SlideShare a Scribd company logo
Learning Space: Design Tips for Classroom
ห้องสมุด ในยุค 4.0
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พุธที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพฯ
เค้าโครงการบรรยาย
u การเปลี่ยนแปลงของโลก
u การออกแบบ พื้นที่การเรียนรู้
u ห้องสมุดต้องทําหน้าที่เป็น คลังความรู้ เผยแพร่ความรู้ กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
u กลยุทธ์เชิงรุก จัดเก็บ การผลิตสื่อ การจัดอบรมให้ความรู้
u อภิปรายร่วมกัน
คนไทย อ่านหนังสือแค่ไหน 2558
เกิดใหม่
uโทรศัพท์มือถือ ช่วงมีนาคม-พฤษภาคม 2560 มีการเปิดตัวของมือถือ
มีทั้งหมด 72 เครื่อง เฉลี่ยคือ 30 ชั่วโมง / 1 เครื่อง คือเรานอนตื่น
มา อีกวันหนึ่งก็มีอะไรออกมาใหม่แล้ว
ผู้เรียนเปลี่ยนไป
§ Crave interactivity กระหายสื่อสารกัน
§ Read visual images อ่านภาพที่เห็น
§ Weak reading skills ทักษะการอ่านแย่
§ Visual-spatial skills ทักษะมองเห็นเป็นภาพ
§ Parallel processing ประมวลผลแบบขนาน
§ Inductive discovery ค้นหาแบบอุปนัย
§ Fast response time ตอบสนองไว
§ Short attention span* ช่วงความสนใจสั้น
Prensky, 2001
สื่อการเรียนรู้ ในยุคต่างๆเปลี่ยนไป
ยุคที่ 1
• กระดาษ,สมุด
• หุ่นจําลอง
• สิ่งแวดล้อม
ยุคที่ 2
• สื่อ AV
• ภาพยนตร์
• หนังสือ
• พิพิธภัณฑ์
ยุคที่ 3
• สื่อดิจิทัล
• สืื่อเสมือน
AR,VR,MR
• Learning Space
การเตรียมคนไทยจาก
อดีต อนาคต
ต่างชาติมองคนไทย
คนไทยอยู่ในระบบอุปถัมภ์
คนไทยที่เฉื่อยชา
คนไทยที่ขี้เกียจ
คนไทยที่ขี้อิจฉา
คนไทยที่ขี้โกง
ฯลฯ
1.เปลี่ยนคนไทยจากแบบ Thai–Thai เป็นแบบ Global Thai ที่มีความภาคภูมิใจในความ
เป็นไทย แต่มีกรอบความคิดที่เป็นสากล เพราะโลกกําลังเปลี่ยนจาก
One Country One Destiny เป็น One World One Destiny
2. คนไทยต้องเปลี่ยนจาก Analog Thai เป็น Digital Thai เพื่อให้สามารถดํารงชีวิต
เรียนรู้ ทํางาน และประกอบธุรกิจได้ ทั้งใน โลกจริง และ โลกเสมือน
3. คนไทยต้องเปลี่ยนจาก คนไทยที่มีความรู้และทักษะตํ่า เป็น คนไทยที่มีความรู้และทักษะ
สูง มีความสามารถในการรังสรรค์นวัตกรรม เพื่อให้อยู่ได้ใน Global Digital
4. คนไทยต้องเปลี่ยนจาก การเน้นประโยชน์ส่วนตน เป็น คนมี จิตสาธารณะเกื้อกูล
แบ่งปัน และ รับผิดชอบต่อส่วนรวม
คนไทย 4.0 ในศตวรรษที่ 21
u 1.ไอคิว เฉลี่ยไม่ตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 100 ภายใน 5 ปี
u 2. เด็กไทยร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานภายใน 5 ปี
u 3. คะแนน PISA ขยับจากอันดับที่ 47 ใน 76 ประเทศ ขึ้นไปเป็น 1 ใน 10 ประเทศแรก
ภายใน 20 ปี (สะท้อนถึงระบบการศึกษาที่ล้าหลังอย่างรุนแรงของไทย)
u 4.ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) เพิ่มจาก 0.722 (ในปี 2556) ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 89 เป็น
0.80 (กลุ่มที่มีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก) หรือ 50 อันดับแรกภายใน 10 ปี
u 5. ยกระดับคุณภาพฝีมือแรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการและทิศทางก
ารพัฒนาของประเทศจํานวน 500,000 คน ภายใน 5 ปี
u 6. มหาวิทยาลัยไทย ติด 100 อันดับแรกของโลก จํานวน 5 สถาบัน ภายใน 20 ปี
u 7. นักวิทยาศาสตร์ไทย ได้รับรางวัล Nobel Prize อย่างน้อย 1 คน ภายใน 20 ปี
ในแผน “ไทยแลนด์ 4.0”
ได้นิยาม
คนไทยในศตวรรษที่ 21
ว่า “คือคนไทยที่มีปัญญาเฉียบ
แหลม มีทักษะที่เห็นผล มีสุขภาพ
ที่แข็งแรง และมีจิตใจที่งดงาม”
โดย ลม เปลี่ยนทิศ 26 ธ.ค
. 2559
โลกเปลี่ยน คนเปลี่ยน เราจะเปลี่ยน....ไหม?
ห้องสมุดยุคเก่า
1.เป็นสถานที่เงียบสงัด (ห้ามคุย, ห้ามกิน และห้ามดื่ม)
2.เหมือนสุสานหนังสือ
3.โต๊ะสําหรับติดต่อยืมคืนหนังสือที่ดูน่ากลัวใหญ่โต
4.พื้นที่ใช้สอยน้อย
5.สายตาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดที่คอยตรวจสอบคนอ่านหนังสือ
6.มีทั้งพจนานุกรม สารานุกรม และหนังสืออ้างอิงเล่มใหญ่ๆ
7.พื้นที่น่านั่ง มักจะอยู่ที่โถงอ่านหนังสือใหญ่
8.ตั้งตระหง่านเป็นสัญลักษณ์ใจกลางเมือง
9.ยังมีการสร้างห้องสมุดลักษณะแบบนี้อยู่
บทความของ Peter Gisolfi
เรื่อง UpClose: Designing 21st-Century Libraries | Library
by Design
ห้องสมุดยุคใหม่
1.เป็นศูนย์ชุมนุมเพื่อการเรียนรู้แบบทันสมัย
2.พื้นที่ดูโปร่งโล่งสบาย ที่มองเห็นสมาชิกง่าย และพร้อมให้บริการ
3.มีมุมให้อ่านหนังสือตามจุดต่างๆ โดยรอบห้องสมุด
4.มีพื้นที่หลากหลายสําหรับเด็กและวัยรุ่น
5.มีทั้งห้องประชุม นัดพบปะ และทํากิจกรรม หลากหลายขนาด
6.แสงแดดสาดส่องทั่วถึง
7.ดูปลอดโปร่งและเชื่อมต่อกับพื้นที่ด้านนอก
8.มีพื้นที่ใช้สอยสําหรับคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะ
9.เสริมระบบให้การบริการด้วยตนเอง เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
10.พร้อมปรับเปลี่ยนตามสมัยรองรับความต้องการในอนาคต
11.เป็นสถานพบปะที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัย
บทความของ Peter Gisolfi
เรื่อง UpClose: Designing 21st-Century Libraries | Library
by Design
ห้องสมุด ที่ต้องการ
• เพิ่มสื่อดิจิตอล ขณะเดียวกันก็ลดจํานวนหนังสือเล่ม
• สามารถยืมคืนหนังสือด้วยตนเอง ไม่ต้องมีโต๊ะให้บริการ
• มีจุดค้นหาหนังสือแบบออนไลน์กระจายอยู่ทั่วห้องสมุด
• มีบริการอินเตอร์เน็ตไร้สาย สนับสนุนให้สมาชิกนําโน้ตบุ้คมาเอง
เพื่อลดปริมาณคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด
• มีระบบจัดการทรัพยากรอัตโนมัติในห้องสมุดขนาดใหญ่ เพื่อลด
ภาระเจ้าหน้าที่และลดเวลาที่สมาชิกจะต้องคอยการให้บริการ
• พนักงานเป็นมิตร มีประสิทธิภาพ ใกล้ชิดผู้มาใช้บริการ
• มีโปรแกรมการเรียนรู้สําหรับเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้น
• มีมุมร้านกาแฟ เพื่อการพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างสังคม
การเรียนรู้
• มีห้องและส่วนของนิทรรศการ ประชุม หรือพบปะตามวาระที่เปิด
กว้างมากขึ้น
เมื่อลักษณะของห้องสมุดเปลี่ยนไป
จุดประสงค์ของผู้ไปห้องสมุดจึงควร
เปลี่ยนไปดังนี้
ห้องทํางานที่เปลี่ยนไป
พื้นที่การเรียนรู้ Learning Space
พื้นที่กายภาพ
Physics Space
สภาพแวดล้อม
เพื่อการเรียนรู้
Learning Environment
พื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้
Learning Space
การออกแบบสภาพแวดล้อม
เพื่อการเรียนรู้
u1) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
u2) สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ
u3) สภาพแวดล้อมทางสังคม
สภาพแวดล้อมเป็นสิ่งเร้า
เป็นการสร้างสภาวะกระตุ้น
ก่อให้เกิดความประทับใจ ความน่าสนใจ
อรพันธ์ ประสิทธิรัตน์
อรจรีย์ ณ ตะกัวทุ่ง
1) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
uเป็นสิ่งแวดล้อมทางกายสัมผัสได้
uห้องเรียน และการตกแต่ง
uอุปกรณ์การเรียน
uหลักทางการยศาสตร์
uแสง เสียง
2) สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ
uเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อความคิด ความรู้สึก
uสิ่งเร้าต่างๆ ป้ายประกาศ โปสเตอร์ ภาพประกอบ
uสีและการตกแต่ง
uประเภทของและอุปกรณ์ประกอบ
uบุคลากร
3) สภาพแวดล้อมทางสังคม
uภาระและตําแหน่ง หน้าที่ของสมาชิกในสังคม
uสถานการณ์และการจัดกิจกรรม
uการสื่อสารของสมาชิกในสังคม
uการพักผ่อน การเปลี่ยนอิริยาบถ
uการตรวจสอบ การประเมินผล
รูปแบบของ
พื้นที่การเรียนรู้
Learning Space
พื้นที่ทาง
กายภาพ
(physical)
• สิ่งที่สัมผัสได้
พื้นที่เสมือน
(virtual)
• สิ่งที่สัมผัสไม่ได้
แต่รับรู้ได้
และพื้นที่ทาง
สังคม
(community)
• สิ่งที่อยู่ร่วมกันได้
เป็นพื้นที่ ที่ถูกออกแบบและสร้าง
ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน
รูปแบบของ
พื้นที่การเรียนรู้
การออกแบบ
พื้นที่การเรียนรู้
Learning Space
Pedagogy
• วิธีการสอนกับ
พื้นที่การเรียนรู้
culture and
belief
• การถอดระบบคิดและ
ปรากฏการณ์ในการ
เรียนการสอนและ
วัฒนธรรมองค์กร
Learning
Geography
• ความสัมพันธ์
และลักษณะการ
เรียนรู้ ของคนใน
ระดับต่างๆ
การวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของคน
และสังคม เพื่อนํามาสู่การ
สังเคราะห์องค์ความรู้ด้าน
ออกแบบพื้นที่การเรียนรู้ร่วมกันให้
เหมาะสมกับผู้ใช้พื้นที่
การออกแบบ
พื้นที่การเรียนรู้
ตัวอย่าง Learning Space KMUTT
ความทรงจํา กับการเรียนรู้
u การอ่านอย่างเดียวไม่ทําให้
เกิดการจดจํา
u การได้ลงมือได้พูดทําให้เกิด
การจดจําได้มากกว่า
u การได้คิด ได้ทํา ได้พูด จะ
ทําให้เกิดการสร้างความรู้
ใหม่ Think Pair Share
แนวคิดที่นํามาใช้ในการออกแบบสภาพแวดล้อม หรือออกแบบการเรียน TPACK
TPACK : Technological Pedagogical Content Knowledge
หลักการออกแบบ
Learning Space
ทฤษฎีการสร้าง
ความรู้ด้วย
ตนเอง
(Constructivism)
• การเรียนไม่จําาเป็นที่จะต้องเกิด
เพียงในห้องเรียนเท่านั้น
• เรียนด้วยความรู้สึกอยากเรียน
อยากรุ้
การออกแบบที่มี
มนุษย์เป็น
ศูนย์กลาง
(human-
centered
design)
• ความต้องการทาง กายภาพ
• ความต้องการทางอารมณ์หรือ
ความรู้สึก
เทคโนโลยีและ
ระบบสารสนเทศ
(ICT)
• การใช้อุปกรณ์การสื.อสารสมัยใหม่
ส่งผลให้การเรียน การสอนมีความ
ยืดหยุ่นสูงร่วมกันเรียนรู้
การออกแบบ
สภาพแวดล้อม
• เพื่อโน้มน้าวให้เกิด พฤติกรรมที่
ต้องการ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
องค์กรยุคใหม่
และการคาดหวังของคนทํางานรุ่นใหม่
เป็นปัจจัยที่ผลักดัน ใหเ้กิด การเปลี่ยน
แปลงรูปแบบของการทํางาน
ในศตวรรษที่ 21
Learning Space
(Brown & Long, 2006)
ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ที่ นศ.ต้องการ
uขนาดพื้นที่ที่ต้องกว้างและไม่คับแคบ
uปัจจัยที่มี ความสําาคัญต่อมาเรียงตามลําาดับคือ เสียงที่ไม่ดังมากเกิน ไป
uอณหภูมิที่ต้องไม่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป
uความสะอาด เรียบร้อยเป็นระเบียบ
uเก้าอี้และโต๊ะที่นั่งสบาย แสงสว่าง
uและที่สําคัญมากคือ การตกแต่งภายใน
บุษกร รมยานนท์ Busakorn Romyanond
INTRODUCING THE UNIFIED E-BOOK FORMAT AND A HYBRID
LIBRARY 2.0 APPLICATION MODEL BASED ON IT
Learning Space: Design Tips for Classroom
ห้องสมุด ในยุค 4.0
u นโยบาย ชัดเจน , มีวัตถุประสงค์ , ชี้ผลที่ต้องการได้
u พื้นที่กายภาพ ไม่เป็นทางการ ,มีปริมาณเหมาะสมกับกิจกรรม ,ความสะอาด เรียบร้อยเป็นระเบียบ
การตกแต่งภายใน , เฟอร์นิเจอร์เหมาะสม ,แสงสว่าง สดใส,พื้นที่ทํางานได้
u คน ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม คิดเชิงบวก มีService Mind , ปฎิบัติตามกฎแต่ไม่ลืมความเป็นมนุษย์
u กิจกรรม มีอยู่อย่างต่อเนื่อง วาระต่างๆ การให้ความรู้จัดอบรม เวทีแห่งการเรียนรู้
u การสื่อสาร ทั้งกายภาพ ป้ายประกาศการสื่อความหมาย และสื่ออนไลน์ App Social Media
u การบริหารจัดการ เน้นความยืดหยุ่น ,เน้นผลมากกว่ากระบวนการ , มีการร่วมมือกันเป็นเครือข่าย
u งบประมาณ จากงบหลัก การหารายได้อื่นๆ การจัดอบรม
สุรพล บุญลือ
เอกสารอ้างอิง
u บุษกร รมยานนท์ การออกแบบพื้นที่สําหรับการเรียนรู้ด้วยตัวเองในมหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผัง
เมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
u จิตติ อภิบุญ 2569: พื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้กับการจัดการความรู้ งาน wunca34 ม.แม่ฟ้าหลวง
u Brown, M. & Long, P. (2006). Chapter 9: Trends in learning space design. In D. G. Oblinger (Ed.). Learning
spaces. (pp. 9.1-9.11). Educause: Washington, D.C. Retrieved May 15, 2014, from http://www.educause.
edu/research-and-publications/books/learning-spaces/chapter-9-trends-learning-space-design.
u วาสนา ศรีปรัชญาอนันต์: การเรียนรู้ของครอบครัวในพื้นที่การเรียนรู้ตามอัธยาศัย: การทบทวนวรรณกรรม (Family
Learning in Informal Learning Space: A Critical Review of Literature)
u อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง , แปลและเรียบเรียง , 2546
u บรรพต สร้อยศรี การพัฒนาห้องเรียนต้นแบบสํารหับการเรียนแบบร่วมกันที่เน้นปฎิบัติจริงในระดับอุดมศึกษา

More Related Content

What's hot

การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
Surapon Boonlue
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
Surapon Boonlue
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
Surapon Boonlue
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
Surapon Boonlue
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
Surapon Boonlue
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
Surapon Boonlue
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
Surapon Boonlue
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
Surapon Boonlue
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
Tar Bt
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksChangnoi Etc
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
Bengelo
 

What's hot (20)

การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
1
11
1
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 

Similar to Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0

Future library
Future libraryFuture library
Future library
joe aphiboon
 
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดOpen Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Boonlert Aroonpiboon
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
Maykin Likitboonyalit
 
Library for AEC
Library for AECLibrary for AEC
Library for AEC
Boonlert Aroonpiboon
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
Odosa Kasida
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาแนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
Boonlert Aroonpiboon
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
Humanities Information Center
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
Boonlert Aroonpiboon
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
Ploykarn Lamdual
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
Maykin Likitboonyalit
 

Similar to Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0 (20)

Future library
Future libraryFuture library
Future library
 
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดOpen Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
 
Library for AEC
Library for AECLibrary for AEC
Library for AEC
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาแนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
V 303
V 303V 303
V 303
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
1.2 พัฒนาการของห้องสมุด modern library
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
 

More from Surapon Boonlue

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
Surapon Boonlue
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
Surapon Boonlue
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
Surapon Boonlue
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
Surapon Boonlue
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
Surapon Boonlue
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
Surapon Boonlue
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
Surapon Boonlue
 
Answer sheet
Answer sheetAnswer sheet
Answer sheet
Surapon Boonlue
 
Ox game
Ox gameOx game
Millionaire game
Millionaire gameMillionaire game
Millionaire game
Surapon Boonlue
 

More from Surapon Boonlue (11)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
 
Answer sheet
Answer sheetAnswer sheet
Answer sheet
 
Ox game
Ox gameOx game
Ox game
 
Millionaire game
Millionaire gameMillionaire game
Millionaire game
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0