย เป็น ชนิด ที่ท ำา ให้เ กิด อาการรุน แรงมาก
  ที่ส ด ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย ชนิด จับ ไข้ว ัน
       ุ
2. Plasmodium vivax พบร้อ ยละ 35 ของผู้
                         เว้น วัน
 ป่ว ย เชือ ชนิด นีม ีร ะยะก่อ นเข้า เม็ด เลือ ดแดง
          ้          ้
 ตกค้า งในตับ ทำา ให้เ กิด ระยะฮิพ โนซอยต์ไ ด้
   ทำา ให้เ กิด ไข้ก ลับ ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย
3. Plasmodium จับ ไข้ว ัน เว้น วัน อ ยละ 0.5
                ชนิด   malariae พบร้
    ของผูป ว ย พบในบางพื้น ที่ข องไทยเช่น
            ้ ่
 เชีย งราย แม่ฮ อ งสอนและตาก ไม่ม ีร ะยะฮิพ
                   ่
 โนซอยต์ ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย ชนิด จับ ไข้
ชนิด ของเชื้อ ไข้ม าลาเรีย และ
       ยุง พาหะ (ต่อ )
4. Plasmodium ovale เพิ่ง มีร ายงานว่า พบ
   ในประเทศไทยเพีย ง 7 รายจากจัง หวัด
 สระบุร ี ลพบุร ี จัน ทบุร ีแ ละเชีย งใหม่ มีร ะยะ
  ฮิพ โนซอยต์เ ช่น เดีย วกัน ก่อ โรคมาลาเรีย
    โรคมาลาเรีย มียจัก้น ปล่วงตัเว้น เป็นวัน
           ชนิด ุง บ ไข้อ ัน ว เมีย 2 พาหะนำา โรค ยุง
  ก้น ปล่อ งมีห ลายชนิด แต่ล ะพื้น ที่อ าจมีย ุง ก้น ปล่อ งที่เ ป็น
     พาหะหลัก แตกต่า งกัน สำา หรับ ในประเทศไทยมีย ุง
                 ก้น ปล่อ งที่เ ป็น พาหะหลัก ดัง นี้
                      1.Anopheles minimus

                        2.Anopheles dirus

                     3.Anopheles maculatus

                     4.Anopheles sundaicus
วัฏ จัก รชีว ิต
อาการ
 ขึน อยูก ับ ชนิด ของเชื้อ ที่เ ป็น สาเหตุ อาจแบ่ง อาการออกได้โ ดยสรุป ดัง นี้
   ้    ่


  1. ระยะฟัก ตัว หากเป็น P.falciparum
เฉลี่ย 12 วัน P.vivax เฉลี่ย 14 วัน
P.malariae เฉลี่ยส บาย วัน P.ovale ไม่
  2. อาการนำา ไม่ 30 ปวดศีร ษะ แขน
แน่นลำา ตัว ครั่น เนื้อ ครั่น ตัว คลื่น ไส้ เบือ
 ขา   อน                                       ่
อาหาร ต่อ มาจะจับ ไข้ 2-3 วัน แรกอาการ
   ยัง ไม่แ น่น อน แต่ภ ายหลัง อาการจะเริ่ม
        2.1 ระยะหนาว เป็น ระยะที่ผ ู้ป ว ยจะ
                                        ่
   แน่น อน แบ่ง อาการออกเป็น 3 ระยะ
รู้ส ก หนาวมาก อาการดัง กล่า วอาจเกิด ได้
     ึ
       ตั้ง แต่ 15 - 60 นาที ตัว จะร้อ นมาก
อาการ (ต่อ)
       2.2 ระยะไข้ ใช้เ วลาประมาณ 2 ชัว โมง    ่
    ผูป ว ยมีไ ข้ส ง อุณ หภูม เ กิน 40 องศา หน้า
      ้ ่          ู          ิ
  แดง ปวดศีร ษะ คลืน ไส้ อาเจีย น กระหายนำ้า
                         ่
        2.3 ระยะเหงือ ออกใช้เ วลาประมาณ 1
                       ่
                     และมีอ าการเพ้อ
ชัว โมง ผูป ว ยจะเหงื่อ ออก อุณ หภูม ิจ ะเริ่ม ลด
  ่         ้ ่
     ลงสูร ะดับ ปกติ อาการต่า งๆจะหายไป
          ่
    3. ระยะเวลาจับ ไข้ แตกต่า งกัน ขึน อยู่ก ับ
                                           ้
ชนิด ของเชือ มาลาเรีย อาจเป็น วัน เว้น วัน หรือ
                ้
     วั4.เว้น 2 วัน แล้ลับ พบเฉพาะเชือ ด ใด
        น อาการไข้ก ว แต่ไ ด้ร ับ เชือ ชนิ ชนิด
                                      ้  ้
 P.vivax และ P.ovale เท่า นัน ที่ม ีร ะยะฮิพ โน
                                   ้
        ซอยต์ ทำา ให้ก ลับ มาเป็น ใหม่ไ ด้อ กี
การวิน ิจ ฉัย
      1. ดูจ ากอาการไข้ และระยะเวลาที่
  จับ ไข้แ ละลัก ษณะอื่น ประกอบเช่น ตา
เหลือ ง ซีด ม้า มโต รวมถึง การสืบ ประวัต ิ
  ว่า อยู่ใ นถิ่น ระบาดหรือ ไม่ แต่ต ้อ งทำา
   2. โดยการเจาะเลือ ดที่ป ลายนิ้ว หรือ
              ร่ว มไปกับ วิธ อ ื่น ด้ว ย
                             ี
 เจาะจากเลือ ดดำา นำา มาสเมีย ร์ห รือ ทำา
ฟิล ์ม เลือ ด และย้อ มฟิล ์ม เลือ ดเหล่า นี้ด ว ย
                                              ้
 สีย ิม ซา ซึ่ง ทำา ได้ 2 แบบคือ ฟิล ์ม เลือ ด
บางกับ ฟิล ์ม เลือ ดหนา ฟิล ์ม เลือ ดบางจะ
 เห็น ลัก ษณะเชื้อ มาลาเรีย ชัด เจน เห็น
การรัก ษา
   1. การรัก ษาตามอาการ เป็น การให้
รัก ษาไปตามแนวทางของอาการที่เ กิด
                  ขึ้น เป็น การรัก ษา
    2. การรัก ษาเฉพาะ
โดยการให้ย าฆ่า เชื้อ มาลาเรีย ปัจ จุบ ัน
 ยัง ไม่พ บว่า มีย าฆ่า เชื้อ มาลาเรีย เพีย ง
 ชนิด เดีย วที่ส ามารถนำา ไปใช้ไ ด้ด ก ับี
เชื้อ มาลาเรีย ทุก ชนิด และทุก ระยะของ
                    เชื้อ
โรคเท้า ช้า ง
   โรคเท้า ช้า ง หรือ โรคฟิล าเรีย เป็น กลุ่ม
  โรคติด ต่อ ที่น ำา โดยแมลง เกิด จากพยาธิต ัว
  กลมในวงศ์ Filarioidae ชนิด ที่ต ิด เชือ ใน
                                         ้
              คนมี 3 ชนิด ได้แ ก่




Wuchereria bancrofti          Brugia malayi                Brugia timori

ภาพจาก : http://maven.smith.edu/~sawlab/fgn/gifs/btimorimf.gif
การแพร่ก ระจายของโรคเท้า
                        ช้า ง
             โรคเท้าช้างพบได้ทั่วไปในบริเวณเขตร้อนชื้น และกึ่ง
     ร้อนชื้น บริเวณทวีปเอเชีย แอฟริกา มหาสมุทรแปซิฟก และบาง
                                                      ิ
     ส่วนของทวีปอเมริกา
             ประเทศทีพบโรคเท้าช้างมี 73 ประเทศ ประเทศที่พบผู้
                      ่
     ป่วยโรคเท้าช้างมากที่สุด คือ ประเทศอินเดีย

      ผู้ป่วยโรคเท้าช้าง

                                              = 10-50 %

                                              >        10 %


ภาพจาก :
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectious/elephantiasis/elephantiasis.htm
การแพร่กระจายของโรคเท้าช้าง (ต่อ)




ภาพจาก : http://maven.smith.edu/~sawlab/fgn/pnb/brugmal.html#bioandepid
การแพร่ก ระจายของโรคเท้า
           ช้า งในประเทศไทย
                โรคเท้า ช้า งใน
           ประเทศไทย
     เกิด จากพยาธิ      W. bancrofti และ B. malayi
    ไมโครฟิล าเรีย
ทศไทยมีก ารสำา รวจโรคเท้า ช้า งครั้ง แรกเมือ ปี พ .ศ .
                                           ่

               Dr. M.O.T. Iyengar และคณะ

ที่จ ัง หวัด สุร าษฎร์ธ านี นครศรีธ รรมราช พัท ลุง และ
       พยาธิช นิด ที่ส ำา รวจพบครั้ง แรก คือ
                   B. malayi
ชนิดและลักษณะทัวไปของยุงพาหะนำาพยาธิฟิลาเรีย
                    ่

          พยาธิต ัว กลมฟิล าเรีย ตัว แก่จ ะอยู่ใ นระบบนำ้า
   เหลือ ง จากนั้น จะปล่อ ยตัว อ่อ นเรีย กว่า ไมโครฟิล าเรีย
   ที่อ อกมาว่า ยในกระแสเลือ ด ในเวลากลางวัน พยาธิ
   ไมโครฟิล าเรีย จะไม่อ อกมาในกระแสเลือ ด แต่จ ะออก
   มาในตอนกลางคืน
ในการถ่า ยทอดเชื้อ พยาธิฟ ิล าเรีย จะมีย ุง บางชนิด เป็น พาหะ

ยุง ลายป่า ยุง รำา คาญ และยุง ก้น ปล่อ ง    W. bancrofti
          ยุง เสือ ยุง ลายป่า        B. malayi
วัฏจักรชีวตของพยาธิฟิลาเรีย
                     ิ




ภาพจาก : http://mylesson.swu.ac.th/mb322/wuchereria.htm
ลักษณะของโรคและอาการ
       ต่อ มนำ้า เหลือ งและท่อ ทางเดิน นำ้า เหลือ งอัก เสบ
 เกิด การอุด ตัน ของระบบทางเดิน นำ้า เหลือ ง เป็น ภาวะต่อ
เนื่อ งจากต่อ มนำ้า เหลือ ง หรือ ท่อ ทางเดิน นำ้า เหลือ งอัก เสบ
 จากการอุด ตัน ของระบบนำ้า เหลือ งดัง กล่า วจะก่อ ให้เ กิด
              สภาวะของรูป แบบต่า ง ๆ ได้แ ก่

                                 Hydrocele
                             Hydrocele

                            Chyluria

                        Elephantiasis


                                   ก


                                         ก
Chyluria
               Normal Urine                          Chyluria




                                ก                                     ข


ภาพจาก : http://nfstc.org/workshop/pdi/Subject02/pdi_s02_m02_11.htm
    http://www.ghettodriveby.com/chyluria/
Elephantiasis


                                                       ก                          ข




                     ค                                                                 จ
                                                    งง

ภาพจาก :
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectious/elephantiasis/elephantiasis.htm
ลักษณะอาการของผู้ปวยโรคเท้าช้าง
                    ่

       ผู้ป่วยไม่แสดงอาการ (70-80%) ผู้ป่วยจะไม่มี
 อาการปรากฏให้เห็น อาจจะพบหรือไม่พบไมโครฟิลา
                  เรียในกระแสเลือด
      ผู้ป่วยปรากฏอาการ (20-30%) ผู้ป่วยพวกนีอาจ
                                              ้
พบหรือไม่พบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือดก็ได้ แต่โดย
                    ทัวไปจะไม่พบ
                      ่

       อาการแสดง สามารถแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ
             อาการเฉียบพลัน
               อาการเรื้อรัง

            ลักษณะอาการอื่น ๆ
การวินจฉัยโรคผู้ป่วยโรคเท้าช้าง
               ิ
        1. การซัก ประวัต ิ
      2. การตรวจร่า งกาย
  3. การตรวจหาตัว พยาธิ มีว ิธ ี
            ต่า ง ๆ ดัง นี้
    3.1 ตรวจหาไมโครฟิล าเรีย ใน
กระแสเลือ ดโดยใช้ว ิธ ี Thick blood
film technique, Counting chamber,
Knott's concentration, Membrane
filtration
    3.2 ตรวจหา circulating filarial
antigen (CFA) ซึ่ง วิธ ใ ช้ม ีท ั้ง ELISA
                        ี
การรักษาผู้ป่วยโรคเท้าช้าง
      1. การรัก ษาด้ว ยยา
  Diethylcarbamazine citrate
             (DEC)

     2. รัก ษาด้ว ยการผ่า ตัด

3. การรัก ษาตามอาการ เช่น ให้ย า
     แก้ป วดหรือ ยาปฏิช ีว นะ
การจัดความสัมคัญของโรคติดต่อนำาโดยยุง
    - อัต ราป่ว ย ตำ่า             สูง
       - ความรุน แรงของโรค
                            อัต ราตาย
                           การเจ็บ ป่ว ย
                            ผลกระทบ
               ทางเศรษฐกิจ
                            สถานะการ
                    ดื้อ ยา
        ใช้ข ้อ มูล การวิเ คราะห์
      สถานการณ์โ รคติต อ นำา โดย
                              ่
- จัด พื้น ที่ต ามความเสี่ย งความ
การจัดแบ่งพื้นทีเสียงต่อล ะโรค อนำาโดยยุง
                ่ ่
              ของแต่    โรคติดต่
   - การแบ่ง พื้น ที่อ าจแบ่ง เป็น
         หมู่บ ้า นหรือ กลุ่ม บ้า น
  - กำา หนดมาตรการที่จ ะดำา เนิน
      การในแต่ล ะพื้น ที่ท ี่จ ัด แบ่ง

                การจัด แบ่ง พื้น ที่ ใช้
    ข้อ มูล วิเ คราะห์ส ถานการโรค
    และการวิเ คราะห์ส ถานการณ์
การคัดเลือกพืม ที่ที่จหมูเนินการจัดการ
  ครอบคลุ ้น ทุก ะดำา ่บ ้า นใน อปท
 สามารถคังพาหะนำาโรคย งบางกลุ่ม
            ยุ ด เลือ กเพี
       หรือ บางหมู่บ ้า นได้
- เกณฑ์ก ารคัด เลือ กพื้น ที่ ที่จ ะ
         ดำา เนิน การ IVM
               ชุม ชนตระหนัก ต่อ
  ปัญ หาโรคติด ต่อ นำา โดยแมลง
            ผู้น ำา ชุม ชนสนใจ และ
  ให้ค วามสำา คัญ กับ การจัด การ
      พาหะนำา โรคแบบ IVM
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง

More Related Content

What's hot

Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
Rachanont Hiranwong
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
Utai Sukviwatsirikul
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Sirinoot Jantharangkul
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
Rachanont Hiranwong
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
Ziwapohn Peecharoensap
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
Utai Sukviwatsirikul
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
Latthapol Winitmanokul
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
Ziwapohn Peecharoensap
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
Utai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
Rachanont Hiranwong
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1
Wichai Likitponrak
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD

What's hot (20)

Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
Adr skin
Adr skinAdr skin
Adr skin
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1N sdis 144_60_1
N sdis 144_60_1
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 

Similar to 2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง

นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
mewsanit
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
chalunthorn teeyamaneerat
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
viroonya vindubrahmanakul
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
4LIFEYES
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 

Similar to 2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง (20)

02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 

More from นายสามารถ เฮียงสุข

เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spนายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่นายสามารถ เฮียงสุข
 

More from นายสามารถ เฮียงสุข (10)

6วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 26วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้าเครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
 
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลงเครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
 
1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์
 

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง

  • 1. การจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ โรค ติด ต่อ นำา โดยแมลง จัด แบ่ง พื้น ที่ คัด เลือ กพื้น ที่ นายพิษ ณุว ัฒ น์ พานารถ นัก วิช าการสาธารณสุข ชำา นาญการพิเ ศษ งานตอบโต้ภ าวะฉุก เฉิน ฯ กลุ่ม ปฏิบ ัต ิก ารควบคุม โรคและตอบโต้ ภาวะฉุก เฉิน ทางด้า นสาธารณสุข
  • 2. กระบวนการจัด การยุง พาหะนำา โรค (Implementation Process) • จัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ของโรค ติด ต่อ ที่น ำา โดยยุง • จัด แบ่ง พื้น ที่เ สีย งต่อ โรคติด ต่อ ที่ ่ นำา โดยยุง • คัด เลือ กพื้น ที่ท ี่จ ะดำา เนิน การ จัด การยุง พาหะนำา โรค
  • 3. โรคติด ต่อ นำา โดยยุง ที่ สำา คัญ • โรคไข้เ ลือ ด ออก • โรคไข้ป วดข้อ ยุง ลาย • โรคไข้ มาลาเรีย
  • 4. โรคไข้เ ลือ ดออก โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะ นำาโรค ยุงลายจะได้รับเชื้อไวรัสจากผู้ทป่วยเป็นโรค ี่ ไข้เลือดออกและแพร่ไปสู่คนอืนๆ ่ โรคไข้เลือดออกทีพบในประเทศไทยและประเทศ ่ ใกล้เคียงในเอเซียอาคเนย์เกิดจากไวรัสเดงกี่ จึงเรียก ชื่อว่า Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) ไวรัส เดงกี เชื้อไวรัสเดงกีเป็น RNA virus จัดอยู่ ใน Family Flaviviridae มี 4 serotypes, DEN 1-4 ถ้ามีการติดเชื้อชนิดใดชนิดหนึงแล้วจะมีภูมคุ้มกันต่อ ่ ิ ชนิดนันไปตลอดชีวิต (permanent immunity) แต่จะ ้ มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเดงกี่ชนิดอื่นๆอีก 3 ชนิดได้ในช่วง สั้นๆ (partial immunity) ประมาณ 6-12 เดือน หลัง
  • 5. การติด ต่อ : ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำาโรคที่สำาคัญ •โรคไข้ เลือ ดออก
  • 6. อาการทางคลิน ก ของโรคไข้เ ลือ ดออก ิ หลัง จากได้ร ับ เชื้อ จากยุง ประมาณ 5-8 วัน (ระยะฟัก ตัว ) จะเริ่ม มีอ าการ 1.ไข้ส ูง ลอย 2-7 วัน อาจสูง 40-41 C บางรายอาจ ชัก ได้ 2. มีอ าการเลือ ดออก ส่ว นใหญ่จ ะพบทีผ ิว หนัง พบ่ บ่อ ยทีส ด คือ ทีผ ิว หนัง อาจมีเ ลือ ดกำา เดา ่ ุ ่ หรือ เลือ ดออกตามไรฟัน 3. มีต ับ โต กดเจ็บ 4. มีภ าวะการไหลเวีย นล้ม เหลว /ภาวะช็อ ก หากว่า ผู้ ป่ว ยได้นใหญ่ผ ู้ป ่ว ยจะไม่มอาการนำ้างทัไหล ว งทีอาการไอ ต้อ ง ส่ว ร ับ การรัก ษาช็ อ กอย่า มูก น ท่ หรือ แ ละถูก ี ส่ว นใหญ่ก ็จ ะฟื้น ตัว ได้อ ย่า งรวดเร็ว
  • 7. การวิน จ ฉัย อาศัย อาการทางคลิน ิก ร่ว มกับ ผล ิ รู้ได้อย่การตรวจทางโลหิต วิท ยา างไรว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ? 1. ไข้ส ง เฉีย บพลัน และสูง ลอย 2 - 7 วัน ู 2. อาการเลือ ดออกอย่า งน้อ ย tourniquet test ให้ผ ลบวกร่ว มกับ อาการเลือ ดออกอื่น 3. ปริม าณเกล็ด เลือ ด 100,000 เซลล์ / ลบ.มม. หรือ นับ จำา นวนเกล็ด เลือ ดใน 10 oil field ค่า เฉลี่ย 3 per oil fied 4. ความเข็ม ข้น ของเม็ด เลือ ดแดง (Hct) เพิ่ม ขึ้น เท่า กับ หรือ มากกว่า 20 % เมือ เทีย บกับ ่ Hct เดิม การส่ง ตัว อย่า งนำ้า เหลือ ง (Serology) เพื่อ ตรวจยืน ยัน โรค DHF ควรส่ง เมือ ผูป ว ยมี ่ ้ ่ อาการ รวมทั้ง ผลการตรวจโลหิต วิท ยาไม่
  • 8. การดูแลรักษาผู้ปวย มีหลักปฏิบติดงนี้ ่ ั ั 1. ในระยะไข้ส ง ให้ย าลดไข้ ควรใช้ย าพวก ู พาราเซตามอล ห้า มใช้ย าพวกแอสไพริน เพราะจะทำา ให้เ กร็ด เลือ ดเสีย การทำา งาน 2. ให้ผ ู้ป ว ยได้น ำ้า ชดเชย เเพราะผูป ว ยส่า ย จะระคายกระเพาะทำา ให้ ลือ ดออกได้ง ่ ว น ่ ้ ่ ใหญ่ม ีไ ข้ส ง เบือ อาหาร ตัว ช่ว ยลดไข้ด ้ว ย ขึ้น ควรจะใช้่ ก ารเช็ด และอาเจีย น ทำา ให้ ู ขาดนำ้า และเกลือ โซเดีย มด้ว ย ควรให้ผ ู้ ป่ว ยดื่ม นำ้า ผลไม้ห รือ สารละลายผงนำ้า ตาล เกลือ แร่ (โอ อาร์ เอส) ในรายที่อ าเจีย นให้ 3. จะต้อ งติด ตามดูอ าการผูป่ม บ่อ ยๆ งใกล้ ดื่ม ครั้ง ละน้อ ยๆ และดื ว ยอย่า ้ ่ ชิด เพื่อ จะได้ต รวจพบและป้อ งกัน ภาวะ ช็อ กได้ท ัน เวลา
  • 9. การรัก ษาโรคไข้เ ลือ ดออกเป็น แบบการรัก ษา ตามอาการและประคับ ประคอง
  • 10. โรคปวดข้อ ยุง ลาย (ชิค ุน กุน ยา) • ชื่อ โรคชิค ุน กุน ยา เป็น ภาษา Makonde (ภาษา ถิ่น ในอาฟริก า) • “ that which bends up” แปลว่า เจ็บ จนตัว โก่ง งอ • ระบาดครั้ง แรกในประเทศแทนซาเนีย ในปี 2496 • พบการระบาดครั้ง แรกในไทย พ .ศ.2501 ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • 11. สถานการณ์โรคในต่างประเทศ เกิด การระบาดใหญ่ข องโรคไข้ป วด ข้อ ยุง ลายที่ห มู่เ กาะทางตอนใต้ข อง มหาสมุท รอิน เดีย ในปีพ .ศ.2548 – 2549 และกระจายไปยัง ประเทศอืน ๆ ่ และในช่ว งเวลาเดีย วกัน ก็เ กิด การ ระบาดของโรคในทวีป เอเชีย ดัง นี้ •ประเทศอิน เดีย พบผู้ป ว ยทั้ง สิน ่ ้ 1,427,683 ราย •ประเทศศรีล ัก กา มีร ายงานผู้ป ่ว ยทั้ง สิ้น 37,667 ราย •ประเทศมาเลเซีย พบผู้ป ว ย 1,975 ่
  • 13. Chikungunya Infection ในประเทศไทย • พ.ศ. 2501 ระบาดครั้ง แรก ตรวจพบที่ก รุง เทพมหานคร • พ.ศ. 2519 จัง หวัด ปราจีน บุร ี • พ.ศ. 2531 จัง หวัด สุร ิน ทร์ • พ.ศ. 2534 จัง หวัด ขอนแก่น (96) • พ.ศ. 2536 จัง หวัด เลย และจัง หวัด พะเยา • พ.ศ. 2538 จัง หวัด นครศรีธ รรมราช (576) และจัง หวัด หนองคาย (331) • พ.ศ. 2551 จัง หวัด นราธิว าสและปัต ตานี การระบาดในปี 2505-2538 เป็น เชื้อ ไวรัส ใน Asian strain (AFRIMS) ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • 14. สถานการณ์โ รคไข้ป วดข้อ ยุง ลายใน ประเทศไทย (ข้อมูลตั้งแต่1ม.ค.53 - 27 เม.ย.53) • จำา นวนผู้ป ่ว ย 851 ราย • พบผู้ป ่ว ยใน 25 จัง หวัด จำา แนกเป็น - ภาคใต้ 13 จัง หวัด - ภาคกลาง 7 จัง หวัด - ภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ 3 จัง หวัด - ภาคเหนือ 2 จัง หวัด • อัต ราป่ว ย 1.34 ต่อ ประชากรแสนคน • ไม่พ บผู้เ สีย ชีว ิต จัง หวัด ที่ม ีอ ัต ราป่ว ยมากที่ส ุด : พัท ลุง นครศรีธ รรมราช สุร าษฏร์ธ านี ที่ม า : สำา นัก ระบาด วิท ยา
  • 15. สาเหตุ เกิด จากเชื้อ ไวรัส ชิค ุน กุน ยา (Chikungunya virus) ซึ่ง เป็น RNA Virus จัด อยูใ น genus alphavirus ่ และ family Togaviridae มีย ง ลาย ุ Aedes aegypti, Ae.albopictus เป็น พาหะนำา โรค ภาพจาก:สำานักโรคติดต่อนำาโดยแมลง
  • 16. วิธีการติดต่อ โรคไข้ป วดข้อ ยุง ลาย เป็น โรค ติด ต่อ นำา โดยแมลง มีย ุง ลายเป็น พาหะ แพร่เ ชื้อ ได้แ ก่ย ง ลาย Aedes aegypti ุ (ยุง ลายบ้า น) และยุง ลาย Aedes albopictus (ยุง ลายสวน) เมื่อ ยุง ลาย ตัว เมีย กัด และดูด เลือ ดผู้ป ่ว ยที่อ ยูใ น ่ ระยะไข้ส ูง ซึ่ง เป็น ระยะที่ม ีไ วรัส อยูใ น่ กระแสเลือ ด เชื้อ ไวรัส จะเข้า สู่ กระเพาะยุง และเพิม จำา นวนมากขึน ่ ้ แล้ว เดิน ทางเข้า สูต ่อ มนำ้า ลาย เมื่อ ยุง ที่ ่
  • 17. ระยะฟัก ตัว ของโรค ประมาณ 3 - 12 วัน แต่ท พ บบ่อ ยคือ 2 - 4 วัน ี่ ระยะติด ต่อ ของโรค ประมาณ 4 - 7 วัน ผู้ป ่ว ยจะมีเ ชื้อ ไวรัส อยูใ นกระแส ่ เลือ ด ตัง แต่เ ริ่ม แสดงอาการ จึง ต้อ งระวัง อย่า ให้ผ ู้ ้ ป่ว ยถูก ยุง กัด โดยเฉพาะในช่ว ง 4 - 7 วัน หลัง เริ่ม แสดงอาการ ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • 18. อาการของ ผู้ป ว ย ่ มีไ ข้ส ง ร่ว มกับ อาการ ดัง นี้  ู • ปวดข้อ หรือ ข้อ บวม หรือ ข้อ อัก เสบ (Arthralgia or Joint swelling or Arthritis) • มีผ น (Maculopapular rash) ื่ • ปวดกล้า มเนื้อ (Myalgia) • ปวดศีร ษะ (Headache) • ปวดกระบอกตา ( Peri-orbital pain) • และอาการอื่น ๆ เช่น คลื่น ไส้ อาเจีย น ภาพจาก อ นเพลีย อุเบืหม่อาหาร เป็น ต้น อ่ : สำานักโรคติดต่อ บัติใ อ ่
  • 20. ผื่น แดงตาม ร่า งกาย ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • 21. ผื่น และอาการ ข้อ อัก เสบ ภาพจาก :นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงษ์ จาก สสจ.นราธิวาส
  • 22. การรักษา ไม่มการรักษาที่จำาเพาะเจาะจง ี (specific treatment) – การรัักษาเป็นการรักษาแบบประคับประคอง (supportive treatment) เช่น ให้ยาลดอาการ ไข้ ลดอาการปวดข้อ เช็ดตัวลดไข้และพัก ผ่อนให้เพียงพอ - ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้ไปพบแพทย์ - โรคนี้สวนใหญ่ไม่รุนแรงถึงชีวิตจะหายได้เอง ่
  • 23. • ประชาชนทีเ ดิน ทางเคลื่อ นย้า ยเข้า /ออก ่ ในพืน ทีร ะบาด ้ ่ • ทหาร / ตำา รวจ ทีป ฏิบ ัต ิง านในจัง หวัด ทีม ก าร ่ ่ ี ระบาดต่อ เนือ ง่ • นัก ศึก ษา โดยเฉพาะนัก เรีย น นัก ศึก ษา และ นัก ศึก ษาพยาบาลทีม ภ ม ล ำา เนาในจัง หวัด ทีม ก าร ่ ี ู ิ ่ ี ระบาด • ประชาชนทีใ ช้แ รงงาน (รับ จ้า งกรีด ยาง) ่ ภาพจาก : สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่
  • 24. โรคไข้ม าลาเรีย โรคมาลาเรีย เกิด จากเชื้อ พวกสปอ โรซัว มีช อ เรีย กหลายชื่อ คือ ไข้จ ับ สัน ื่ ่ ไข้ป า ไข้ห ัว ลม ไข้ด อกสัก พบทั่ว ไปใน ่ บริเ วณป่า เทือ กเขามีล ำา ธาร หรือ อาจ เป็น นำ้า เค็ม นำ้า กร่อ ย ป่า ชายทะเลที่ม ีย ง ุ ก้น ปล่อ งตัว เมีย เป็น พาหะนำา เชื้อ มาลาเรีย เป็น โรคของประเทศแถบร้อ น และชิด เขตร้อ น องค์ก ารอนามัย โลกได้ จัด ให้เ ป็น โรคที่ส ำา คัญ โรคหนึ่ง ของโรค
  • 26. ชนิดของเชือไข้มาลาเรียและยุงพาหะ ้ 1. Plasmodium falciparum พบทุก ภาค ของประเทศไทย พบถึง ร้อ ยละ 60 ของผู้ ป่ว ย เป็น ชนิด ที่ท ำา ให้เ กิด อาการรุน แรงมาก ที่ส ด ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย ชนิด จับ ไข้ว ัน ุ 2. Plasmodium vivax พบร้อ ยละ 35 ของผู้ เว้น วัน ป่ว ย เชือ ชนิด นีม ีร ะยะก่อ นเข้า เม็ด เลือ ดแดง ้ ้ ตกค้า งในตับ ทำา ให้เ กิด ระยะฮิพ โนซอยต์ไ ด้ ทำา ให้เ กิด ไข้ก ลับ ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย 3. Plasmodium จับ ไข้ว ัน เว้น วัน อ ยละ 0.5 ชนิด malariae พบร้ ของผูป ว ย พบในบางพื้น ที่ข องไทยเช่น ้ ่ เชีย งราย แม่ฮ อ งสอนและตาก ไม่ม ีร ะยะฮิพ ่ โนซอยต์ ทำา ให้เ กิด โรคมาลาเรีย ชนิด จับ ไข้
  • 27. ชนิด ของเชื้อ ไข้ม าลาเรีย และ ยุง พาหะ (ต่อ ) 4. Plasmodium ovale เพิ่ง มีร ายงานว่า พบ ในประเทศไทยเพีย ง 7 รายจากจัง หวัด สระบุร ี ลพบุร ี จัน ทบุร ีแ ละเชีย งใหม่ มีร ะยะ ฮิพ โนซอยต์เ ช่น เดีย วกัน ก่อ โรคมาลาเรีย โรคมาลาเรีย มียจัก้น ปล่วงตัเว้น เป็นวัน ชนิด ุง บ ไข้อ ัน ว เมีย 2 พาหะนำา โรค ยุง ก้น ปล่อ งมีห ลายชนิด แต่ล ะพื้น ที่อ าจมีย ุง ก้น ปล่อ งที่เ ป็น พาหะหลัก แตกต่า งกัน สำา หรับ ในประเทศไทยมีย ุง ก้น ปล่อ งที่เ ป็น พาหะหลัก ดัง นี้ 1.Anopheles minimus 2.Anopheles dirus 3.Anopheles maculatus 4.Anopheles sundaicus
  • 29. อาการ ขึน อยูก ับ ชนิด ของเชื้อ ที่เ ป็น สาเหตุ อาจแบ่ง อาการออกได้โ ดยสรุป ดัง นี้ ้ ่ 1. ระยะฟัก ตัว หากเป็น P.falciparum เฉลี่ย 12 วัน P.vivax เฉลี่ย 14 วัน P.malariae เฉลี่ยส บาย วัน P.ovale ไม่ 2. อาการนำา ไม่ 30 ปวดศีร ษะ แขน แน่นลำา ตัว ครั่น เนื้อ ครั่น ตัว คลื่น ไส้ เบือ ขา อน ่ อาหาร ต่อ มาจะจับ ไข้ 2-3 วัน แรกอาการ ยัง ไม่แ น่น อน แต่ภ ายหลัง อาการจะเริ่ม 2.1 ระยะหนาว เป็น ระยะที่ผ ู้ป ว ยจะ ่ แน่น อน แบ่ง อาการออกเป็น 3 ระยะ รู้ส ก หนาวมาก อาการดัง กล่า วอาจเกิด ได้ ึ ตั้ง แต่ 15 - 60 นาที ตัว จะร้อ นมาก
  • 30. อาการ (ต่อ) 2.2 ระยะไข้ ใช้เ วลาประมาณ 2 ชัว โมง ่ ผูป ว ยมีไ ข้ส ง อุณ หภูม เ กิน 40 องศา หน้า ้ ่ ู ิ แดง ปวดศีร ษะ คลืน ไส้ อาเจีย น กระหายนำ้า ่ 2.3 ระยะเหงือ ออกใช้เ วลาประมาณ 1 ่ และมีอ าการเพ้อ ชัว โมง ผูป ว ยจะเหงื่อ ออก อุณ หภูม ิจ ะเริ่ม ลด ่ ้ ่ ลงสูร ะดับ ปกติ อาการต่า งๆจะหายไป ่ 3. ระยะเวลาจับ ไข้ แตกต่า งกัน ขึน อยู่ก ับ ้ ชนิด ของเชือ มาลาเรีย อาจเป็น วัน เว้น วัน หรือ ้ วั4.เว้น 2 วัน แล้ลับ พบเฉพาะเชือ ด ใด น อาการไข้ก ว แต่ไ ด้ร ับ เชือ ชนิ ชนิด ้ ้ P.vivax และ P.ovale เท่า นัน ที่ม ีร ะยะฮิพ โน ้ ซอยต์ ทำา ให้ก ลับ มาเป็น ใหม่ไ ด้อ กี
  • 31. การวิน ิจ ฉัย 1. ดูจ ากอาการไข้ และระยะเวลาที่ จับ ไข้แ ละลัก ษณะอื่น ประกอบเช่น ตา เหลือ ง ซีด ม้า มโต รวมถึง การสืบ ประวัต ิ ว่า อยู่ใ นถิ่น ระบาดหรือ ไม่ แต่ต ้อ งทำา 2. โดยการเจาะเลือ ดที่ป ลายนิ้ว หรือ ร่ว มไปกับ วิธ อ ื่น ด้ว ย ี เจาะจากเลือ ดดำา นำา มาสเมีย ร์ห รือ ทำา ฟิล ์ม เลือ ด และย้อ มฟิล ์ม เลือ ดเหล่า นี้ด ว ย ้ สีย ิม ซา ซึ่ง ทำา ได้ 2 แบบคือ ฟิล ์ม เลือ ด บางกับ ฟิล ์ม เลือ ดหนา ฟิล ์ม เลือ ดบางจะ เห็น ลัก ษณะเชื้อ มาลาเรีย ชัด เจน เห็น
  • 32. การรัก ษา 1. การรัก ษาตามอาการ เป็น การให้ รัก ษาไปตามแนวทางของอาการที่เ กิด ขึ้น เป็น การรัก ษา 2. การรัก ษาเฉพาะ โดยการให้ย าฆ่า เชื้อ มาลาเรีย ปัจ จุบ ัน ยัง ไม่พ บว่า มีย าฆ่า เชื้อ มาลาเรีย เพีย ง ชนิด เดีย วที่ส ามารถนำา ไปใช้ไ ด้ด ก ับี เชื้อ มาลาเรีย ทุก ชนิด และทุก ระยะของ เชื้อ
  • 33. โรคเท้า ช้า ง โรคเท้า ช้า ง หรือ โรคฟิล าเรีย เป็น กลุ่ม โรคติด ต่อ ที่น ำา โดยแมลง เกิด จากพยาธิต ัว กลมในวงศ์ Filarioidae ชนิด ที่ต ิด เชือ ใน ้ คนมี 3 ชนิด ได้แ ก่ Wuchereria bancrofti Brugia malayi Brugia timori ภาพจาก : http://maven.smith.edu/~sawlab/fgn/gifs/btimorimf.gif
  • 34. การแพร่ก ระจายของโรคเท้า ช้า ง โรคเท้าช้างพบได้ทั่วไปในบริเวณเขตร้อนชื้น และกึ่ง ร้อนชื้น บริเวณทวีปเอเชีย แอฟริกา มหาสมุทรแปซิฟก และบาง ิ ส่วนของทวีปอเมริกา ประเทศทีพบโรคเท้าช้างมี 73 ประเทศ ประเทศที่พบผู้ ่ ป่วยโรคเท้าช้างมากที่สุด คือ ประเทศอินเดีย ผู้ป่วยโรคเท้าช้าง = 10-50 % > 10 % ภาพจาก : http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectious/elephantiasis/elephantiasis.htm
  • 36. การแพร่ก ระจายของโรคเท้า ช้า งในประเทศไทย โรคเท้า ช้า งใน ประเทศไทย เกิด จากพยาธิ W. bancrofti และ B. malayi ไมโครฟิล าเรีย ทศไทยมีก ารสำา รวจโรคเท้า ช้า งครั้ง แรกเมือ ปี พ .ศ . ่ Dr. M.O.T. Iyengar และคณะ ที่จ ัง หวัด สุร าษฎร์ธ านี นครศรีธ รรมราช พัท ลุง และ พยาธิช นิด ที่ส ำา รวจพบครั้ง แรก คือ B. malayi
  • 37. ชนิดและลักษณะทัวไปของยุงพาหะนำาพยาธิฟิลาเรีย ่ พยาธิต ัว กลมฟิล าเรีย ตัว แก่จ ะอยู่ใ นระบบนำ้า เหลือ ง จากนั้น จะปล่อ ยตัว อ่อ นเรีย กว่า ไมโครฟิล าเรีย ที่อ อกมาว่า ยในกระแสเลือ ด ในเวลากลางวัน พยาธิ ไมโครฟิล าเรีย จะไม่อ อกมาในกระแสเลือ ด แต่จ ะออก มาในตอนกลางคืน ในการถ่า ยทอดเชื้อ พยาธิฟ ิล าเรีย จะมีย ุง บางชนิด เป็น พาหะ ยุง ลายป่า ยุง รำา คาญ และยุง ก้น ปล่อ ง W. bancrofti ยุง เสือ ยุง ลายป่า B. malayi
  • 38. วัฏจักรชีวตของพยาธิฟิลาเรีย ิ ภาพจาก : http://mylesson.swu.ac.th/mb322/wuchereria.htm
  • 39. ลักษณะของโรคและอาการ  ต่อ มนำ้า เหลือ งและท่อ ทางเดิน นำ้า เหลือ งอัก เสบ  เกิด การอุด ตัน ของระบบทางเดิน นำ้า เหลือ ง เป็น ภาวะต่อ เนื่อ งจากต่อ มนำ้า เหลือ ง หรือ ท่อ ทางเดิน นำ้า เหลือ งอัก เสบ จากการอุด ตัน ของระบบนำ้า เหลือ งดัง กล่า วจะก่อ ให้เ กิด สภาวะของรูป แบบต่า ง ๆ ได้แ ก่  Hydrocele Hydrocele  Chyluria  Elephantiasis ก ก
  • 40. Chyluria Normal Urine Chyluria ก ข ภาพจาก : http://nfstc.org/workshop/pdi/Subject02/pdi_s02_m02_11.htm http://www.ghettodriveby.com/chyluria/
  • 41. Elephantiasis ก ข ค จ งง ภาพจาก : http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectious/elephantiasis/elephantiasis.htm
  • 42. ลักษณะอาการของผู้ปวยโรคเท้าช้าง ่ ผู้ป่วยไม่แสดงอาการ (70-80%) ผู้ป่วยจะไม่มี อาการปรากฏให้เห็น อาจจะพบหรือไม่พบไมโครฟิลา เรียในกระแสเลือด ผู้ป่วยปรากฏอาการ (20-30%) ผู้ป่วยพวกนีอาจ ้ พบหรือไม่พบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือดก็ได้ แต่โดย ทัวไปจะไม่พบ ่ อาการแสดง สามารถแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ  อาการเฉียบพลัน  อาการเรื้อรัง  ลักษณะอาการอื่น ๆ
  • 43. การวินจฉัยโรคผู้ป่วยโรคเท้าช้าง ิ 1. การซัก ประวัต ิ 2. การตรวจร่า งกาย 3. การตรวจหาตัว พยาธิ มีว ิธ ี ต่า ง ๆ ดัง นี้ 3.1 ตรวจหาไมโครฟิล าเรีย ใน กระแสเลือ ดโดยใช้ว ิธ ี Thick blood film technique, Counting chamber, Knott's concentration, Membrane filtration 3.2 ตรวจหา circulating filarial antigen (CFA) ซึ่ง วิธ ใ ช้ม ีท ั้ง ELISA ี
  • 44. การรักษาผู้ป่วยโรคเท้าช้าง 1. การรัก ษาด้ว ยยา Diethylcarbamazine citrate (DEC) 2. รัก ษาด้ว ยการผ่า ตัด 3. การรัก ษาตามอาการ เช่น ให้ย า แก้ป วดหรือ ยาปฏิช ีว นะ
  • 45. การจัดความสัมคัญของโรคติดต่อนำาโดยยุง - อัต ราป่ว ย ตำ่า สูง - ความรุน แรงของโรค อัต ราตาย การเจ็บ ป่ว ย ผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ สถานะการ ดื้อ ยา ใช้ข ้อ มูล การวิเ คราะห์ สถานการณ์โ รคติต อ นำา โดย ่
  • 46. - จัด พื้น ที่ต ามความเสี่ย งความ การจัดแบ่งพื้นทีเสียงต่อล ะโรค อนำาโดยยุง ่ ่ ของแต่ โรคติดต่ - การแบ่ง พื้น ที่อ าจแบ่ง เป็น หมู่บ ้า นหรือ กลุ่ม บ้า น - กำา หนดมาตรการที่จ ะดำา เนิน การในแต่ล ะพื้น ที่ท ี่จ ัด แบ่ง การจัด แบ่ง พื้น ที่ ใช้ ข้อ มูล วิเ คราะห์ส ถานการโรค และการวิเ คราะห์ส ถานการณ์
  • 47. การคัดเลือกพืม ที่ที่จหมูเนินการจัดการ ครอบคลุ ้น ทุก ะดำา ่บ ้า นใน อปท สามารถคังพาหะนำาโรคย งบางกลุ่ม ยุ ด เลือ กเพี หรือ บางหมู่บ ้า นได้ - เกณฑ์ก ารคัด เลือ กพื้น ที่ ที่จ ะ ดำา เนิน การ IVM ชุม ชนตระหนัก ต่อ ปัญ หาโรคติด ต่อ นำา โดยแมลง ผู้น ำา ชุม ชนสนใจ และ ให้ค วามสำา คัญ กับ การจัด การ พาหะนำา โรคแบบ IVM

Editor's Notes

  1. อาการทางคลินิกของโรคไข้เลือดออก หลังจากได้รับเชื้อจากยุงประมาณ 5-8 วัน ( ระยะฟักตัว ) ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการของโรค ซึ่งมีความรุนแรงแตกต่างกันได้ ตั้งแต่มีอาการคล้ายไข้เดงกี่ ( dengue fever หรือ DF ) ไปจนถึงมีอาการรุนแรงมากจนถึงช็อกและถึงเสียชีวิตได้ โรคไข้เลือดออกมีอาการสำคัญที่เป็นรูปแบบค่อนข้างเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลำดับการเกิดก่อนหลังดังนี้ 1. ไข้สูงลอย 2-7 วัน 2 . มีอาการเลือดออก ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง 3 . มีตับโต กดเจ็บ 4 . มีภาวะการไหลเวียนล้มเหลว / ภาวะช็อก อาการไข้ ผู้ป่วยจะมีไข้สูงเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เกิน 38.5 องศาเซลเซียส ไข้อาจสูงถึง 40-41 องศาเซลเซียส ซึ่งบางรายอาจมีชักเกิดขึ้นโดยเฉพาะในเด็กที่เคยมีประวัติชักมาก่อน หรือในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน ผู้ป่วยมักจะมีหน้าแดง ( flushed face ) แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะไม่มีอาการน้ำมูกไหลหรืออาการไอ เด็กโตอาจบ่นปวดศีรษะ ปวดรอบกระบอกตา ในระยะไข้นี้ อาการทางระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย คือ เบื่ออาหาร อาเจียน บางรายอาจมีอาการปวดท้องร่วมด้วย ซึ่งในระยะแรกจะปวดทั่วๆไปและอาจปวดที่ชายโครงขวา ในระยะที่มีตับโต อาการเลือดออก ที่ พบบ่อยที่สุดคือที่ผิวหนัง โดยจะตรวจพบว่าเส้นเลือดเปราะ แตกง่าย โดยการทำ tourniquet test ให้ผลบวกได้ตั้งแต่ 2-3 วันแรกของโรค ร่วมกับมีจุดเลือดออกเล็กๆกระจายอยู่ตามแขน ขา ลำตัว รักแร้ อาจมีเลือดกำเดาหรือเลือดออกตามไรฟัน ในรายที่รุนแรงอาจมีอาเจียนและถ่ายอุจจาระเป็นเลือด ซึ่งมักจะเป็นสีดำ ( melena ) อาการเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนใหญ่จะพบร่วมกับภาวะช็อกในรายที่มีภาวะช็อก อยู่นาน ตับโต ส่วนใหญ่จะคลำพบตับโตได้ประมาณวันที่ 3-4 นับแต่เริ่มป่วย ตับจะนุ่มและกดเจ็บ ภาวะช็อก ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยไข้เลือดออกจะมีอาการรุนแรง มีภาวการณ์ไหลเวียนล้มเหลว ผู้ป่วยจะมีอาการเลวลง เริ่มมีอาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเบา เร็ว เนื่องจากมีการรั่วของพลาสมาออกไปยังช่องปอด / ช่องท้องมาก เกิด hypovolemic shock ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นพร้อมๆกับที่มีไข้ลดลงอย่างรวดเร็ว เวลาที่เกิดช็อกจึงขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่มีไข้ หากว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาช็อกอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ส่วนใหญ่ก็จะฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว
  2. การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก อาศัยอาการทางคลินิกร่วมกับผลการตรวจทางโลหิตวิทยา ก็เพียงพอต่อการวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก ได้แก่ 1. ไข้สูงเฉียบพลัน และสูงลอย 2 - 7 วัน 2. อาการเลือดออกอย่างน้อย tourniquet test ให้ผลบวกร่วมกับอาการเลือดออกอื่น 3. ปริมาณเกล็ดเลือด 100,000 เซลล์ / ลบ . มม . หรือนับจำนวนเกล็ดเลือดใน 10 oil field ค่าเฉลี่ย 3 per oil fied 4. ความเข็มข้นของเม็ดเลือดแดง ( Hct) เพิ่มขึ้น เท่ากับหรือมากกว่า 20 % เมื่อเทียบกับ Hct เดิม การส่งตัวอย่างน้ำเหลือง ( Serology) เพื่อตรวจยืนยันโรคไข้เลือดออก ควรส่งเมื่อผู้ป่วยมีอาการรวมทั้งผลการตรวจโหลิตวิทยาไม่ชัดเจน หรือผู้ป่วยมีอาการลักษณะแปลกออกไป ( Unusual manifestation) เช่นอาการทางสมอง ทางตับ
  3. การดูแลรักษาผู้ป่วย มีหลักปฏิบัติดังนี้ 1 . ในระยะไข้สูง บางรายอาจมีการชักได้ถ้าไข้สูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่มีประวัติเคยชัก หรือในเด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน จำเป็นต้องให้ยาลดไข้ ควรใช้ยาพวกพาราเซตามอล ห้ามใช้ยาพวกแอสไพริน เพราะจะทำให้เกร็ดเลือดเสียการทำงาน จะระคายกระเพาะทำให้เลือดออกได้ง่ายขึ้น และที่สำคัญอาจทำให้เกิด Reye syndrome ควรให้ยาลดไข้เป็นครั้งคราวเวลาที่ไข้สูงเท่านั้น ( เพื่อให้ไข้ที่สูงมากลดลงเหลือน้อยกว่า 39 องศาเซลเซียส ) การใช้ยาลดไข้มากไปจะมีภาวะเป็นพิษต่อตับได้ ควรจะใช้การเช็ดตัวช่วยลดไข้ด้วย 2 . ให้ผู้ป่วยได้น้ำชดเชย เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่มีไข้สูง เบื่ออาหาร และ อาเจียน ทำให้ขาดน้ำและเกลือโซเดียมด้วย ควรให้ผู้ป่วยดื่มน้ำผลไม้ หรือ สารละลายผงน้ำตาลเกลือแร่ ( โอ อาร์ เอส ) ในรายที่อาเจียนควรให้ดื่มครั้งละน้อยๆ และดื่มบ่อยๆ 3 . จะต้องติดตามดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพื่อจะได้ตรวจพบและป้องกันภาวะช็อกได้ทันเวลา ช็อกมักจะเกิดพร้อมกับไข้ลดลงประมาณตั้งแต่วันที่ 3 ของการป่วยเป็นต้นไป ทั้งนี้แล้วแต่ระยะเวลาที่เป็นไข้ ถ้าไข้ 7 วันก็อาจช็อกวันที่ 8 ได้ ควรแนะนำให้พ่อแม่ทราบอาการนำของช็อก ซึ่งอาจจะมีอาการเบื่ออาหารมากขึ้น ไม่รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำเลย หรือมีอาการถ่ายปัสสาวะน้อยลง มีอาการปวดท้องอย่างกะทันหัน กระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ควรแนะนำให้รีบนำส่งโรงพยาบาลทันทีที่มีอาการเหล่านี้ 4 . เมื่อผู้ป่วยไปตรวจที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่ให้การรักษาได้ แพทย์จะตรวจเลือดดูปริมาณเกร็ดเลือดและ hematocrit และอาจนัดมาตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของเกร็ดเลือดและ hematocrit เป็นระยะๆ เพราะถ้าปริมาณเกร็ดเลือดเริ่มลดลง และ hematocrit เริ่มสูงขึ้น เป็นเครื่องชี้บ่งว่าน้ำเลือดรั่วออกจากเส้นเลือด และอาจจะช็อกได้ จำเป็นต้องให้สารน้ำชดเชย 5 . โดยทั่วไปไม่จำเป็นต้องรับผู้ป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาลทุกราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะแรกที่ยังมีไข้ สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอก โดยให้ยาไปรับประทาน และแนะนำให้ผู้ปกครองเฝ้าสังเกตอาการตามข้อ 3 หรือแพทย์นัดให้ไปตรวจที่โรงพยาบาลเป็นระยะๆ โดยตรวจดูการเปลี่ยนแปลงตามข้อ 4 ถ้าผู้ป่วยมีอาการแสดงอาการช็อก ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกราย และถือเป็นเรื่องรีบด่วนในการรักษา
  4. ขณะ นี้ยังไม่มียาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์เฉพาะสำหรับเชื้อไข้เลือดออก และ วัคซีน ป้องกันกำลังอยู่ในระหว่างศึกษาทดลอง การรักษาโรคนี้เป็นการรักษาตามอาการและประคับประคอง ซึ่งได้ผลดี ถ้าให้การวินิจฉัยโรคได้ตั้งแต่ระยะแรก แพทย์ผู้รักษาจะต้องเข้าใจธรรมชาติของโรค และให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จะต้องมี nursing care ที่ดีตลอดระยะเวลาวิกฤตประมาณ 24-48 ชั่วโมงที่มีการรั่วของพลาสมา
  5. โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ( ชิคุนกุนยา ) เกิดจากการติดเชื้อ Chikungunya virus เดิมมีรกรากอยู่ในทวีปอาฟริกา ชื่อโรคชิคุนกุนยา เป็น ภาษา Makonde ( ภาษาถิ่นในแอฟริกา ) “ that which bends up” แปลว่า เจ็บจนตัวโก่งงอ ระบาดครั้งแรกในประเทศแทนซาเนียในปี 2496 พบการระบาดครั้งแรกในไทยพร้อมกับที่มีไข้เลือดออกระบาดและเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชียเมื่อ พ . ศ .2501
  6. เกิดการระบาดใหญ่ของโรคไข้ปวดข้อยุงลายที่หมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ในปีพ . ศ . 2548 – 2549 และกระจายไปยังประเทศอื่น ๆ และในช่วงเวลาเดียวกัน ก็เกิดการระบาดของโรคในทวีปเอเชีย ดังนี้ ประเทศอินเดีย พบผู้ป่วยทั้งสิ้น 1,427,683 ราย ประเทศศรีลักกา มีรายงานผู้ป่วยทั้งสิ้น 37,667 ราย ประเทศมาเลเซีย พบผู้ป่วย 1,975 ราย ประเทศอินโดนีเซีย มีรายงานผู้ป่วย 15,207 ราย ประเทศสิงคโปร์ มีรายงานผู้ป่วย 10 ราย ซึ่งทางการสิงคโปร์ได้ออกมาตรการเฝ้าระวังโรคอย่างใกล้ชิด และใช้มาตรการทางกฎหมาย
  7. การติดเชื้อโรคชุคุนกุนยาในประเทศไทย ในประประเทศไทยมีการตรวจพบครั้งแรกพร้อมกับที่มีไข้เลือดออกระบาดและเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ . ศ . 2551 ที่โรงพยาบาลเด็ก ในกรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นมีรายงานการสอบสวนโรคนี้มากกว่า 6 ครั้ง เช่น พ . ศ . 2519 ระบาดที่จังหวัดปราจีนบุรี พ . ศ . 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์ พ . ศ . 2534 ที่อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น พ . ศ . 2536 ที่ตำบลปากปวน อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลยและจังหวัดพะเยา พ . ศ . 2538 อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราชและอำเภอซาเก จังหวัดหนองคาย และล่าสุดในเดือนกันยายน พ . ศ . 2551 ที่จังหวัดนราธิวาสและปัตตานี
  8. สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลายในประเทศไทย ข้อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ถึงวันที่ 27 เมษายน 2553 สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้ชิคุนกุนยาจำนวนทั้งสิ้น 851 ราย ใน 25 จังหวัด ภาคใต้ 13 จังหวัด ภาคกลาง 7 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 จังหวัด ภาคเหนือ 2 จังหวัด อัตราป่วย 1.34 ต่อประชากรแสนคน ไม่พบผู้เสียชีวิต จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงที่สุดคือ จังหวัดพัทลุง อัตราป่วย 38.40 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ นครศรีธรรมราช 19.65 ต่อประชากรแสนคน สุราษฏร์ธานี 10.96 ต่อประชากรแสนคน
  9. สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา ( Chikungunya virus ) ซึ่งเป็น RNA Virus จัดอยู่ใน genus alphavirus และ family Togaviridae มียุงลาย Aedes aegypti, Ae.albopictus เป็นพาหะนำโรค ยุงลายบ้านกับยุงลายสวนมีลักษณะที่แตกต่างกันที่เห็นสังเกตได้ชัดเจน คือยุงลายบ้านมีเกล็ดสีขาวบริเวณระยางค์ปากที่ส่วนนอก บริเวณกึ่งกลางหลังจะมีขนแข็ง และมีเกล็ดสีขาวเรียงตัวกันเห็นเป็นลวดลายคล้ายพิณฝรั่ง ส่วนยุงลายสวนจะมีเกล็ดสีดำที่ระยางค์ปากด้านหลังของส่วนอกมีแถบสีขาวพาดอยู่ตรงกลาง
  10. วิธีการติดต่อ โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง มียุงลายเป็นพาหะแพร่เชื้อ ได้แก่ยุงลาย Aedes aegypti ( ยุงลายบ้าน ) และยุงลาย Aedes albopictus ( ยุงลายสวน ) เมื่อยุงลายตัวเมียกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่อยู่ในระยะไข้สูง ซึ่งเป็นระยะที่มีไวรัสอยู่ในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเข้าสู่กระเพาะยุง และเพิ่มจำนวนมากขึ้น แล้วเดินทางเข้าสู่ต่อมน้ำลาย เมื่อยุ่งที่มีเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาไปกัดคนอื่นก็จะปล่อยเชื้อ ทำให้คนที่ถูกกัดเกิดอาการของโรคได้
  11. ระยะฟักตัวของโรค ประมาณ 3- 12 วัน แต่ที่พบบ่อยคือ 2-4 วัน ระยะติดต่อของโรค ประมาณ 4-7 วันผู้ป่วยจะมีเชื้อไวรัสอยู่ในกระแสเลือด ( viremia ) ตั้งแต่เริ่มแสดงอาการ แต่ไม่มีหลักฐานว่าติดต่อระหว่างคนสู่คนโดยตรง การติดต่อเกิดจากถูกยุงลายที่ติดเชื้อกัดเท่านั้น จึงต้องระวังอย่าให้ผู้ป่วยถูกยุงกัด โดยเฉพาะในช่วง 4-7 วันหลังเริ่มแสดงอาการ
  12. อาการของผู้ป่วย มีไข้สูงร่วมกับอาการ ดังนี้              •  ปวดข้อ หรือ ข้อบวม หรือ ข้ออักเสบ ( Arthralgia or Joint swelling or Arthritis )          •  มีผื่น ( Maculopapular rash ) มักไม่คันแต่บางรายก็อาจมีอาการคันร่วมด้วย          •  ปวดกล้ามเนื้อ ( Myalgia )          •  ปวดศีรษะ ( Headache )          •  ปวดกระบอกตา ( Peri - orbital pain ) และอาการอื่น ๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เป็นต้น
  13. เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนเป็นร้อยละของอาการทางคลินิกที่สามารถพบได้ในโรคชิคุนกุนยาจากการศึกษาต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ พบว่าอาการต่าง ๆนั้นมีสัดส่วนใกล้เคียงกัน โดยอาการไข้และอาการปวดข้อสามารถพบได้ในสัดส่วนที่สูงที่สุด คือมากกว่าร้อยละ 80 ส่วนอาการผื่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และปวดศีรษะนั้น พบได้ในส่วนที่แตกต่างกันไปตั้งแต่ร้อยละ 30 – 85 อาการอื่น ๆ เช่น ข้อบวม อาเจียน ไอ และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน พบได้น้อยกว่าร้อยละ 50
  14. ผู้ป่วยจะมีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคันร่วมด้วย
  15. ส่วนใหญ่แล้วในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่ ในผู้ใหญ่อาการที่เด่นชัดคือ อาการปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้ออักเสบได้ ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อมือ ข้อเท้า
  16. การรักษา ไม่มีการรักษาที่จำเพาะเจาะจง (specific treatment) การรักษาเป็นการรักษาแบบประคับประคอง (supportive treatment) เช่น ให้ยาลดอาการไข้ ลดอาการ ปวดข้อ เช็ดตัวลดไข้ และพักผ่อน ให้เพียงพอ ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้ไปพบแพทย์ โรคนี้ส่วนใหญ๋ไม่รุนแรงถึงชีวิตจะหายได้เอง
  17. การเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยง ต่อการติดโรค / แพร่โรค ได้แก่ - ประชาชนที่เดินทางเคลื่อนย้ายเข้า / ออก ในพื้นที่ที่มีการระบาด หรือยังมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลาย - ทหาร / ตำรวจ ที่ปฏิบัติงานในจังหวัดที่มีการระบาดต่อเนื่อง แล้วเดินทางกลับภูมิลำเนา - นักศึกษา โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา และนักศึกษาพยาบาลที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดที่มีการระบาด - ประชาชนที่ใช้แรงงาน ( รับจ้างกรีดยาง )