SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
LOGO



     บทที่ 5 การเรียนรู้ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)


1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา




                                                ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต
หัวข้ อบรรยาย
  •   บทนำและควำมเป็ นมำของ e-Learning
  •   ควำมหมำยของ e-Learning
  •   ประโยชน์ของ e-Learning
  •   คุณสมบัติของ e-Learning
  •   ข่ำยงำน (Framework) ของ e-Learning
  •   ส่ วนประกอบของ e-Learning
  •   ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนำ e-Learning
  •   สถำปั ตยกรรมเครื อข่ำยของ e-Learning
  •   กำรดำเนินกำรพัฒนำระบบ e-Learning
  •   กำรจัดกำรศึกษำระบบ e-Learning ในมหำวิทยำลัยของประเทศไทย
  •   ปัญหำและอุปสรรคของ e-Learning
                                                           ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                               Company
                                                                             ณฑิต
บทนา
 • ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีเครื อข่ำยคอมพิวเตอร์ กระตุนให้้
   เกิดกำรศึกษำผ่ำนเครื อข่ำย โดยเฉพำะอินเตอร์เน็ต
 • สนับสนุนด้ำนกำรศึกษำ สร้ำงโอกำสของกำรเรี ยนรู้ให้
   ทัดเทียมกัน
 • สนับสนุนกำรฝึ กอบรมในสถำนประกอบกำรให้ได้รับ
   ประโยชน์สูงสุ ด
     • Online Training ผ่ำนเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ
       e-Training
                            3                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                     Company
                                                                   ณฑิต
บทนำ

 • มีบทบำทต่อกำรเรี ยนกำรสอนทุกรู ปแบบ โดยเฉพำะ
   กำรศึกษำทำงไกล(Distance Learning)
 • สนับสนุนกำรศึกษำแบบ L3 (Life Long Learning) หมำยถึง
   กำรศึกษำตลอดชีวิต
    • ผูเ้ รี ยนไม่ตองเสี ยเวลำเดินทำงเข้ำร่ วมศึกษำในชั้นเรี ยนและไม่
                    ้
              ่ ั
       ขึ้นอยูกบเวลำ



                                  4                         ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                Company
                                                                              ณฑิต
ความหมายของ e-Learning

e-Learning เกิดจำกคำศัพท์ 2 คำ
• e ซึ่ งมำจำก Electronic ที่มีควำมหมำยในเชิงของควำมรวดเร็ วโดย
  ทำงำนในระบบอัตโนมัติ
• Learning ซึ่งหมำยถึง กำรเรี ยน กำรเรี ยนรู้ หรื อกำรเรี ยนกำรสอน

                            e-Learning
                      Electronic + Learning

                               5                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                          Company
                                                                        ณฑิต
ความหมายของ e-Learning

                                           ่
  • กระบวนกำรเรี ยนรู้ทำงไกลอย่ำงอัตโนมัติผำนสื่ อ
    อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media)
     •   ซีดีรอม
     •   เครื อข่ำยอินทรำเน็ต
     •   เครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต
     •   เครื อข่ำยเอ็กซ์ทรำเน็ต
     •   ระบบเสมือนจริ ง (Virtual Reality System)
     •   สื่ ออื่น ๆ
                                 ่ ั
                   โดยไม่ข้ ึนอยูกบเวลำและสถำนที่
                                  6                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                         Company
                                                                       ณฑิต
ความหมายของ e-Learning

  Kurtus กล่ำวว่ำ
  • “e-Learning             เป็ นรู ปแบบหนึ่ งของกำรจัดเนื้อหำสำระที่สร้ำงเป็ นบทเรี ยน
    สำเร็ จรู ปที่อำจใช้ซีดีรอมเป็ นสื่ อกลำงในกำรส่ งผ่ำนควำมรู ้หรื อใช้เครื อข่ำย
    อินทรำเน็ตหรื อเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ต รู ปแบบของ e-Learning อำจเป็ น
      • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน            (CAI – Computer-Assisted Instruction)
      • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึ กอบรม       (CBT – Computer-Based Training)
      • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ      (WBI – Web-Based Instruction)
      เพื่อใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนทำงไกล”




                                         7                              ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                            Company
                                                                                          ณฑิต
ความหมายของ e-Learning

Content
                Computer
Exercise/Test
                Networking      e-Learning
Media/Aids
                Communication
Activities
                Technology
Courseware
                    8            ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                     Company
                                                   ณฑิต
ประโยชน์ ของ e-Learning


ความสะดวกสบาย (Convenient) สามารถจัดการศึกษาให้ กับผู้เรียนได้
 ตามความต้ องการโดยไม่ ต้องอาศัยชั้นเรียน
ความสั มพันธ์ กบปัจจุบัน (Relevant) สามารถปรับเปลียนเนือหาสาระและ
                  ั                                ่ ้
 ข้ อมูลต่ าง ๆ ตามสถานการณ์ ปัจจุบันได้ ง่าย
ความเร็วแบบทันทีทันใด (Immediate)




                               9                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                          Company
                                                                        ณฑิต
ประโยชน์ ของ e-Learning


ความเป็ นเลิศของระบบ (Excellent) สามารถนาเสนอเนื้อหาสาระและ
 ระบบการจัดการที่มีความเป็ นเลิศ ทันสมัย และน่ าสนใจ
การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
                    ั
  • ปฏิสมพันธ์กบบทเรี ยนโดยตรง
         ั
  • ปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้เ รี ยนที่ อ ยู่ ต่ ำ งชุ ม ชนด้ ว ยควำมสะดวกและมี
    ประสิ ทธิภำพ เพื่อร่ วมกันสร้ำงสรรค์องค์ควำมรู ้ในลักษณะของระบบ
    กำรเรี ยนรู ้ร่วมกัน (Collaborative Learning System)


                                       10                          ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                       Company
                                                                                     ณฑิต
ประโยชน์ ของ e-Learning



ความเป็ นสหวิชาการ (Interdisciplinary) เป็ นการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ องกันหลายวิชา
                                                                ่
 หรือเรียกว่ า สหวิชาการ




                                         11                            ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                           Company
                                                                                         ณฑิต
คุณสมบัตของ e-Learning
        ิ

e-Learning is dynamic หมายถึง เนือหาสาระและข้ อมูลที่ปรากฏอยู่ใน
                                   ้
 ระบบ e-Learning เป็ นข้ อมูลที่มีความเป็ นพลวัต (Dynamic)
 เปลียนแปลงได้ ง่าย
     ่
e-Learning operates in real time หมายถึง การทางานของระบบ e-
 Learning เป็ นระบบเวลาจริง
e-Learning is empowering หมายถึง ระบบ       e-Learning สามารถ
 ควบคุมการนาเสนอเนือหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียน การนาเสนอสื่ อ
                     ้
 การเรียนการสอน และส่ วนของการจัดการอืน ๆ ตามความสามารถในการ
                                      ่
 เรียนรู้ของผู้เรียน
                               12                     ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                          Company
                                                                        ณฑิต
คุณสมบัตของ e-Learning
        ิ

e-Learning is individual หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ด้วย
 ตนเองของ e-Learning จะสั มพันธ์ กบประสบการณ์ ของผู้เรียน
                                  ั
 แต่ ละคน
e-Learning is comprehensive หมายถึง ความสามารถของ e-
 Learning ในการจัดการกับข้ อมูลจากแหล่ งต่ าง ๆ อย่ างเข้ าใจและ
 ชาญฉลาด
e-Learning enables the enterprise หมายถึง ความสามารถใน
 การสร้ างงานหรือภารกิจของ e-Learning ต่ อกลุ่มผู้เรียนหรือ
 สมาชิกผู้ประกอบการด้ วยกัน
                                13                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                          Company
                                                                        ณฑิต
คุณสมบัตของ e-Learning
        ิ


e-Learning is effective หมายถึง ความสามารถทางด้ าน
 ประสิ ทธิผลของ e-Learning ในการทาให้ ผ้ ูเรียนมีการปฏิสัมพันธ์
 กับบทเรียนแล้ วได้ รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจน
 มีความคงทนในการเรียนรู้ สูง (Retention of Learning)
e-Learning is express หมายถึง ความรวดเร็วของ e-Learning
 ในการสร้ างสรรค์ องค์ ความรู้ ใ ห้ กับ ผู้เรี ยนได้ อย่ างรวดเร็ วตาม
 ต้ องการ

                                 14                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                             Company
                                                                           ณฑิต
คุณสมบัตของ e-Learning
         ิ

e-Learning is experiencetial ผู้เรียนมีประสบการณ์ เหมือนการเรียนใน
 ห้ องเรียนหลังจากเรียนบทเรียนตามปัจจัยทีผู้ออกแบบตั้งไว้
                                            ่
   กำรติดตำมบทเรี ยน (Engagement)
   กำรอยำกรู ้อยำกเห็น (Curiosity)
   กำรสร้ำงสถำนกำรจำลองและกำรฝึ กปฏิบติ (Simulations and Practice)
                                              ั
   กำรช่วยเหลือ (Coaching)
   กำรแก้ไขและกำรรักษำบทเรี ยน (Remediation)
   สร้ำงชุมชนกำรเรี ยนรู ้ (Pier Learning)
                                15                     ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                           Company
                                                                         ณฑิต
คุณสมบัตของ e-Learning
         ิ

e-Learning is experiencetial (ต่ อ)
  กำรเรี ยนรู้แบบมีชีวิตชีวำ (Action Learning)
  กำรสนับสนุนควำมสำมำรถ (Support Performance)
  ควำมเข้มข้น (Intensity) ของเนื้อหำ
  กำรประเมินผลและกำรให้ขอมูลป้ อนกลับ (Assessment and
                               ้
    Feedback)
  วัฒนธรรมกำรสอน (Teaching Culture)

                            16                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                    Company
                                                                  ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning


                         Manage Site


                                        Administrator
                         Classroom


       Student
                         Presentation


                                          Academic
                         Enrollment

        General
        Public

                             17                ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                   Company
                                                                 ณฑิต
สภาวะแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง




          Learner                           Co-Learner

                            Internet
               Helpdesk
                                              Expert / Faculty
                                   Static Content

            Dynamic Content



                                       18                   ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                Company
                                                                              ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

            Web-Based Learning Materials


     Lectures                               e-Discussion
                                             Groups
                         Student

     Tutorials                             e-Libraries


                 Textbooks/Journals


                  Quality and Assessment
                             19                          ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                             Company
                                                                           ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning
ผู้ เรียน (Student)
วัสดุการเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning Materials)
   บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ
         • WBI (Web-Based Instruction)
         • WBT (Web-Based Training)
         • IBT (Internet-Based Training)
         • NBT (Net-Based Training)
   สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide)
         • Powerpoint Slide
                                 20                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                             Company
                                                                           ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

   หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
      • กำรใช้โปรแกรม Acrobat Reader อ่ำนไฟล์เอกสำร pdf
   เอกสำรคำสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes)
      • ไฟล์ doc, ไฟล์ html
   วีดิทศน์และเสี ยงดิจิตอล (Video and Digital Sound)
         ั
      • กำรใช้โปรแกรม RealVideo ดูภำพวีดิทศน์ และ RealAudio ฟังเสี ยง
                                              ั
   เอกสำรไฮเปอร์ เท็กซ์และไฮเปอร์ มีเดีย (Hypertext and Hypermedia
    Document)

                                21                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                            Company
                                                                          ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

การบรรยายการสอน (Lectures) ใช้ วธีการบรรยายแบบออนไลน์
                                    ิ
 ผ่ านช่ องทางโทรคมนาคม ในส่ วนเนือหาที่สาคัญเป็ นครั้งคราว
                                  ้
   ระบบเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ต
   ระบบดำวเทียม
   ระบบโทรทัศน์ตำมสำย (Cable TV)
   ช่องทำงอื่น ๆ ตำมที่ตกลงกันไว้ก่อนระหว่ำงผูดำเนิ นกำรและ
                                                  ้
     ผูเ้ รี ยน

                            22                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                    Company
                                                                  ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

การสอนเสริม (Tutorials) เพือเพิมความเข้ าใจเนือหาบทเรียนทีมี
                              ่ ่              ้            ่
 ความยาก กระทาโดยวิธีการออนไลน์ ผ่านเครือข่ ายเช่ นเดียวกันกับ
 การบรรยายการสอน
หนังสื อ/บทความ (Textbooks/Journal) เพือให้ ผู้เรียนศึกษา
                                         ่
 เพิมเติม
    ่
ห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Libraries)


                              23                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                        Company
                                                                      ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

การวิจารณ์ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Discussion Groups) เพือสร้ างบรรยากาศ
                                                              ่
 ให้ ใกล้เคียงห้ องเรียนจริงผ่ านสื่ อออนไลน์ แบ่ งตามการใช้ งานเป็ น
   ระบบกำรดำเนินกำรพร้อมกัน (Synchronous System)
       • กำรสนทนำแบบเวลำจริ ง (Realtime Chat) เช่น กำรใช้โปรแกรม
          ICQ, PIRCH หรื อ IRC (Internet Relay Chat)
       • กำรประชุมทำงไกลด้วยวีดิทศน์และเสี ยง (Video and Audio
                                          ั
          Teleconferencing) เช่ น กำรใช้โปรแกรม NetMeetings สำหรั บกำร
          ประชุมทำงไกลร่ วมกัน
       • กำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมกัน (Collaborative Learning System)
                                  24                       ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                               Company
                                                                             ณฑิต
ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning

  ระบบกำรดำเนินกำรไม่พร้อมกัน (Asynchronous System)
    • กำรใช้กระดำนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Board) เช่น กำร
      ใช้กระดำนข่ำว BBS (Bulletin Board System), Webboard,
      Newsgroup
    • กำรใช้จดหมำยอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Mail) เพื่อเป็ นช่องทำงใน
      กำรถำมตอบปัญหำต่ำง ๆ
    • กำรใช้บริ กำรอื่น ๆ เช่น กำรถ่ำยโอนข้อมูลโดยใช้ ftp

                             25                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                       Company
                                                                     ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning

Learning Management System (LMS)

Content Management System (CMS)

Delivery Management System (DMS)        Student

Test Management System (TMS)

 e-Learning
     ส่ วนประกอบของ e-Learning
                                   26     ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                              Company
                                                            ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning
Learning Management System (LMS) :ระบบการจัดการด้ านการเรียนรู้
 จะต้ องนาพาผู้เรียนไปยังเปาหมายทีต้องการ นับตั้งแต่ การลงทะเบียนเรียน
                                  ้      ่
 จนถึงการประเมินผล
   เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็ นระบบสำหรับนำทำงและจัดกำร
    เกี่ยวกับบทเรี ยนทั้งหมด ทั้งควำมต้องกำรและกิจกรรมกำรเรี ยนกำร
    สอนที่เกิดขึ้น
   CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็ นส่ วนประกอบส่ วนหนึ่งของ e-
    Learning ที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกอบรมตำมประสบกำรณ์ของตนเอง ซึ่ง
    เป็ นระบบที่ทำหน้ำที่จดกำรรำยกำรต่ำง ๆ ตั้งแต่ตนจนจบ นับตั้งแต่กำร
                                ั                   ้
    ลงทะเบียน กำรสื บท่อง (Navigation) กำรเลือกบทเรี ยน และกำร
    ต่อเชื่อมเข้ำระบบ                   27                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต
                                                                     Company Logoต
                                                                     ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิ
ส่ วนประกอบของ e-Learning : LMS

LMS มีหน้ าที่ดงนี้
               ั
การบริหารและการจัดการบทเรียน (Administration)
การจัดการรวบรวมเนือหาบทเรียน (Organizational
                      ้
 Management)
การจัดการด้ านเวลา (Time Management)
การรายงานการเรียน (Reporting)
การวิเคราะห์ ความต้ องการ (Needs Analysis)

                           28                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                     Company
                                                                   ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning : LMS

LMS มีหน้ าที่ดงนี้
               ั
การเตรียมการวางแผนบทเรียน (Preplanning)
การจัดตารางเวลาการเรียน (Scheduling)
การจัดการด้ านองค์ ความรู้ (Knowledge Management – KM)
การวางแผนด้ านทรัพยากรข้ อมูล (Resources Planning)
การจัดการด้ านการออกใบรับรองผล (Qualification
 Management)

                            29                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                    Company
                                                                  ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning : CMS

Content Management System (CMS) หมายถึงระบบการจัดการด้ าน
 เนือหา ซึ่งเป็ นส่ วนบริการสาหรับผู้ออกแบบหรือผู้พฒนาบทเรียนในการ
    ้                                              ั
 สร้ างสรรค์ และนาเสนอเนือหาบทเรียน
                            ้
   เนื้อหำ
   ส่ วนของกำรลงทะเบียน
   กำรรวบรวม
   กำรจัดกำรเนื้อหำ
   กำรนำส่ งเนื้อหำ
   กำรพิมพ์เป็ นเอกสำร หรื อกำรบันทึกลงซีดีรอม
                               30                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                           Company
                                                                         ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning

Delivery Management System (DMS)หมายถึง ระบบการจัดการด้ านการ
 นาส่ ง ซึ่งเป็ นการนาส่ งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การ
 นาส่ งบทเรียนจึงรวมถึง
   กำรจัดกำรบนเครื อข่ำยคอมพิวเตอร์
   กำรพิมพ์เป็ นเอกสำรสำหรับผูเ้ รี ยน
   กำรบันทึกลงสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
   กำรนำส่ งบทเรี ยนในรู ปแบบอื่น ๆ ไปยังผูเ้ รี ยน


                                    31                       ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                 Company
                                                                               ณฑิต
ส่ วนประกอบของ e-Learning


Test Management System (TMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้ าน
 การทดสอบ
   กำรจัดกำรและกำรนำส่ ง
                        ั
   กำรดำเนินกำรสอบให้กบผูเ้ รี ยน
   กำรประเมินผลควำมก้ำวหน้ำของผูเ้ รี ยนในระบบ e-Learning



                            32                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                    Company
                                                                  ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning

Blackboard’s Courseinfo (www.blackboard.com), USA.
Lotus LearningSpace (www.lotus.com) ของ IBM Corp., USA.
WebCT (www.webct.com) ของ University of British Columbia,
 Canada
Topclass (www.wbtsystems.com) ของ WBT System, USA.
SAP (www.sap.com) ของ SAP’s Corporate Research Center,
 Germany
Education Sphere (www.educationsphere.com) ของ USA

                           33                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                   Company
                                                                 ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning




                                     34
                                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                        Company
                                                      ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning




                                     35
                                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                        Company
                                                      ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning




                                     36
                                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                        Company
                                                      ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning




                                     37
                                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                        Company
                                                      ณฑิต
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning
  38




บทเรียนและ Virtual Lab ในระบบ e-Learning ของ Igenetic, Germany ทีใช้ SAP เป็ น LMS
                                                                 ่

                                                                                     ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                                         Company
                                                                                                       ณฑิต
สถาปัตยกรรมเครือข่ ายของ e-Learning
         Service Center                          VPN (Virtual Private Network)
                                                   Virtual Private Network (VPN)
   Central Servers
   Search Engine




    สถาปั ตยกรรมเครื อข่ ายของ e-Learning
                                                                  e-Learning Center
                                                        Learn Center
                                               PC
                                                        Proxy Servers


                                            39                                        ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                                          Company
                                                                                                        ณฑิต
สถาปัตยกรรมเครือข่ ายของ e-Learning
ศูนย์ บริการ (Service Center)
   เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลำง (Central Servers)
   เครื่ องมือช่วยค้นหำ (Search Engine)
เครือข่ ายส่ วนตัวเสมือน (Virtual Private Network - VPN)
ศูนย์ การเรียนรู้ (e-Learning Center)
   ศูนย์เรี ยนรู ้ (Learn Center)
   เครื่ องคอมพิวเตอร์ (PC)
   เครื่ องพร๊ อกซีเซิร์ฟเวอร์ (Proxy Servers)

                                  40                        ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                Company
                                                                              ณฑิต
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning เพือจัดการเรียนการ
                                       ่
  สอนทางไกลไปยังกลุ่มเปาหมาย จาแนกออกเป็ นด้ านต่ าง ๆ
                         ้
  ดังนี้
    กำรดำเนินกำรด้ำนเทคโนโลยี
    กำรดำเนินกำรด้ำนเนื้อหำบทเรี ยน
    กำรดำเนินกำรด้ำนกำรบริ หำรและจัดกำรระบบ


                         41                 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                Company
                                                              ณฑิต
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning

การดาเนินการด้ านเทคโนโลยี
   เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology)
       • เซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนกลำง (Central Servers) ที่มีควำมเร็ วในกำรประมลผลสู ง มีหน่วย
         เก็บควำมจุที่มีปริ มำณมำกเพียงพอ
    เทคโนโลยีเครื อข่ำย (Network Technology)
       • เครื อข่ำยอินทรำเน็ต อินเตอร์เน็ต และเครื อข่ำยเอ๊กซ์ทรำเน็ต
    เทคโนโลยีกำรสื่ อสำร (Communication Technology)
       • สำยโทรศัพท์ สำยเช่ำ เคเบิลใต้น้ ำ ดำวเทียมเพื่อกำรสื่ อสำร หรื อระบบกำร
         สื่ อสำรอื่น

                                          42                            ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                            Company
                                                                                          ณฑิต
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
การดาเนินการด้ านเนือหาบทเรียน
                      ้
   ผูจดเตรี ยมเนื้อหำบทเรี ยน (Content Provider)
      ้ั
        • ออกแบบ วิเครำะห์ และสังเครำะห์เนื้อหำสำระ ตั้งแต่โครงสร้ำงของบทเรี ยน เนื้อหำ
          บทเรี ยน สื่ อกำรเรี ยนกำรสอน วิธีกำรสอน กิจกรรม กำรตรวจปรับ และคำถำมที่จะใช้ใน
          บทเรี ยนเพื่อกำรประเมินผลกำรเรี ยนรู้
     ผูจดกำรบทเรี ยน (Program Director)
        ้ั
        • มำออกแบบเป็ นคอร์สแวร์ของบทเรี ยน ซึ่ งผลลัพธ์ในขั้นนี้คือบทดำเนินเรื่ อง (Storyboard)
          และผังงำนของบทเรี ยน (Lesson Flowchart)
     นักโปรแกรม (Programmer)
     ผูเ้ ชี่ยวชำญ (Expert) จำแนกออกเป็ น 2 ด้ำน
        • ด้ำนเนื้อหำ และด้ำนเทคนิคและวิธีกำร


                                             43                               ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                                  Company
                                                                                                ณฑิต
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
การดาเนินการด้ านการบริหารและจัดการระบบ เป็ นการเลือกใช้
 LMS ในการ
    กำรประชำสัมพันธ์หลักสูตร
    กำรจัดตำรำงเวลำ
    กำรลงทะเบียน
    กำรกำหนดสิ ทธิ์
    กำรรักษำควำมปลอดภัย
    กำรสื บท่อง
    กำรค้นหำ
    กำรจัดกำรเรี ยนกำรสอน
    กำรรำยงำนผลกำรเรี ยน
                                44                ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                      Company
                                                                    ณฑิต
การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
ประเด็นในการพิจารณาในการดาเนินการด้ าน
การบริหารและจัดการระบบ
การเลือกใช้ ระบบ LMS ทีเ่ หมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ
การคุ้ มค่ าต่ อการลงทุน
การช่ วยส่ งเสริมและพัฒนาทักษะของผู้เรียน
กระบวนการสร้ างปฏิสัมพันธ์ ที่ผ้ ูเรียนมีต่อบทเรียน
การใช้ ทรัพยากรทีมอยู่ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
                     ่ ี
การเปลียนแปลงกระบวนทัศน์ ของการศึกษา
         ่
การพิจารณาปัจจัยด้ านกาลังคน


                                       45              ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                           Company
                                                                         ณฑิต
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย



มหาวิทยาลัยรามคาแหงตั้งศูนย์ e-Learning โดยใช้ Education Sphere เป็ น
 LMS
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้ จัดตั้งเครือข่ าย www.chulaonline.com เพื่อ
 ให้ บริการการเรียนการสอนระบบ e-Learning ผ่ านเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต
สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าพระนครเหนื อ จั ด ตั้ งเครื อข่ าย
 www.kmitnbonline.com



                                  46                     ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                             Company
                                                                           ณฑิต
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย




                             47                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                       Company
                                                                     ณฑิต
การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย




                            48                    ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                      Company
                                                                    ณฑิต
ึ
การจ ัดการศกษาระบบ e-Learning
ในมหาวิทยาล ัยของประเทศไทย
49




                          ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                              Company
                                            ณฑิต
ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning

ปัญหาด้ านเทคนิค
   ปัญหำด้ำนฮำร์ดแวร์และเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์ต่อเชื่อม
    ระบบ ซึ่งมี Band width ต่ำ
   ควำมสำมำรถของซอฟท์แวร์ในกำรบีบอัดข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ไม่
    สำมำรถส่ งข้อมูล Multimedia ได้ดี
   ควำมไม่พร้อมของเครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต
    โดยเฉพำะชนบท
   ปัญหำลิขสิ ทธิ์ของซอฟท์แวร์ ซึ่งมีรำคำสูง

                                   50                      ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                               Company
                                                                             ณฑิต
ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning

ปัญหาด้ าน e-Learning
  ควำมเป็ นมำตรฐำนของ e-Learning ซึ่งยังไม่มีทำให้มกออกมำ
                                                    ั
    ในรู ปแบบ e-Book
  กำรรักษำควำมปลอดภัยของระบบ
  กำรจัดสภำพแวดล้อมทำงกำรเรี ยนของ e-Learning ให้เหมือน
    จริ งทำได้ยำก


                             51                  ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                     Company
                                                                   ณฑิต
ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning


ปัญหาทัว ๆ ไป
        ่
   จำนวนบุคลำกรที่ มีควำมรู ้ ควำมสำมำรถในกำรพัฒนำเนื้ อหำสำระของบทเรี ยนที่ใช้
    ในระบบ e-Learning ยังมีจำนวนน้อย
   ขำดกำรประสำนงำนที่ดีระหว่ำงบุคลำกรที่ทำหน้ำที่พฒนำบทเรี ยนร่ วมกัน
                                                           ั
   ขำดงบประมำณและกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
   ค่ำใช้จ่ำยในกำรต่อเชื่อมเข้ำกับเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ตแต่ละครั้งมีรำคำแพง
   กำรยอมรับของสังคมในกำรศึกษำทำงไกลยังค่อนข้ำงต่ำ



                                       52                        ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo
                                                                     Company
                                                                                   ณฑิต
LOGO



    บทที่ 5 การเรียนรู้ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)




               THANK YOU
1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

                                               ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต

More Related Content

What's hot

Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์sutham lrp
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorNECTEC, NSTDA
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บLUKNONGLUK
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)pterophyta
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Computer project no3
Computer project no3Computer project no3
Computer project no3TongrakRuento
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 

What's hot (20)

Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
06550135 e learning
06550135 e learning06550135 e learning
06550135 e learning
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
2
22
2
 
New media for teaching
New media for teachingNew media for teaching
New media for teaching
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
e-Learning : SRRT
e-Learning : SRRTe-Learning : SRRT
e-Learning : SRRT
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
E5
E5E5
E5
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
Original cai
Original caiOriginal cai
Original cai
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 
Computer project no3
Computer project no3Computer project no3
Computer project no3
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

Viewers also liked

chapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningchapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningChangnoi Etc
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนteawweaw1206
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนChanathip Tangz
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 

Viewers also liked (7)

chapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningchapter2 theory of learning
chapter2 theory of learning
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 
Ch6 multimedia
Ch6 multimediaCh6 multimedia
Ch6 multimedia
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to Ch5 e-learning

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareNECTEC, NSTDA
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลssuserea9dad1
 
LearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopLearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopNECTEC, NSTDA
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
Ppt ว็บการสอบ
Ppt ว็บการสอบPpt ว็บการสอบ
Ppt ว็บการสอบTeerapat Piyaket
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)iyabest
 
E learning01 (1)
E learning01 (1)E learning01 (1)
E learning01 (1)iyabest
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to Ch5 e-learning (20)

E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
LearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopLearnSquare Workshop
LearnSquare Workshop
 
Science sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jirapornScience sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jiraporn
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
Introduction to OOE
Introduction to OOEIntroduction to OOE
Introduction to OOE
 
E learning system
E learning systemE learning system
E learning system
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
Ppt ว็บการสอบ
Ppt ว็บการสอบPpt ว็บการสอบ
Ppt ว็บการสอบ
 
Etrainingbpcd
EtrainingbpcdEtrainingbpcd
Etrainingbpcd
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
E learning system
E learning systemE learning system
E learning system
 
E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)E learning01-1 (1)
E learning01-1 (1)
 
E learning01 (1)
E learning01 (1)E learning01 (1)
E learning01 (1)
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 

Ch5 e-learning

  • 1. LOGO บทที่ 5 การเรียนรู้ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต
  • 2. หัวข้ อบรรยาย • บทนำและควำมเป็ นมำของ e-Learning • ควำมหมำยของ e-Learning • ประโยชน์ของ e-Learning • คุณสมบัติของ e-Learning • ข่ำยงำน (Framework) ของ e-Learning • ส่ วนประกอบของ e-Learning • ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนำ e-Learning • สถำปั ตยกรรมเครื อข่ำยของ e-Learning • กำรดำเนินกำรพัฒนำระบบ e-Learning • กำรจัดกำรศึกษำระบบ e-Learning ในมหำวิทยำลัยของประเทศไทย • ปัญหำและอุปสรรคของ e-Learning ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 3. บทนา • ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีเครื อข่ำยคอมพิวเตอร์ กระตุนให้้ เกิดกำรศึกษำผ่ำนเครื อข่ำย โดยเฉพำะอินเตอร์เน็ต • สนับสนุนด้ำนกำรศึกษำ สร้ำงโอกำสของกำรเรี ยนรู้ให้ ทัดเทียมกัน • สนับสนุนกำรฝึ กอบรมในสถำนประกอบกำรให้ได้รับ ประโยชน์สูงสุ ด • Online Training ผ่ำนเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ e-Training 3 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 4. บทนำ • มีบทบำทต่อกำรเรี ยนกำรสอนทุกรู ปแบบ โดยเฉพำะ กำรศึกษำทำงไกล(Distance Learning) • สนับสนุนกำรศึกษำแบบ L3 (Life Long Learning) หมำยถึง กำรศึกษำตลอดชีวิต • ผูเ้ รี ยนไม่ตองเสี ยเวลำเดินทำงเข้ำร่ วมศึกษำในชั้นเรี ยนและไม่ ้ ่ ั ขึ้นอยูกบเวลำ 4 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 5. ความหมายของ e-Learning e-Learning เกิดจำกคำศัพท์ 2 คำ • e ซึ่ งมำจำก Electronic ที่มีควำมหมำยในเชิงของควำมรวดเร็ วโดย ทำงำนในระบบอัตโนมัติ • Learning ซึ่งหมำยถึง กำรเรี ยน กำรเรี ยนรู้ หรื อกำรเรี ยนกำรสอน e-Learning Electronic + Learning 5 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 6. ความหมายของ e-Learning ่ • กระบวนกำรเรี ยนรู้ทำงไกลอย่ำงอัตโนมัติผำนสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) • ซีดีรอม • เครื อข่ำยอินทรำเน็ต • เครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต • เครื อข่ำยเอ็กซ์ทรำเน็ต • ระบบเสมือนจริ ง (Virtual Reality System) • สื่ ออื่น ๆ ่ ั โดยไม่ข้ ึนอยูกบเวลำและสถำนที่ 6 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 7. ความหมายของ e-Learning Kurtus กล่ำวว่ำ • “e-Learning เป็ นรู ปแบบหนึ่ งของกำรจัดเนื้อหำสำระที่สร้ำงเป็ นบทเรี ยน สำเร็ จรู ปที่อำจใช้ซีดีรอมเป็ นสื่ อกลำงในกำรส่ งผ่ำนควำมรู ้หรื อใช้เครื อข่ำย อินทรำเน็ตหรื อเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ต รู ปแบบของ e-Learning อำจเป็ น • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI – Computer-Assisted Instruction) • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึ กอบรม (CBT – Computer-Based Training) • บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (WBI – Web-Based Instruction) เพื่อใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนทำงไกล” 7 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 8. ความหมายของ e-Learning Content Computer Exercise/Test Networking e-Learning Media/Aids Communication Activities Technology Courseware 8 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 9. ประโยชน์ ของ e-Learning ความสะดวกสบาย (Convenient) สามารถจัดการศึกษาให้ กับผู้เรียนได้ ตามความต้ องการโดยไม่ ต้องอาศัยชั้นเรียน ความสั มพันธ์ กบปัจจุบัน (Relevant) สามารถปรับเปลียนเนือหาสาระและ ั ่ ้ ข้ อมูลต่ าง ๆ ตามสถานการณ์ ปัจจุบันได้ ง่าย ความเร็วแบบทันทีทันใด (Immediate) 9 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 10. ประโยชน์ ของ e-Learning ความเป็ นเลิศของระบบ (Excellent) สามารถนาเสนอเนื้อหาสาระและ ระบบการจัดการที่มีความเป็ นเลิศ ทันสมัย และน่ าสนใจ การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ั • ปฏิสมพันธ์กบบทเรี ยนโดยตรง ั • ปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้เ รี ยนที่ อ ยู่ ต่ ำ งชุ ม ชนด้ ว ยควำมสะดวกและมี ประสิ ทธิภำพ เพื่อร่ วมกันสร้ำงสรรค์องค์ควำมรู ้ในลักษณะของระบบ กำรเรี ยนรู ้ร่วมกัน (Collaborative Learning System) 10 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 11. ประโยชน์ ของ e-Learning ความเป็ นสหวิชาการ (Interdisciplinary) เป็ นการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ องกันหลายวิชา ่ หรือเรียกว่ า สหวิชาการ 11 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 12. คุณสมบัตของ e-Learning ิ e-Learning is dynamic หมายถึง เนือหาสาระและข้ อมูลที่ปรากฏอยู่ใน ้ ระบบ e-Learning เป็ นข้ อมูลที่มีความเป็ นพลวัต (Dynamic) เปลียนแปลงได้ ง่าย ่ e-Learning operates in real time หมายถึง การทางานของระบบ e- Learning เป็ นระบบเวลาจริง e-Learning is empowering หมายถึง ระบบ e-Learning สามารถ ควบคุมการนาเสนอเนือหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียน การนาเสนอสื่ อ ้ การเรียนการสอน และส่ วนของการจัดการอืน ๆ ตามความสามารถในการ ่ เรียนรู้ของผู้เรียน 12 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 13. คุณสมบัตของ e-Learning ิ e-Learning is individual หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ด้วย ตนเองของ e-Learning จะสั มพันธ์ กบประสบการณ์ ของผู้เรียน ั แต่ ละคน e-Learning is comprehensive หมายถึง ความสามารถของ e- Learning ในการจัดการกับข้ อมูลจากแหล่ งต่ าง ๆ อย่ างเข้ าใจและ ชาญฉลาด e-Learning enables the enterprise หมายถึง ความสามารถใน การสร้ างงานหรือภารกิจของ e-Learning ต่ อกลุ่มผู้เรียนหรือ สมาชิกผู้ประกอบการด้ วยกัน 13 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 14. คุณสมบัตของ e-Learning ิ e-Learning is effective หมายถึง ความสามารถทางด้ าน ประสิ ทธิผลของ e-Learning ในการทาให้ ผ้ ูเรียนมีการปฏิสัมพันธ์ กับบทเรียนแล้ วได้ รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจน มีความคงทนในการเรียนรู้ สูง (Retention of Learning) e-Learning is express หมายถึง ความรวดเร็วของ e-Learning ในการสร้ างสรรค์ องค์ ความรู้ ใ ห้ กับ ผู้เรี ยนได้ อย่ างรวดเร็ วตาม ต้ องการ 14 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 15. คุณสมบัตของ e-Learning ิ e-Learning is experiencetial ผู้เรียนมีประสบการณ์ เหมือนการเรียนใน ห้ องเรียนหลังจากเรียนบทเรียนตามปัจจัยทีผู้ออกแบบตั้งไว้ ่  กำรติดตำมบทเรี ยน (Engagement)  กำรอยำกรู ้อยำกเห็น (Curiosity)  กำรสร้ำงสถำนกำรจำลองและกำรฝึ กปฏิบติ (Simulations and Practice) ั  กำรช่วยเหลือ (Coaching)  กำรแก้ไขและกำรรักษำบทเรี ยน (Remediation)  สร้ำงชุมชนกำรเรี ยนรู ้ (Pier Learning) 15 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 16. คุณสมบัตของ e-Learning ิ e-Learning is experiencetial (ต่ อ)  กำรเรี ยนรู้แบบมีชีวิตชีวำ (Action Learning)  กำรสนับสนุนควำมสำมำรถ (Support Performance)  ควำมเข้มข้น (Intensity) ของเนื้อหำ  กำรประเมินผลและกำรให้ขอมูลป้ อนกลับ (Assessment and ้ Feedback)  วัฒนธรรมกำรสอน (Teaching Culture) 16 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 17. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning Manage Site Administrator Classroom Student Presentation Academic Enrollment General Public 17 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 18. สภาวะแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง Learner Co-Learner Internet Helpdesk Expert / Faculty Static Content Dynamic Content 18 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 19. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning Web-Based Learning Materials Lectures e-Discussion Groups Student Tutorials e-Libraries Textbooks/Journals Quality and Assessment 19 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 20. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning ผู้ เรียน (Student) วัสดุการเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning Materials)  บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ • WBI (Web-Based Instruction) • WBT (Web-Based Training) • IBT (Internet-Based Training) • NBT (Net-Based Training)  สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide) • Powerpoint Slide 20 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 21. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning  หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) • กำรใช้โปรแกรม Acrobat Reader อ่ำนไฟล์เอกสำร pdf  เอกสำรคำสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes) • ไฟล์ doc, ไฟล์ html  วีดิทศน์และเสี ยงดิจิตอล (Video and Digital Sound) ั • กำรใช้โปรแกรม RealVideo ดูภำพวีดิทศน์ และ RealAudio ฟังเสี ยง ั  เอกสำรไฮเปอร์ เท็กซ์และไฮเปอร์ มีเดีย (Hypertext and Hypermedia Document) 21 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 22. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning การบรรยายการสอน (Lectures) ใช้ วธีการบรรยายแบบออนไลน์ ิ ผ่ านช่ องทางโทรคมนาคม ในส่ วนเนือหาที่สาคัญเป็ นครั้งคราว ้  ระบบเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ต  ระบบดำวเทียม  ระบบโทรทัศน์ตำมสำย (Cable TV)  ช่องทำงอื่น ๆ ตำมที่ตกลงกันไว้ก่อนระหว่ำงผูดำเนิ นกำรและ ้ ผูเ้ รี ยน 22 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 23. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning การสอนเสริม (Tutorials) เพือเพิมความเข้ าใจเนือหาบทเรียนทีมี ่ ่ ้ ่ ความยาก กระทาโดยวิธีการออนไลน์ ผ่านเครือข่ ายเช่ นเดียวกันกับ การบรรยายการสอน หนังสื อ/บทความ (Textbooks/Journal) เพือให้ ผู้เรียนศึกษา ่ เพิมเติม ่ ห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Libraries) 23 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 24. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning การวิจารณ์ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Discussion Groups) เพือสร้ างบรรยากาศ ่ ให้ ใกล้เคียงห้ องเรียนจริงผ่ านสื่ อออนไลน์ แบ่ งตามการใช้ งานเป็ น  ระบบกำรดำเนินกำรพร้อมกัน (Synchronous System) • กำรสนทนำแบบเวลำจริ ง (Realtime Chat) เช่น กำรใช้โปรแกรม ICQ, PIRCH หรื อ IRC (Internet Relay Chat) • กำรประชุมทำงไกลด้วยวีดิทศน์และเสี ยง (Video and Audio ั Teleconferencing) เช่ น กำรใช้โปรแกรม NetMeetings สำหรั บกำร ประชุมทำงไกลร่ วมกัน • กำรเรี ยนรู ้แบบร่ วมกัน (Collaborative Learning System) 24 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 25. ข่ ายงาน (Framework) ของ e-Learning  ระบบกำรดำเนินกำรไม่พร้อมกัน (Asynchronous System) • กำรใช้กระดำนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Board) เช่น กำร ใช้กระดำนข่ำว BBS (Bulletin Board System), Webboard, Newsgroup • กำรใช้จดหมำยอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Mail) เพื่อเป็ นช่องทำงใน กำรถำมตอบปัญหำต่ำง ๆ • กำรใช้บริ กำรอื่น ๆ เช่น กำรถ่ำยโอนข้อมูลโดยใช้ ftp 25 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 26. ส่ วนประกอบของ e-Learning Learning Management System (LMS) Content Management System (CMS) Delivery Management System (DMS) Student Test Management System (TMS) e-Learning ส่ วนประกอบของ e-Learning 26 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 27. ส่ วนประกอบของ e-Learning Learning Management System (LMS) :ระบบการจัดการด้ านการเรียนรู้ จะต้ องนาพาผู้เรียนไปยังเปาหมายทีต้องการ นับตั้งแต่ การลงทะเบียนเรียน ้ ่ จนถึงการประเมินผล  เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็ นระบบสำหรับนำทำงและจัดกำร เกี่ยวกับบทเรี ยนทั้งหมด ทั้งควำมต้องกำรและกิจกรรมกำรเรี ยนกำร สอนที่เกิดขึ้น  CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็ นส่ วนประกอบส่ วนหนึ่งของ e- Learning ที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกอบรมตำมประสบกำรณ์ของตนเอง ซึ่ง เป็ นระบบที่ทำหน้ำที่จดกำรรำยกำรต่ำง ๆ ตั้งแต่ตนจนจบ นับตั้งแต่กำร ั ้ ลงทะเบียน กำรสื บท่อง (Navigation) กำรเลือกบทเรี ยน และกำร ต่อเชื่อมเข้ำระบบ 27 ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต Company Logoต ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิ
  • 28. ส่ วนประกอบของ e-Learning : LMS LMS มีหน้ าที่ดงนี้ ั การบริหารและการจัดการบทเรียน (Administration) การจัดการรวบรวมเนือหาบทเรียน (Organizational ้ Management) การจัดการด้ านเวลา (Time Management) การรายงานการเรียน (Reporting) การวิเคราะห์ ความต้ องการ (Needs Analysis) 28 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 29. ส่ วนประกอบของ e-Learning : LMS LMS มีหน้ าที่ดงนี้ ั การเตรียมการวางแผนบทเรียน (Preplanning) การจัดตารางเวลาการเรียน (Scheduling) การจัดการด้ านองค์ ความรู้ (Knowledge Management – KM) การวางแผนด้ านทรัพยากรข้ อมูล (Resources Planning) การจัดการด้ านการออกใบรับรองผล (Qualification Management) 29 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 30. ส่ วนประกอบของ e-Learning : CMS Content Management System (CMS) หมายถึงระบบการจัดการด้ าน เนือหา ซึ่งเป็ นส่ วนบริการสาหรับผู้ออกแบบหรือผู้พฒนาบทเรียนในการ ้ ั สร้ างสรรค์ และนาเสนอเนือหาบทเรียน ้  เนื้อหำ  ส่ วนของกำรลงทะเบียน  กำรรวบรวม  กำรจัดกำรเนื้อหำ  กำรนำส่ งเนื้อหำ  กำรพิมพ์เป็ นเอกสำร หรื อกำรบันทึกลงซีดีรอม 30 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 31. ส่ วนประกอบของ e-Learning Delivery Management System (DMS)หมายถึง ระบบการจัดการด้ านการ นาส่ ง ซึ่งเป็ นการนาส่ งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การ นาส่ งบทเรียนจึงรวมถึง  กำรจัดกำรบนเครื อข่ำยคอมพิวเตอร์  กำรพิมพ์เป็ นเอกสำรสำหรับผูเ้ รี ยน  กำรบันทึกลงสื่ ออิเล็กทรอนิกส์  กำรนำส่ งบทเรี ยนในรู ปแบบอื่น ๆ ไปยังผูเ้ รี ยน 31 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 32. ส่ วนประกอบของ e-Learning Test Management System (TMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้ าน การทดสอบ  กำรจัดกำรและกำรนำส่ ง ั  กำรดำเนินกำรสอบให้กบผูเ้ รี ยน  กำรประเมินผลควำมก้ำวหน้ำของผูเ้ รี ยนในระบบ e-Learning 32 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 33. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning Blackboard’s Courseinfo (www.blackboard.com), USA. Lotus LearningSpace (www.lotus.com) ของ IBM Corp., USA. WebCT (www.webct.com) ของ University of British Columbia, Canada Topclass (www.wbtsystems.com) ของ WBT System, USA. SAP (www.sap.com) ของ SAP’s Corporate Research Center, Germany Education Sphere (www.educationsphere.com) ของ USA 33 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 34. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning 34 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 35. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning 35 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 36. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning 36 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 37. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning 37 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 38. ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา e-Learning 38 บทเรียนและ Virtual Lab ในระบบ e-Learning ของ Igenetic, Germany ทีใช้ SAP เป็ น LMS ่ ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 39. สถาปัตยกรรมเครือข่ ายของ e-Learning Service Center VPN (Virtual Private Network) Virtual Private Network (VPN)  Central Servers  Search Engine สถาปั ตยกรรมเครื อข่ ายของ e-Learning e-Learning Center  Learn Center  PC  Proxy Servers 39 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 40. สถาปัตยกรรมเครือข่ ายของ e-Learning ศูนย์ บริการ (Service Center)  เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลำง (Central Servers)  เครื่ องมือช่วยค้นหำ (Search Engine) เครือข่ ายส่ วนตัวเสมือน (Virtual Private Network - VPN) ศูนย์ การเรียนรู้ (e-Learning Center)  ศูนย์เรี ยนรู ้ (Learn Center)  เครื่ องคอมพิวเตอร์ (PC)  เครื่ องพร๊ อกซีเซิร์ฟเวอร์ (Proxy Servers) 40 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 41. การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning เพือจัดการเรียนการ ่ สอนทางไกลไปยังกลุ่มเปาหมาย จาแนกออกเป็ นด้ านต่ าง ๆ ้ ดังนี้  กำรดำเนินกำรด้ำนเทคโนโลยี  กำรดำเนินกำรด้ำนเนื้อหำบทเรี ยน  กำรดำเนินกำรด้ำนกำรบริ หำรและจัดกำรระบบ 41 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 42. การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดาเนินการด้ านเทคโนโลยี  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) • เซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนกลำง (Central Servers) ที่มีควำมเร็ วในกำรประมลผลสู ง มีหน่วย เก็บควำมจุที่มีปริ มำณมำกเพียงพอ  เทคโนโลยีเครื อข่ำย (Network Technology) • เครื อข่ำยอินทรำเน็ต อินเตอร์เน็ต และเครื อข่ำยเอ๊กซ์ทรำเน็ต  เทคโนโลยีกำรสื่ อสำร (Communication Technology) • สำยโทรศัพท์ สำยเช่ำ เคเบิลใต้น้ ำ ดำวเทียมเพื่อกำรสื่ อสำร หรื อระบบกำร สื่ อสำรอื่น 42 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 43. การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดาเนินการด้ านเนือหาบทเรียน ้  ผูจดเตรี ยมเนื้อหำบทเรี ยน (Content Provider) ้ั • ออกแบบ วิเครำะห์ และสังเครำะห์เนื้อหำสำระ ตั้งแต่โครงสร้ำงของบทเรี ยน เนื้อหำ บทเรี ยน สื่ อกำรเรี ยนกำรสอน วิธีกำรสอน กิจกรรม กำรตรวจปรับ และคำถำมที่จะใช้ใน บทเรี ยนเพื่อกำรประเมินผลกำรเรี ยนรู้  ผูจดกำรบทเรี ยน (Program Director) ้ั • มำออกแบบเป็ นคอร์สแวร์ของบทเรี ยน ซึ่ งผลลัพธ์ในขั้นนี้คือบทดำเนินเรื่ อง (Storyboard) และผังงำนของบทเรี ยน (Lesson Flowchart)  นักโปรแกรม (Programmer)  ผูเ้ ชี่ยวชำญ (Expert) จำแนกออกเป็ น 2 ด้ำน • ด้ำนเนื้อหำ และด้ำนเทคนิคและวิธีกำร 43 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 44. การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดาเนินการด้ านการบริหารและจัดการระบบ เป็ นการเลือกใช้ LMS ในการ  กำรประชำสัมพันธ์หลักสูตร  กำรจัดตำรำงเวลำ  กำรลงทะเบียน  กำรกำหนดสิ ทธิ์  กำรรักษำควำมปลอดภัย  กำรสื บท่อง  กำรค้นหำ  กำรจัดกำรเรี ยนกำรสอน  กำรรำยงำนผลกำรเรี ยน 44 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 45. การดาเนินการพัฒนาระบบ e-Learning ประเด็นในการพิจารณาในการดาเนินการด้ าน การบริหารและจัดการระบบ การเลือกใช้ ระบบ LMS ทีเ่ หมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ การคุ้ มค่ าต่ อการลงทุน การช่ วยส่ งเสริมและพัฒนาทักษะของผู้เรียน กระบวนการสร้ างปฏิสัมพันธ์ ที่ผ้ ูเรียนมีต่อบทเรียน การใช้ ทรัพยากรทีมอยู่ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด ่ ี การเปลียนแปลงกระบวนทัศน์ ของการศึกษา ่ การพิจารณาปัจจัยด้ านกาลังคน 45 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 46. การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย มหาวิทยาลัยรามคาแหงตั้งศูนย์ e-Learning โดยใช้ Education Sphere เป็ น LMS จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้ จัดตั้งเครือข่ าย www.chulaonline.com เพื่อ ให้ บริการการเรียนการสอนระบบ e-Learning ผ่ านเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าพระนครเหนื อ จั ด ตั้ งเครื อข่ าย www.kmitnbonline.com 46 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 49. ึ การจ ัดการศกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาล ัยของประเทศไทย 49 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 50. ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ปัญหาด้ านเทคนิค  ปัญหำด้ำนฮำร์ดแวร์และเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์ต่อเชื่อม ระบบ ซึ่งมี Band width ต่ำ  ควำมสำมำรถของซอฟท์แวร์ในกำรบีบอัดข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ไม่ สำมำรถส่ งข้อมูล Multimedia ได้ดี  ควำมไม่พร้อมของเครื่ องคอมพิวเตอร์และเครื อข่ำยอินเตอร์เน็ต โดยเฉพำะชนบท  ปัญหำลิขสิ ทธิ์ของซอฟท์แวร์ ซึ่งมีรำคำสูง 50 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 51. ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ปัญหาด้ าน e-Learning  ควำมเป็ นมำตรฐำนของ e-Learning ซึ่งยังไม่มีทำให้มกออกมำ ั ในรู ปแบบ e-Book  กำรรักษำควำมปลอดภัยของระบบ  กำรจัดสภำพแวดล้อมทำงกำรเรี ยนของ e-Learning ให้เหมือน จริ งทำได้ยำก 51 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 52. ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ปัญหาทัว ๆ ไป ่  จำนวนบุคลำกรที่ มีควำมรู ้ ควำมสำมำรถในกำรพัฒนำเนื้ อหำสำระของบทเรี ยนที่ใช้ ในระบบ e-Learning ยังมีจำนวนน้อย  ขำดกำรประสำนงำนที่ดีระหว่ำงบุคลำกรที่ทำหน้ำที่พฒนำบทเรี ยนร่ วมกัน ั  ขำดงบประมำณและกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง  ค่ำใช้จ่ำยในกำรต่อเชื่อมเข้ำกับเครื อข่ำยอินเตอร์ เน็ตแต่ละครั้งมีรำคำแพง  กำรยอมรับของสังคมในกำรศึกษำทำงไกลยังค่อนข้ำงต่ำ 52 ผู้สอน กาชั ย ทบบัLogo Company ณฑิต
  • 53. LOGO บทที่ 5 การเรียนรู้ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) THANK YOU 1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผู้สอน กาชั ย ทบบัณฑิต