SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
วิชางานห้องสมุด
ห้องสมุด หมายถึง สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการต่าง ๆ ซึ่งได้
บันทึกในรู ปของหนังสื อวารสาร ต้นฉบับ ตัวเขียนหรื อ อุปกรณ์ โสต
ทัศน์วสดุ และมีการจัดอย่างเป็ นระเบียบ เพื่อบริ การแก่ผใช้ในอันจะ
         ั                                             ู้
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ และความจรรโลงใจ ตามความสนใจ และความ
                 ้่
ต้องการของผูอานแต่ละบุคคล
ความสาคัญของห้ องสมุด

1. ห้องสมุดเป็ นแหล่งรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้ และวิชาการ
ต่างๆ
2. ห้องสมุดเป็ นแหล่งที่สามารถเลือกหาความรู ้ขอมูล ข่าวสาร ได้
                                               ้
อย่างหลากหลาย ตามความสนใจและความต้องการของตนเอง
3. ห้องสมุดช่วยให้เป็ นผูที่ทนสมัยทันต่อเหตุการณ์เนื่ องจากข้อมูล
                         ้ ั
ข่าวสาร ความรู ้ และวิชาการต่าง ๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา
4. ห้องสมุดช่วยให้เกิดความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์เกิดนิสัยรักการอ่าน
5. ห้องสมุดช่วยปลูกฝังให้เป็ นพลเมืองดีเป็ นนักประชาธิ ปไตย มี
จรรยาบรรณรู้จกปฏิบติตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม
               ั      ั
ห้ องสมุดทุกประเภทมีวตถุประสงค์ ทั่วไป 5 ประการ
                     ั
1. เพื่อการศึกษา
       โดยการค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดทาให้มีความรอบรู้
กว้างขวาง สามารถตัดสิ นปั ญหาต่าง ๆได้อย่างถูกต้อง และนาความรู ้ไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมต่อไป
2. เพื่อความรู้
         ห้องสมุดเป็ นแหล่งรวบรวมความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง
เหมาะสมทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์
ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่สาคัญ และจาเป็ นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
3. เพื่อการค้นคว้าวิจย  ั
       ห้องสมุดเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับความก้าวหน้าทางวิชาการก่อให้เกิด
ความรู ้ใหม่ๆ ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบติงาน หรื อใช้แก้ไข
                                                    ั
ปั ญหาต่าง ๆของสังคม ห้องสมุดเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญที่เป็ นพื้นฐานใน
การค้นคว้าวิจย ั
4. เพื่อความจรรโลงใจ หรื อความสุ ขทางใจ
       เป็ นแรงบันดาลใจในทางสร้างสรรค์ปรารถนาที่จะกระทาความดีที่
เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
5. เพื่อนันทนาการหรื อพักผ่อนหย่อนใจ
       ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับชี วตมนุษย์ที่ ต้องการพักผ่อนสมอง
                                       ิ
ผ่อนคลายความตึงเครี ยด เกิดความเพลิดเพลินใจ สบายใจ วัสดุหองสมุด     ้
ที่มีเนื้ อหาสาระ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี
สามารถก่อให้เกิดนันทนาการได้
การแบ่ งประเภทของห้ องสมุดทีนิยมใช้ กนโดยทัวไป
                                      ่      ั   ่
                  แบ่ งได้ เป็ น 5 ประเภทคือ

       1. หอสมุดแห่ งชาติ หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรวบรวม
                                               ั
สิ่ งพิมพ์และวัสดุที่เป็ นสื่ อความรู ้ทุกชนิด
จัดให้ใช้ประโยชน์ในการค้นคว้าวิจย และเผยแพร่ สื่อและวัสดุเหล่านั้น
                                          ั
เช่น หอสมุดวชิ รญาณหอสมุดดารงราชานุภาพ หอสมุดเฉลิมพระเกียรติ
                               ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวหอสมุดแห่ งชาติสาขาเชียงใหม่ เป็ นต้น
2. ห้ องสมุดประชาชน หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นเพื่อให้
                                                 ั
การศึกษาแก่ประชาชนทุกคนทาหน้าที่เป็ นศูนย์รวมวิชาการ ข้อมูล
ข่าวสาร ความรู ้ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นได้รับความรู ้ที่ทนสมัย
                                                            ั
ทันต่อเหตุการณ์และความเจริ ญก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ
3. ห้ องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้ง
                                                             ั
ขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อทาหน้าที่ส่งเสริ มสถาบันการศึกษาของตน
ให้ดาเนิ นการจัดการศึกษาและการวิจยไปสู่ จุดหมายปลายทางที่วางไว้
                                    ั
โดยการจัดบริ การทางวิชาการ ส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนการศึกษา การ
ค้นคว้าวิจยในทุกสาขาวิชาของสถาบัน
            ั
การพัฒนาการทางด้านวิชาการต่าง ๆ
4. ห้ องสมุดโรงเรี ยน หมายถึงห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นในโรงเรี ยน ทา
                                                  ั
หน้าที่ส่งเสริ มการเรี ยนการสอนตามหลักสู ตรให้มีประสิ ทธิ ภาพ
สร้างเสริ มนิสัยรักการอ่าน เกิดทักษะในการใช้วสดุสิ่งพิมพ์ และวัสดุ
                                                ั
การศึกษาอื่นๆ เพื่อเป็ นการปูพ้ืนฐานไปสู่ การใช้หองสมุด หรื อ
                                                    ้
แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ต่อไปในอนาคต
5. ห้ องสมุดเฉพาะ หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นโดยหน่วยงาน
                                               ั
ทาหน้าที่เก็บรวบรวมวัสดุห้องสมุดในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรื อกลุ่ม
วิชาที่เกี่ยวข้องที่มีเนื้อหาทันสมัย
ทาหน้าที่เป็ นศูนย์เอกสาร หรื อศูนย์สารนิเทศ โดยเน้นการให้บริ การด้าน
สารนิ เทศแก่บุคลากรในหน่วยงานเป็ นสาคัญ
เช่น ห้องสมุดคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยทุกแห่ง
บริการที่จัดในห้ องสมุด

1. บริ การให้อ่านและให้ยมโดยเสรี
                        ื
2. บริ การแนะนาวิธีการใช้ห้องสมุด
ด้วยการจัดปฐมนิ เทศนักเรี ยนทุกชั้นเพื่อให้รู้จกและเข้าถึงความมุ่งหมาย
                                               ั
และวิธีการใช้หองสมุด
                ้
3. บริ การตอบคาถามและช่วยค้นคว้า ในข้อสงสัยทุกเรื่ องตั้งแต่
คาถามเพื่อสนองความอยากรู ้ทวไปจนถึงคาถามทางวิชาการ
                              ั่
      4. บริ การจัดทารายชื่อหนังสื อ
เพื่อประกอบการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทั้งแก่นกเรี ยนและครู
                                             ั
5. บริ การแนะแนวการอ่าน เพื่อให้นกเรี ยนอ่านเป็ น
                                         ั
คือ รู้จกลักษณะของหนังสื อ รู้จกเลือกหนังสื อใช้ประโยชน์ได้ตาม
        ั                      ั
ต้องการ
6. บริ การยืมระหว่างห้องสมุด ปั จจุบนสารสนเทศกระจายอยูตาม
                                           ั                      ่
ห้องสมุดต่าง ๆผูใช้บริ การที่ไม่อาจเดินทางไปใช้บริ การหนังสื อได้ จึง
                   ้
ได้มีการเชื่ อมโยงระหว่างห้องสมุดกับห้องสมุดที่จะให้ความร่ วมกันใน
การให้บริ การหนังสื อโดยการจัดทาฉบับสาเนา บริ การนี้เป็ นบริ การที่
อานวยความสะดวกต่อผูใช้ส่วนใหญ่จะมีให้บริ การในห้องสมุดที่มี
                         ้
ขนาดใหญ่มีผใช้บริ การจานวนมาก
               ู้
จัดทาโดย
นางสาวศิริภาวรรณ สาธร
  ป.บัณฑิต ร่ ุ น 16 หมู่4
  รหัส 5250186618147

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุด
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุดLibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุด
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2Ploykarn Lamdual
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.PptSupaporn Khiewwan
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศO Phar O Amm
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ bookPloykarn Lamdual
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือPloykarn Lamdual
 

What's hot (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุด
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุดLibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุด
LibJu - 1.3 งานบริการห้องสมุด
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือ
 
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสารG14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
 

Similar to วิชางานห้องสมุด

ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศnok_waraporn
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนMarg Kok
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ ssuser5253fc
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์Humanities Information Center
 

Similar to วิชางานห้องสมุด (20)

ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
7
77
7
 
7
77
7
 
V 271 1
V 271 1V 271 1
V 271 1
 
By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22
 
Seminar At Singapore
Seminar At SingaporeSeminar At Singapore
Seminar At Singapore
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 

วิชางานห้องสมุด

  • 2. ห้องสมุด หมายถึง สถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการต่าง ๆ ซึ่งได้ บันทึกในรู ปของหนังสื อวารสาร ต้นฉบับ ตัวเขียนหรื อ อุปกรณ์ โสต ทัศน์วสดุ และมีการจัดอย่างเป็ นระเบียบ เพื่อบริ การแก่ผใช้ในอันจะ ั ู้ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ และความจรรโลงใจ ตามความสนใจ และความ ้่ ต้องการของผูอานแต่ละบุคคล
  • 3. ความสาคัญของห้ องสมุด 1. ห้องสมุดเป็ นแหล่งรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้ และวิชาการ ต่างๆ 2. ห้องสมุดเป็ นแหล่งที่สามารถเลือกหาความรู ้ขอมูล ข่าวสาร ได้ ้ อย่างหลากหลาย ตามความสนใจและความต้องการของตนเอง 3. ห้องสมุดช่วยให้เป็ นผูที่ทนสมัยทันต่อเหตุการณ์เนื่ องจากข้อมูล ้ ั ข่าวสาร ความรู ้ และวิชาการต่าง ๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา
  • 4. 4. ห้องสมุดช่วยให้เกิดความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์เกิดนิสัยรักการอ่าน 5. ห้องสมุดช่วยปลูกฝังให้เป็ นพลเมืองดีเป็ นนักประชาธิ ปไตย มี จรรยาบรรณรู้จกปฏิบติตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม ั ั
  • 5. ห้ องสมุดทุกประเภทมีวตถุประสงค์ ทั่วไป 5 ประการ ั 1. เพื่อการศึกษา โดยการค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดทาให้มีความรอบรู้ กว้างขวาง สามารถตัดสิ นปั ญหาต่าง ๆได้อย่างถูกต้อง และนาความรู ้ไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมต่อไป
  • 6. 2. เพื่อความรู้ ห้องสมุดเป็ นแหล่งรวบรวมความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง เหมาะสมทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่สาคัญ และจาเป็ นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
  • 7. 3. เพื่อการค้นคว้าวิจย ั ห้องสมุดเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับความก้าวหน้าทางวิชาการก่อให้เกิด ความรู ้ใหม่ๆ ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบติงาน หรื อใช้แก้ไข ั ปั ญหาต่าง ๆของสังคม ห้องสมุดเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญที่เป็ นพื้นฐานใน การค้นคว้าวิจย ั
  • 8. 4. เพื่อความจรรโลงใจ หรื อความสุ ขทางใจ เป็ นแรงบันดาลใจในทางสร้างสรรค์ปรารถนาที่จะกระทาความดีที่ เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
  • 9. 5. เพื่อนันทนาการหรื อพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับชี วตมนุษย์ที่ ต้องการพักผ่อนสมอง ิ ผ่อนคลายความตึงเครี ยด เกิดความเพลิดเพลินใจ สบายใจ วัสดุหองสมุด ้ ที่มีเนื้ อหาสาระ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี สามารถก่อให้เกิดนันทนาการได้
  • 10. การแบ่ งประเภทของห้ องสมุดทีนิยมใช้ กนโดยทัวไป ่ ั ่ แบ่ งได้ เป็ น 5 ประเภทคือ 1. หอสมุดแห่ งชาติ หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรวบรวม ั สิ่ งพิมพ์และวัสดุที่เป็ นสื่ อความรู ้ทุกชนิด จัดให้ใช้ประโยชน์ในการค้นคว้าวิจย และเผยแพร่ สื่อและวัสดุเหล่านั้น ั เช่น หอสมุดวชิ รญาณหอสมุดดารงราชานุภาพ หอสมุดเฉลิมพระเกียรติ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวหอสมุดแห่ งชาติสาขาเชียงใหม่ เป็ นต้น
  • 11. 2. ห้ องสมุดประชาชน หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นเพื่อให้ ั การศึกษาแก่ประชาชนทุกคนทาหน้าที่เป็ นศูนย์รวมวิชาการ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นได้รับความรู ้ที่ทนสมัย ั ทันต่อเหตุการณ์และความเจริ ญก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ
  • 12. 3. ห้ องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้ง ั ขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อทาหน้าที่ส่งเสริ มสถาบันการศึกษาของตน ให้ดาเนิ นการจัดการศึกษาและการวิจยไปสู่ จุดหมายปลายทางที่วางไว้ ั โดยการจัดบริ การทางวิชาการ ส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนการศึกษา การ ค้นคว้าวิจยในทุกสาขาวิชาของสถาบัน ั การพัฒนาการทางด้านวิชาการต่าง ๆ
  • 13. 4. ห้ องสมุดโรงเรี ยน หมายถึงห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นในโรงเรี ยน ทา ั หน้าที่ส่งเสริ มการเรี ยนการสอนตามหลักสู ตรให้มีประสิ ทธิ ภาพ สร้างเสริ มนิสัยรักการอ่าน เกิดทักษะในการใช้วสดุสิ่งพิมพ์ และวัสดุ ั การศึกษาอื่นๆ เพื่อเป็ นการปูพ้ืนฐานไปสู่ การใช้หองสมุด หรื อ ้ แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ต่อไปในอนาคต
  • 14. 5. ห้ องสมุดเฉพาะ หมายถึง ห้องสมุดที่จดตั้งขึ้นโดยหน่วยงาน ั ทาหน้าที่เก็บรวบรวมวัสดุห้องสมุดในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรื อกลุ่ม วิชาที่เกี่ยวข้องที่มีเนื้อหาทันสมัย ทาหน้าที่เป็ นศูนย์เอกสาร หรื อศูนย์สารนิเทศ โดยเน้นการให้บริ การด้าน สารนิ เทศแก่บุคลากรในหน่วยงานเป็ นสาคัญ เช่น ห้องสมุดคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยทุกแห่ง
  • 15. บริการที่จัดในห้ องสมุด 1. บริ การให้อ่านและให้ยมโดยเสรี ื 2. บริ การแนะนาวิธีการใช้ห้องสมุด ด้วยการจัดปฐมนิ เทศนักเรี ยนทุกชั้นเพื่อให้รู้จกและเข้าถึงความมุ่งหมาย ั และวิธีการใช้หองสมุด ้
  • 16. 3. บริ การตอบคาถามและช่วยค้นคว้า ในข้อสงสัยทุกเรื่ องตั้งแต่ คาถามเพื่อสนองความอยากรู ้ทวไปจนถึงคาถามทางวิชาการ ั่ 4. บริ การจัดทารายชื่อหนังสื อ เพื่อประกอบการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทั้งแก่นกเรี ยนและครู ั
  • 17. 5. บริ การแนะแนวการอ่าน เพื่อให้นกเรี ยนอ่านเป็ น ั คือ รู้จกลักษณะของหนังสื อ รู้จกเลือกหนังสื อใช้ประโยชน์ได้ตาม ั ั ต้องการ
  • 18. 6. บริ การยืมระหว่างห้องสมุด ปั จจุบนสารสนเทศกระจายอยูตาม ั ่ ห้องสมุดต่าง ๆผูใช้บริ การที่ไม่อาจเดินทางไปใช้บริ การหนังสื อได้ จึง ้ ได้มีการเชื่ อมโยงระหว่างห้องสมุดกับห้องสมุดที่จะให้ความร่ วมกันใน การให้บริ การหนังสื อโดยการจัดทาฉบับสาเนา บริ การนี้เป็ นบริ การที่ อานวยความสะดวกต่อผูใช้ส่วนใหญ่จะมีให้บริ การในห้องสมุดที่มี ้ ขนาดใหญ่มีผใช้บริ การจานวนมาก ู้
  • 19. จัดทาโดย นางสาวศิริภาวรรณ สาธร ป.บัณฑิต ร่ ุ น 16 หมู่4 รหัส 5250186618147