SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
Download to read offline
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ-
                                       ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-
                                      คณะครุศาสตรอุตสาหกรมและเทคโนโลยี-
                                     มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี-




“ Social Network Online ”


  มิติใหม่สําหรับการฝึกอบรม
จัดโดย นศ.ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 
 
วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2555 
ณ ห้องประชุม QS1 206 ชั้น 2 ห้อง 206 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 
สิ่งที่เรา จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 




  1 2 3        
               
                 
   Modern
   Training 
                 
                             
                               
                     Social 
                                   
                    Network 
                                   
                                                               
                                                   Adop7on 
                                                               
                                                                  
                                                                  




                            เราเชื่อว่า ทุกคนมีความรู้ไม่แตกต่างกัน             
                                                                                
1         
          
             
             
                การฝึกอบรม ยุคใหม่

                MODERN TRAINING 


                                                                                 
                                                                                 
                              กลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยน การฝึกอบรม
                               กระบวนการเรียนรู้สําคัญกว่าความรู้  
21st Century Skills 

•  "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 
•  ได้ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอก
   การศึกษา รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการ
   เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills)
•  หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 3R และ 4C

3R
การอ่าน (Reading), 
การเขียน(Writing)
  และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic)

4C
Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์,
Communication - การสื่อสาร
Collaboration - การร่วมมือ  
Creativity - ความคิดสร้างสรรค์  
 
รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน
สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหาร
จัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
ความหมายของ “ศตวรรษที่ ๒๑”
•    โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นๆๆ และไม่แน่นอน
•    ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว 
•    สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ 
•    วัตถุมากล้น จิตวิญญาณจาง
•    โลกถึงกันหมด
•    คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน

                                     •  นพ.วิจารณ์ พานิช
การศึกษาที่มีคุณภาพ0

        ศตวรรษที่ ๒๐, ๑๙-                       ศตวรรษที่ ๒๑-
•    Teaching0                        •    Learning0
•    Teach content0                   •    Inspire0
•    Teacher0                         •    Coach, Facilitator0
•    Content-Based0                   •    Skills – Based0
•    Classroom0                       •    Studio0
•    Lecture0                         •    PBL0
•    Teaching – personal0             •    PLC 0
•    Sequential learning0             •    Integrated learning0
•    Assessment : P - F0              •    Assessment : Reform 30
คุณภาพของระบบการเรียนรู้ 
                 ต้องไปให้ถึง

•  21st Century Skills 
•  Transforma7ve Learning  (จาก informa7ve & 
   forma7ve)  
•  มี Change Agent Skills, Leadership 
•  ความเป็นพลเมือง
5 อันดับแรกของคุณลักษณะของลูกจ้างที่นายจ้าง
ต้องการ-




                                   Source: 21 centuryedtech.
SMART Thailand 2020
การฝึกอบรมแก้ปัญหาได้จริงๆหรือ 

•  คงไม่ใช่ยาวิเศษที่จะ
   สามารถแก้ไขปัญหาทุก
   อย่างขององค์กรได้ 
                    และทัศนคติ
                                          (Attitude) 


•  คงเป็นเพียงแต่แนวทาง
   หนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหา    ทักษะ
                              (Skill) 
   ของพนักงาน และก่อให้
   เกิด ลักษณะตามที่                                ความรู้
                                                 (Knowledge)  
   ต้องการ
ความหมายของการฝึกอบรม




 "ฝึก" หมายถึง ทําเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชํานาญ 
 
 "อบรม" หมายถึง แนะนําพร่ําสอนให้ซึบซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัยหรือแนะนํา

   ชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ  ถ้าแปลตามรูปศัพท์

 

 การฝึกอบรม จึงหมายถึง การแนะนํา การสอนเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชํานาญในเรื่องที่ต้องการ  
 0
 0
 พจนานุกรรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 25250
กลยุทธ์ในการฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies) 6 อย่าง 

•    1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 
•    2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning) 
•    3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning) 
•    4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning) 
•    5.การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning)
•    6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership) 




                                     กลยุทธ์การฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies)
             HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 
แหลงความรู ที่เปลี่ยนไป0



                     1 ส่วน




                     10 ส่วน
1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 




•  องค์กรจะมีพนักงานที่มีการสะสมความรู้ประสบการณ์ทั้งจากการฝึก
   อบรมหรือเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง (Learning by doing) ซึ่งเรียก
   ว่า ความรู้ภายใน ( Tacit Knowledge) 
•  ซึ่งถ้านํามาแลกเปลี่ยนกันโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่าการแลก
   เปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
•  ซึ่งจะทําให้ได้ความรู้ที่เรียกว่าความรู้ภายนอก (Explicit Knowledge ) 
•  ทุกคนที่เกี่ยวข้องสามารถรู้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถนําไปเก็บไว้ใน
   รูปของเอกสารหรือสารสนเทศอื่นๆขององค์กรซึ่งเรียกว่าคลังความรู้
   (Data Warehouse)
•  ซึ่งกระบวนการการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดเรื่องการจัดการ
   ความรู้ (Knowledge Management) หรือ เรียกย่อ ๆ ว่า KM ที่ได้รับ
   ความสนใจอย่างมากในยุคปัจจุบัน
มิติในทางการศึกษา Dimension of Education-




 Ubiquitous -                     Blended Learning-
 
                   -
2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning)  



•     การเรียนรู้กับการทํางานเหมือนเหรียญ
   สองด้าน ซึ่งหมายความถึงต้องควบคู่กัน
   ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ 
•  ในการฝึกอบรมคงไม่ใช่การหยุดงานเพื่อไป
   เข้าห้องฝึกอบรมและนําเอาความรู้ในห้อง
   ฝึกอบรมมาใช้ในการทํางาน 
•  เรามักพบว่าในความเป็นจริงแล้วความรู้ที่ได้
   จากห้องฝึกอบรมอาจจะไม่สามารถนําไปใช้
   ในการทํางานได้ทั้งหมด 
•  ดังนั้นการฝึกอบรมที่ถือว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งคือ
   การฝึกอบรมที่ควบคู่ไปกับการทํางานจริง
   (On The job ‒ training) จะเห็นได้ว่าวิธีนี้ได้
   รับความนิยมมากในประเทศญี่ปุ่น โดยผู้ที่
   จะมีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมวิธีนี้คือ
   หัวหน้างานนั่นเอง
3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning)  




•  เหตุการณ์ที่พนักงานที่กําลังปฏิบัติงานอยู่เกิด
   ความสงสัยไม่แน่ใจในวิธีการทํางาน หรือ
   ต้องการความรู้เพิ่มเติมอย่างเร่งด่วนในเรื่อง
   ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทํางาน
•  วิธีการตอบสนองความต้องการดังกล่าว ใน
   รูปของสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการเรียนรู้
   เช่น การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-
   learning) 
•  และสุดท้ายอาจต้องมีบุคลากรที่เรียกว่าที่
   ปรึกษาการเรียนรู้ (Learning Consultant)
   ประจําอยู่เพื่อช่วยให้พนักงานเรียนรู้ได้สะดวก
   มากยิ่งขึ้น
4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning)  


การฝึกอบรมสมัยใหม่มีการนําแนวคิดเรื่องของ
•  ความสามารถ (Competency) มาใช้เพื่อกําหนดว่าพนักงานแต่และคนควรมี
   ความสามารถในเรื่องใดบ้าง 
•  และในแต่ละปีจะมีการประเมินความสามารถ (Competency Assessment) 
•  เพื่อหาว่าพนักงานแต่ละคนมีจุดแข็งและจุดอ่อนในเรื่องใด ที่จะนําไปสู่การฝึก
   อบรมต่อไป ซึ่งจะทําให้การนํางบประมาณ หรือทรัพยากรขององค์กรไปใช้ได้
   อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
5. การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning) 



•  ในปัจจุบันเริ่มนําแนวคิดเรื่อง ROI มาใช้อธิบายกันอยู่บ้าง
•  เพื่อตอบโจทย์ว่าองค์กรได้ผลประโยชน์อะไรบ้างในการฝึกอบรมแต่ละครั้ง 
•  มีนักวิชาการหลายท่านเห็นว่า ROI เป็นสิ่งที่จับต้องได้ยาก เพราะการฝึกอบรม
   แต่ละครั้งอาจไม่ส่งผลประโยชน์ทันทีทันใด โดยจะต้องใช้ระยะเวลา หรือโอกาส
   ที่จะนําไปใช้ก็ได้
6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership)  

•  ในการฝึกอบรมในยุคที่มีองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างมาก พบว่าองค์กร
   แต่ละแห่งจะต้องพยายามตามกระแสของความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ให้ทัน  
•  โดยเฉพาะหน่วยงานฝึกอบรมต้องรู้ว่าแนวโน้มในอนาคตจะมีองค์ความรู้ หรือ
   เครื่องมือใหม่ๆอะไรเกิดขึ้นบ้าง ซึ่งถือว่าเป็นภาระอันหนักยิ่งขององค์กร ดัง
   นั้น
•  แนวโน้มการฝึกอบรมสมัยใหม่ควรมีการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการ
   ศึกษาที่เป็นแหล่งที่สร้างองค์ความรู้ เช่นการทําวิจัย (Research) เพื่อให้ได้
   องค์ความรู้มาใช้พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน 
•  โดยองค์กรอาจมีการส่งพนักงานเข้าไปฝึกอบรมในหลักสูตรระยะสั้นที่
   ออกแบบร่วมกับสถาบันการศึกษา หรือมีการให้ทุนสถาบันการศึกษาวิจัยเพื่อ
   สร้างองค์ความรู้ และถ่ายทอดให้กับพนักงานในองค์กรที่ถือได้ว่าเป็นวิธีหนึ่ง
   ในการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ
วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0

•    1. ต้องเข้าใจว่า ผู้เรียนหรือผู้เข้าอบรมคือคนที่รู้ดีที่สุดในงานของเขา
•    2. ไม่จําเป็นต้องแจกเอกสารประกอบการบรรยายที่เต็มไปด้วยทฤษฎีต่าง ๆ
•    3.  ไม่จําเป็นต้องอยู่ในห้องฝึกอบรมทุกวัน 
•    4.  วิทยากรยุคใหม่ควรเข้าใจเรื่อง  Action Learning 
•    5.  ควรจัดเตรียมอุปกรณ์หรือเครื่องมือค้นหาข้อมูลความรู้ในขณะที่ฝึกอบรม
•    6. ควรสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนอยากเรียน อยากรู้ อยากแลกเปลี่ยน 
•    7.  ควรใช้เทคนิคการฝึกอบรมที่แตกต่าง และหลากหลายมากขึ้น



         
       
       
       
        
       
       
ไชยยศ ปั้น
ระดับของขอบเขตการเรียนรู ที่เปลี่ยนไป 




Bloom s Taxonomy 
Bloom s Taxonomy 

       Evaluation         Create


        Synthesis        Evaluate

        Analysis          Analyze

       Application         Apply

     Comprehension      Understand

       Knowledge        Remember




     1956 - Original   2001 - Revised
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 


•  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความรู้เป็นพื้นฐานในการนําไปสู่ความเข้าใจ
•  2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน คือ
   ความคล่องแคล่วในการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้โดยอัตโนมัติ 
•  3. เพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การฝึกอบรมสามารถเปลี่ยนแปลง
   ทัศนคติไปในทางที่ดีที่พึงปรารถนา ซึ่งเป็นพื้นฐานทําให้เกิดการ
   เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล0
ความสําคัญของการฝึกอบรม.


•  1. เพื่อความอยู่รอดขององค์การเอง เพราะปัจจุบันมีสภาพการแข่งขัน
   ระหว่างองค์การรุนแรงมาก การฝึกอบรมจะช่วยให้องค์การเข้มแข็ง และ
   ช่วยให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทํางานยิ่งขึ้น
•              2. เพื่อให้องค์การเจริญเติบโต มีการขยายการผลิต การขาย และ
   การขยายงานด้านต่าง ๆ ออกไป ในการนี้จําเป็นต้องสร้างบุคคลที่มีความ
   สามารถเพื่อที่จะรองรับงานเหล่านั้น
•              3. เมื่อรับบุคลากรใหม่จําเป็นต้องให้เขารู้จักองค์การเป็นอย่างดีใน
   ทุก ๆ ด้าน และต้องฝึกอบรมให้รู้วิธีทํางานขององค์การ แม้จะมี
   ประสบการณ์มาจากที่อื่นแล้วก็ตาม เพราะสภาพการทํางานในแต่ละ
   องค์การย่อมแตกต่างกัน

   

              0
ความสําคัญของการฝึกอบรม.


 •    4. ปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก จึงจําเป็นต้องฝึกอบรม
    บุคลากรให้มีความรู้ทันสมัยเสมอ ถ้าบุคลากรมีความคิดล้าหลัง องค์การก็
    จะล้าหลังตามไปด้วย
 •  5. เมื่อบุคลากรทํางานมาเป็นเวลานานจะทําให้เฉื่อยชา เบื่อหน่าย ไม่
    กระตือรือร้น การฝึกอบรมจะช่วยกระตุ้นให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
 •  6. เพื่อเตรียมบุคลากรสําหรับรับตําแหน่งใหม่ที่สูงขึ้น โยกย้ายงานหรือแทน
    คนที่ลาออกไป

    0
ประเภทของการฝึกอบรม 




                               1. Pre-Service
•  1. การฝึกอบรมก่อนประจําการ 
 Training        2. In-Service
                                                  Training 
      (Pre-Service Training)             

•  2. การฝึกอบรมระหว่างประจํา
   การ (In-Service Training) 0                         K 

                                                       S 

                                 Orientaon 
                                                      A 
ขั้นตอนของการฝึกอบรม 

 ขั้นการวิเคราะห์ความจําเป็นในการฝึกอบรม (analyze) 
 ขั้นการออกแบบโปรแกรมการฝึกอบรม (design) 
 ขั้นการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม (develop)  
 ขั้นการนําโปรแกรมการฝึกอบรมไปสู่การปฏิบัติ (implement) 
 และขั้นการประเมินผลโปรแกรมการฝึกอบรม (evaluation)0

                                                            ประเมินผล 
                                             นําไปใช้ 
                                พัฒนา 
                  ออกแบบ                                    E 
     วิเคราะห์                                 I 
                                 D 
                    D 
      A 
ADDIE Model-
Summative              Formative 
      Analysis-

    Design -

    Development-

    Implementation-

    Evaluation-
รูปแบบการสอนการฝึกอบรม




  1. Classroom 
                  2. Interactive    3.  Face plate       4.  Hand-on 
     training 
                    videodise
       simulators
           training      
    methods 




                       จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 
กิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม สู่ เครือข่่ายสังคม 


                                  3 การจัดประชุม
                                   เชิงปฏิบัติการ 
                                   (workshop) 
           2 การส่งบุคลากร
                                                       4 การศึกษาดู
               ไปอบรม
                                                            งาน 
           ภายนอกองค์กร
                                                        (Field Trip) 
           (Public Training)  




  1 การจัดฝึกอบรมเอง                Social                 5 การฝึกอบรมในขณะ
                                                              ปฏิบัติงานจริง 
      ภายในองค์กร 
  (In house training) 
                                    Media                      (On the job
                                   Training                     training)0




                                 จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 
การฝึกอบรมออนไลน์ 

  ความหมายของ อินเตอร์เพื่อการฝึกอบรม  
 •  เป็นการใช้ทักษะหรือความรู้ต่าง ๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์
    ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น ถ้าแบ่งตามรูปแบบของ
    เครื่องมือที่ใช้บนอินเทอร์เน็ตก็จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ  

 •  1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only) 
 •  2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)0




                                                      ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only)

 •    -   ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail: e-mail)
 •    -   กระดานข่าวสาร (Bulletin Board)
 •    -   ห้องสนทนา (Chat Room)
 •    -   โปรแกรมดาวน์โหลด (Software downloading)0




                                                         ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)

 เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการฝึกอบรม ที่มีโครงสร้างลักษณะเป็นกราฟิก การ
 สืบค้นโดยใช้ภาพในรูปแบบของเว็บ ซึ่งทําให้มีชื่อเรียกหลายลักษณะ ได้แก่ 
 
 ‐ เว็บฝึกอบรม (Web‐Based Training) 
 - เว็บช่วยสอน (Web-Based Instruction)
 - เว็บเพื่อการศึกษา (Web-Based Edcuation)
 - เว็บช่วยการเรียนรู้ (Web-Based Learning)
 - อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training)
 - อินเทอร์เน็ตช่วยสอน (Internet-Based Instruction)
 - เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training)
 - เวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction)0




                                                   ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
เทคโนโลยีสนับสนุนการเข้าถึง Social Network  




     1.  มือถือชองทางใหมของการเขาสูอินเทอรเน็ต0
     2.  รูปแบบขอมูลที่ตอบรับระบบอินเทอรเน็ต0
         และระบบ Social Network -
     3. ระบบอินเทอรเน็ต-
     0
ข้อดีของ การจัดฝึกอบรม ด้วย Social Network  




     1.  ใช้ได้กับ กลุ่มบุคคล ที่อยู่ทางไกล
     2.  ใช้ได้กับ บุคคล ที่เดียวกันแต่มีปริมาณมาก
     3.  ใช้ได้กับ บุคคลปริมาณมาก และอยู่ไกลกัน
     4.  ลักษณะไม่เป็นทางการ 
     0
2         
          
             
             
             
             
                เครือข่ายสังคม

                SOCIAL NETWORK 


                          1. เป็นการสื่อสารยังลูกค้าโดยตรง              
                                                                        
WBT 
การทํางานของ Social Media 



                      Internet  




      Wikipedia (2009) ให้ความหมาย (Social Network) ว่า เป็น
      โครงสร้างสังคมที่ประกอบด้วยโหนด (Node) ต่างๆ เชื่อมต่อกัน
      ซึ่งแต่ละโหนดที่เชื่อมโยงกันก็อาจมีความสัมพันธ์กับโหนดอื่นๆ
      ด้วย โดยอาจมีระดับของความสัมพันธ์กัน มีความซับซ้อน มีเป้า
      หมาย -
เหตุผลที่องค์กรควรปรับสู่ Social Network  




1 ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่ 
2 แนบชิดกับลูกค้า และคนในองค์กร
3 ลดการนินทาว่าร้ายจากคนในองค์กร 
4 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีกับองค์กร 
5 ช่องทางกระจายองค์ความรู้ 
6 สร้างความได้เปรียบในการเข้าถึงข้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ๆ 
0
มีลักษณะไมเปนทางการ ทำใหลูกคารูสึกเปนกันเอง0
ความแตกต่างของ web 1.0 – 2.0 
The Changing Web 




                    เว็บในยุคนี้จะ  เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต 
                    เหมือนกระแสไฟฟ้า  โทรทัศน์  โทรศัพท์ 
The Growth of Communication media   50 Million
แนวคิดและความหมายของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) 




                                     
การที่มนุษย์สามารถเชื่อม
                              โยงถึงกัน 
                                     
ทําความรู้จักกัน สื่อสาร
                              ถึงกันได้ ผ่านทางระบบ
                              อินเทอร์เน็ต 
                                     
ในรูปแบบการให้บริการ
                              ผ่านเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงระหว่าง
                              บุคคลต่อบุคคล ไปจนถึงบุคคล
                              กับกลุ่มบุคคล ไว้ด้วยกันนั่นเอง  
ประเภทของ Social Network 

•    1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network)
•    2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network)
•    3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network)
•    4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network)
•    5 ประเภทPeer to Peer (P2P)
•    6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality) 




•    
1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network) 



     เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สาหรับนาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของ
     ตนเองทางอินเตอร์เน็ตสามารถเขียน blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง
     สร้างกลุ่มเพื่อน และสร้างเครือข่ายขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น 
     facebook , hi 5, My Space ดังภาพ  
2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network) 
 



  เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่านี้ในการนาเสนอผลงานของตัวเองได้
  อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงเพลง ว่าเว็บไซต์
  ประเภท VDO Sharing นี้สามารถเผยแพร่ผลงานได้ดี 
3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network) 



  มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการรวมกันของสมาชิก ซึ่งมีความสนใจ
  ที่ตรงกันหรือสนใจในเรื่องเดียวกัน ตัวอย่างเช่น 
  del.icio.us เป็น Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking 
  โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไว้ใน
  เครื่องของเราคนเดียว ก็เปลี่ยนรูปแบบให้สามารถแบ่งให้ผู้อื่นดู
  ได้ด้วย และสามารถรู้ได้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก
  เป็นที่น่าสนใจ โดยดูได้จากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก 
  Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ นั่นเอง 
4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network) 



  มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการทางานร่วมกัน หรือมีการใช้ข้อมูลร่วมกันในเรื่อง
  เดียวกัน ตัวอย่างเช่น 
       
         WikiPedia เป็นสารานุกรม ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน
  และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์
  ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย และมี
  ภาษาไทยด้วย 
     Google Maps ปัจจุบันสร้างแผนที่ของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอื่นได้ จึง
  ทาให้มีสถานที่สาคัญ หรือสถานที่ต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของ
  สถานที่นั้นๆ ไว้ พร้อมทั้งแสดงผลจากการค้นหาได้อีกด้วย 
    
   
5 ประเภทPeer to Peer (P2P) 



  P2P เป็นการเชื่อมต่อกันระหว่าง Client (เครื่องผู้ใช้, เครื่องลูก
  ข่าย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงได้นาหลักการนี้มา
  ใช้เป็นโปรแกรมสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต และก็มี BitTorrent เกิด
  ขึ้นมาเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เกิดการแบ่งปันไฟล์ต่างๆ ได้อย่าง
  กว้างขวาง และรวดเร็ว 
    
   
6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality) 



  โลกเสมือนในที่นี้ คือเกมส์ออนไลน์ตัวอย่างเช่น Second Life เป็น
  โลกเสมือนจริง สามารถสร้างตัวละครโดยสมมุติให้เป็นตัวเราเอง
  ขึ้นมาได้ มีการใช้ชีวิตอยู่ในเกมส์ อยู่ในชุมชนเสมือน(Virtual 
  Community) สามารถซื้อขายที่ดิน และหารายได้จากการทา
  กิจกรรมต่างๆ ได้ 
    
   
Social Network  
•  มีการกด Like แลวทั้งหมด 1.3 ลานลานครั้ง0
•  มีการอัพโหลดรูปภาพไปแลวกวา 2.19 แสนลานรูป0
                          •  เช็คอิน 1.7 หมื่นลานครั้ง0
                       •  อายุเฉลี่ยของผูใชอยูที่ 22 ป0
•  ผูใช Facabook บนอุปกรณพกพา กวา 500 ลานคน0
Link  


•  เครือข่ายสังคม
•  Facebook  Training 
เแสดงแนวโน้มจํานวนผู้เข้าใช้เว็บไซต์และแนวโน้มระยะเวลาการใช้ 

    Social Network The Nielsen Company 

 สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลา

บนโลกอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม 

ทาให้บทบาทของ Social Media ในช่วงนี้ถึงมาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์
ในปัจจุบัน 
  
ความถี่ในการเข้าใช้  

สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลาบนโลก
อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม ทาให้บทบาทของ
 Social Media มาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์ในปัจจุบัน 
  
การเข้าใช้ Social Network 
3         
          
             
             
                แนวทาง การนําไปใช้

                Adopon  


                           View your slides from anywhere!             
                                                                       
2.5%0    13%0             34%0               34%0             16%0
 นวัตกร       ผู้รับเร็ว   ผู้รับค่อนข้างเร็ว  ผู้รับค่อนข้างช้า
   ผู้ล้าหลัง

INNOVATORS0     EARLY0         EARLY0               LATE0            LAGGARDS0
              ADOPTERS0       MAJORITY0           MAJORITY0


                                                                        ROGERS  SHOEMAKER0
การเลือกสื่อการสอน0

                                               Dynamic (Flexible)   


                                                                       Virtual Classroom  

                                                            Sharable Content 




                                                                                             Complex Content 
Simple Content 




                                                    Web Page 




                                Presenta7on                                    Kiosk 

                                eBook                                   CMI, CBT 

                       Print Media 
                                               Sta7c 
มิติในทางการศึกษา Dimension of Education-




  Ubiquitous -                   Blended Learning-
  
                   -
Dimension of online Learning 7
องคประกอบของอีเลิรนนิง  การฝกอบรมออนไลน7
การเลือก ชองทางการใช-
แลวเราจะขามผานไปไดอยางไร-
การประยุกต์ใช้ Social Media : Google 
Google App 

 
•    Google App 
•    Google Doc 
•    Google Mobile,Photo 
•    Google Map 
•    You Tube Chanel 
•    Google Analyc 
•    My Block  
ขั้นตอนของการ.ใช้ Social Media กับการฝึกอบรม 


                                     Google Map 
                                                                My Block  
                                     Wikipedia 
                                                                Google Analyc 

                                     You tube      Twister      Google Doc 
                                                   Face Book    ประเมินผล 
                  Google Calendar    Google Doc 
                                                    นําไปใช้ 
                  Google Doc         พัฒนา 
    Google Doc 
                   ออกแบบ                                        E 
    วิเคราะห์                                        I 
                                         D 
                     D 
      A 
Google Doc 
Google Mobile,Photo 
Google Map 
You Tube Chanel 
Google Hangout 


•  Extent from Youtube 
Google Calendar 

 •    Manage Your life 
 •    Agenda 
 •    Bookmark 
 •    Manage Group 
 •    Sent e‐mail,SMS 
Google Analyc 


•  Analyc Your Web 
My Block :  
drsurapon.blogspot.com 
การออกแบบสถาพแวดล้อมจําลอง  


•  ด้านกายภาพ,ในห้องเรียนจริงและห้องเรียนออนไลน์
•  ด้านจิตภาพ
•  ด้านสังคม 
แนวทางที่น่าสนใจในการจัดกิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม 

 KM  ในองค์กร
 กิจกรรมด้านการวางแผนพัฒนาอาชีพ (Career Path
 หรือ Career Planning) 
 กิจกรรมร่วมระหว่างพนักงาน กิจกรรม 5 ส. 
  0
Wikis 
การสอนบนฐานความเป็นมนุษย์ 

(Humanism‐based Instruc7on) ่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา และใช้
               1.  การสอนแบบ A เป็นแบบที
                             เทคโนโลยีต่ํา ผู้สอนไม่สามารถจะสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้
                             เรียนแต่ละคนได้ การสอนแบบนี้พบได้ในการเรียนที่มีผู้เรียน
                             จํานวนมาก และใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน เช่นการบรรยายใน
                             ห้องเรียนขนาดใหญ่
                       2.    การสอนแบบ B เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา แต่ใช้
                             เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้มีการออกแบบการสอนสําหรับ
                             การเรียนทางไกล ที่ต้องใช้เทคโนโลยีสูง เช่น มีการใช้ E‐
                             learning 
                       3.    การสอนแบบ C เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูงและใช้
                             เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้จะเป็นการสอนในห้องเรียน
                             ขนาดเล็ก มีผู้เรียนประมาณ 10 คน มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้
                             สอนกับผู้เรียนมาก
                       4.    การสอนแบบ D เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูง แต่ใช้
                             เทคโนโลยีต่ํา การออกแบบการสอนแบบนี้เหมาะกับการ
                             ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
                       5.    การสอนแบบ E เป็นการสอนที่ใช้ทั้งความเป็นมนุษย์และใช้
                             เทคโนโลยีเท่าๆ กัน เป็นการสอนที่น่าจะให้ประสิทธิภาพและ
                             ประสิทธิผลของการสอนในระดับที่น่าพอใจ เป็นสายกลาง
                             ระหว่างความเป็นมนุษย์และเทคโนโลยี และที่สําคัญมนุษย์ยัง
                             คงเป็นผู้สอนมนุษย์ด้วยกันอีกด้วย ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าการ
                             สอนแบบ Heutagogy 
0                        อภิปราย0
          0
                            สื่อจะเปนอยางไร0
การฝกอบรม
อนาคต0


                Training0

อุปกรณจะเปน               การสื่อสารจะเปน
อยางไร0                    ลักษณะใด0
กระแสพระราชดำรัส พระราชดำรัส -
                                  พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว -
                                  เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 2539-
                                  ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต-

7
     เทคโนโลยีชั้นสูงนี้ คนสวนมาก เดี๋ยวนี้ก็เขาใจ วามีโทรทัศน มีดาวเทียม มี
     เครื่องคอมพิวเตอร. แตวาเครื่องเหลานี้ หรือสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ไมมีชีวิต ดูรูป
     รางทาทางเหมือนมีชีวิต แตอาจจะไมมีชีวิต มีสีก็มีสีได แตวาไมมีสัน. คือ
     สีสันนั่นรวมแลวมันครบถวน และยังไมครบ ยังไมมีจิตใจ.  อาจจะทำใหคน
     ที่มีจิตใจออนเปลี่ยนเปนคนละคนก็ได แตวาที่จะอบรมโดยใชสื่อที่กาวหนา
     ที่มีเทคโนโลยีสูงนี่ยากที่สุด ที่จะอบรมบมนิสัยดวยเครื่องเหลานี้ ฉะนั้นไมมี
     อะไร แทนคนสอนคน 7
0                                        ขอคิดสุดทาย0
           0
                        “อยาคิด จะครอบครองเทคโนโลยี0
แตจงคิดที่จะอยูกับเทคโนโลยีและนำมาใชกับงานของเรา”0
                                     ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ0
                                           081-42892750
                                  surapon@hotmail.com0
แนวทางการพัฒนาศักยภาพ
      ที่ได้จากการสัมมนา 
    Social Network Online  
แนวทางการนํา 
           Social Network Online 
ไปปรับใช้ในการทํางานและเผยแพร่  
เอกสาร อ้างอิง 

[1] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” , การฝกอบรม
หลักสูตรความรูพื้นฐานดานการฝกอบรม, สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, สำนักงานก.พ.,2533-
[2] ,การฝกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝกอบรม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2523-
[3] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” -
[4] สมคิด บางโม. (2544). เทคนิคการฝกอบรมและการประชุม (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จูนพับลิช
ชิ่ง.-
[5] กลยุทธการฝกอบรมสมัยใหม (Modern Training Strategies)-
HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ-
[6] ปรัชญนันท นิลสุข การพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษา0
[7] ธีระ  ประวาลพฤกษ.  การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม.  (กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพการศาสนา,2538):63.-
[8] ไชยยศ ปน วันเสาร ที่ 19 เมษายน 2551วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0
http://www.oknation.net/blog/chaiyospun-
[9] Clark, G. Glossary of CBT/WBT Terms, 1996. [on-line] Available: http://www.clark.net/pub/
nractive/alts.html, page1 and 2-
[10] Driscoll, M. Defining Internet-Based and Web-Based Training. Performance Improvement. 36(4),
April 1997: 5-9.-
-
Download This Slide 
h_p://www.slideshare.net/SuraponBoonlue 
Surapon@hotmail.com 
 
 
 

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” Surapon Boonlue
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลSurapon Boonlue
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานSurapon Boonlue
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Surapon Boonlue
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 

What's hot (20)

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Ict
IctIct
Ict
 

Similar to Social network training

การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาAssociation of Thai Information Science Education
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานNattawoot Boonmee
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานNattawoot Boonmee
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Phuchit MG
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_SiwadolChaimano
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้rungnapa
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้jamrat
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยKanyarat Sirimathep
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย Kanyarat Sirimathep
 

Similar to Social network training (20)

Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
20141105 social-edu
20141105 social-edu20141105 social-edu
20141105 social-edu
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
 

More from Surapon Boonlue

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันSurapon Boonlue
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 

More from Surapon Boonlue (10)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
 
Answer sheet
Answer sheetAnswer sheet
Answer sheet
 
Ox game
Ox gameOx game
Ox game
 
Millionaire game
Millionaire gameMillionaire game
Millionaire game
 

Social network training

  • 1. ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ- ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา- คณะครุศาสตรอุตสาหกรมและเทคโนโลยี- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี- “ Social Network Online ” มิติใหม่สําหรับการฝึกอบรม จัดโดย นศ.ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์   วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุม QS1 206 ชั้น 2 ห้อง 206 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 
  • 2. สิ่งที่เรา จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้  1 2 3                        Modern Training               Social                Network            Adop7on                    เราเชื่อว่า ทุกคนมีความรู้ไม่แตกต่างกัน               
  • 3. 1                           การฝึกอบรม ยุคใหม่
 MODERN TRAINING                กลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยน การฝึกอบรม กระบวนการเรียนรู้สําคัญกว่าความรู้  
  • 4. 21st Century Skills  •  "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 •  ได้ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอก การศึกษา รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) •  หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 
  • 5. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 3R และ 4C 3R การอ่าน (Reading), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) 4C Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication - การสื่อสาร Collaboration - การร่วมมือ   Creativity - ความคิดสร้างสรรค์     รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหาร จัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
  • 6. ความหมายของ “ศตวรรษที่ ๒๑” •  โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นๆๆ และไม่แน่นอน •  ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว •  สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ •  วัตถุมากล้น จิตวิญญาณจาง •  โลกถึงกันหมด •  คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน •  นพ.วิจารณ์ พานิช
  • 7. การศึกษาที่มีคุณภาพ0 ศตวรรษที่ ๒๐, ๑๙- ศตวรรษที่ ๒๑- •  Teaching0 •  Learning0 •  Teach content0 •  Inspire0 •  Teacher0 •  Coach, Facilitator0 •  Content-Based0 •  Skills – Based0 •  Classroom0 •  Studio0 •  Lecture0 •  PBL0 •  Teaching – personal0 •  PLC 0 •  Sequential learning0 •  Integrated learning0 •  Assessment : P - F0 •  Assessment : Reform 30
  • 8. คุณภาพของระบบการเรียนรู้ ต้องไปให้ถึง •  21st Century Skills  •  Transforma7ve Learning  (จาก informa7ve &  forma7ve)   •  มี Change Agent Skills, Leadership  •  ความเป็นพลเมือง
  • 11. การฝึกอบรมแก้ปัญหาได้จริงๆหรือ  •  คงไม่ใช่ยาวิเศษที่จะ สามารถแก้ไขปัญหาทุก อย่างขององค์กรได้ และทัศนคติ (Attitude) •  คงเป็นเพียงแต่แนวทาง หนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหา ทักษะ (Skill) ของพนักงาน และก่อให้ เกิด ลักษณะตามที่ ความรู้ (Knowledge)   ต้องการ
  • 12. ความหมายของการฝึกอบรม "ฝึก" หมายถึง ทําเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชํานาญ "อบรม" หมายถึง แนะนําพร่ําสอนให้ซึบซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัยหรือแนะนํา
 ชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ  ถ้าแปลตามรูปศัพท์
 
 การฝึกอบรม จึงหมายถึง การแนะนํา การสอนเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
 เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชํานาญในเรื่องที่ต้องการ  0 0 พจนานุกรรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 25250
  • 13. กลยุทธ์ในการฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies) 6 อย่าง  •  1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) •  2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning) •  3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning) •  4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning) •  5.การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning) •  6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership) กลยุทธ์การฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies) HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 
  • 15. 1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) •  องค์กรจะมีพนักงานที่มีการสะสมความรู้ประสบการณ์ทั้งจากการฝึก อบรมหรือเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง (Learning by doing) ซึ่งเรียก ว่า ความรู้ภายใน ( Tacit Knowledge) •  ซึ่งถ้านํามาแลกเปลี่ยนกันโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่าการแลก เปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) •  ซึ่งจะทําให้ได้ความรู้ที่เรียกว่าความรู้ภายนอก (Explicit Knowledge ) •  ทุกคนที่เกี่ยวข้องสามารถรู้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถนําไปเก็บไว้ใน รูปของเอกสารหรือสารสนเทศอื่นๆขององค์กรซึ่งเรียกว่าคลังความรู้ (Data Warehouse) •  ซึ่งกระบวนการการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดเรื่องการจัดการ ความรู้ (Knowledge Management) หรือ เรียกย่อ ๆ ว่า KM ที่ได้รับ ความสนใจอย่างมากในยุคปัจจุบัน
  • 16. มิติในทางการศึกษา Dimension of Education- Ubiquitous - Blended Learning- -
  • 17. 2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning)   •  การเรียนรู้กับการทํางานเหมือนเหรียญ สองด้าน ซึ่งหมายความถึงต้องควบคู่กัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ •  ในการฝึกอบรมคงไม่ใช่การหยุดงานเพื่อไป เข้าห้องฝึกอบรมและนําเอาความรู้ในห้อง ฝึกอบรมมาใช้ในการทํางาน •  เรามักพบว่าในความเป็นจริงแล้วความรู้ที่ได้ จากห้องฝึกอบรมอาจจะไม่สามารถนําไปใช้ ในการทํางานได้ทั้งหมด •  ดังนั้นการฝึกอบรมที่ถือว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งคือ การฝึกอบรมที่ควบคู่ไปกับการทํางานจริง (On The job ‒ training) จะเห็นได้ว่าวิธีนี้ได้ รับความนิยมมากในประเทศญี่ปุ่น โดยผู้ที่ จะมีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมวิธีนี้คือ หัวหน้างานนั่นเอง
  • 18. 3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning)   •  เหตุการณ์ที่พนักงานที่กําลังปฏิบัติงานอยู่เกิด ความสงสัยไม่แน่ใจในวิธีการทํางาน หรือ ต้องการความรู้เพิ่มเติมอย่างเร่งด่วนในเรื่อง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทํางาน •  วิธีการตอบสนองความต้องการดังกล่าว ใน รูปของสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E- learning) •  และสุดท้ายอาจต้องมีบุคลากรที่เรียกว่าที่ ปรึกษาการเรียนรู้ (Learning Consultant) ประจําอยู่เพื่อช่วยให้พนักงานเรียนรู้ได้สะดวก มากยิ่งขึ้น
  • 19. 4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning)   การฝึกอบรมสมัยใหม่มีการนําแนวคิดเรื่องของ •  ความสามารถ (Competency) มาใช้เพื่อกําหนดว่าพนักงานแต่และคนควรมี ความสามารถในเรื่องใดบ้าง •  และในแต่ละปีจะมีการประเมินความสามารถ (Competency Assessment) •  เพื่อหาว่าพนักงานแต่ละคนมีจุดแข็งและจุดอ่อนในเรื่องใด ที่จะนําไปสู่การฝึก อบรมต่อไป ซึ่งจะทําให้การนํางบประมาณ หรือทรัพยากรขององค์กรไปใช้ได้ อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
  • 20. 5. การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning)  •  ในปัจจุบันเริ่มนําแนวคิดเรื่อง ROI มาใช้อธิบายกันอยู่บ้าง •  เพื่อตอบโจทย์ว่าองค์กรได้ผลประโยชน์อะไรบ้างในการฝึกอบรมแต่ละครั้ง •  มีนักวิชาการหลายท่านเห็นว่า ROI เป็นสิ่งที่จับต้องได้ยาก เพราะการฝึกอบรม แต่ละครั้งอาจไม่ส่งผลประโยชน์ทันทีทันใด โดยจะต้องใช้ระยะเวลา หรือโอกาส ที่จะนําไปใช้ก็ได้
  • 21. 6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership)   •  ในการฝึกอบรมในยุคที่มีองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างมาก พบว่าองค์กร แต่ละแห่งจะต้องพยายามตามกระแสของความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ให้ทัน   •  โดยเฉพาะหน่วยงานฝึกอบรมต้องรู้ว่าแนวโน้มในอนาคตจะมีองค์ความรู้ หรือ เครื่องมือใหม่ๆอะไรเกิดขึ้นบ้าง ซึ่งถือว่าเป็นภาระอันหนักยิ่งขององค์กร ดัง นั้น •  แนวโน้มการฝึกอบรมสมัยใหม่ควรมีการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการ ศึกษาที่เป็นแหล่งที่สร้างองค์ความรู้ เช่นการทําวิจัย (Research) เพื่อให้ได้ องค์ความรู้มาใช้พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน •  โดยองค์กรอาจมีการส่งพนักงานเข้าไปฝึกอบรมในหลักสูตรระยะสั้นที่ ออกแบบร่วมกับสถาบันการศึกษา หรือมีการให้ทุนสถาบันการศึกษาวิจัยเพื่อ สร้างองค์ความรู้ และถ่ายทอดให้กับพนักงานในองค์กรที่ถือได้ว่าเป็นวิธีหนึ่ง ในการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ
  • 22. วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0 •  1. ต้องเข้าใจว่า ผู้เรียนหรือผู้เข้าอบรมคือคนที่รู้ดีที่สุดในงานของเขา •  2. ไม่จําเป็นต้องแจกเอกสารประกอบการบรรยายที่เต็มไปด้วยทฤษฎีต่าง ๆ •  3.  ไม่จําเป็นต้องอยู่ในห้องฝึกอบรมทุกวัน •  4.  วิทยากรยุคใหม่ควรเข้าใจเรื่อง  Action Learning  •  5.  ควรจัดเตรียมอุปกรณ์หรือเครื่องมือค้นหาข้อมูลความรู้ในขณะที่ฝึกอบรม •  6. ควรสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนอยากเรียน อยากรู้ อยากแลกเปลี่ยน  •  7.  ควรใช้เทคนิคการฝึกอบรมที่แตกต่าง และหลากหลายมากขึ้น ไชยยศ ปั้น
  • 24. Bloom s Taxonomy  Evaluation Create Synthesis Evaluate Analysis Analyze Application Apply Comprehension Understand Knowledge Remember 1956 - Original 2001 - Revised
  • 25.
  • 26. วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ •  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความรู้เป็นพื้นฐานในการนําไปสู่ความเข้าใจ •  2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน คือ ความคล่องแคล่วในการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้โดยอัตโนมัติ •  3. เพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การฝึกอบรมสามารถเปลี่ยนแปลง ทัศนคติไปในทางที่ดีที่พึงปรารถนา ซึ่งเป็นพื้นฐานทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล0
  • 27. ความสําคัญของการฝึกอบรม. •  1. เพื่อความอยู่รอดขององค์การเอง เพราะปัจจุบันมีสภาพการแข่งขัน ระหว่างองค์การรุนแรงมาก การฝึกอบรมจะช่วยให้องค์การเข้มแข็ง และ ช่วยให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทํางานยิ่งขึ้น •              2. เพื่อให้องค์การเจริญเติบโต มีการขยายการผลิต การขาย และ การขยายงานด้านต่าง ๆ ออกไป ในการนี้จําเป็นต้องสร้างบุคคลที่มีความ สามารถเพื่อที่จะรองรับงานเหล่านั้น •              3. เมื่อรับบุคลากรใหม่จําเป็นต้องให้เขารู้จักองค์การเป็นอย่างดีใน ทุก ๆ ด้าน และต้องฝึกอบรมให้รู้วิธีทํางานขององค์การ แม้จะมี ประสบการณ์มาจากที่อื่นแล้วก็ตาม เพราะสภาพการทํางานในแต่ละ องค์การย่อมแตกต่างกัน
 
            0
  • 28. ความสําคัญของการฝึกอบรม. •  4. ปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก จึงจําเป็นต้องฝึกอบรม บุคลากรให้มีความรู้ทันสมัยเสมอ ถ้าบุคลากรมีความคิดล้าหลัง องค์การก็ จะล้าหลังตามไปด้วย •  5. เมื่อบุคลากรทํางานมาเป็นเวลานานจะทําให้เฉื่อยชา เบื่อหน่าย ไม่ กระตือรือร้น การฝึกอบรมจะช่วยกระตุ้นให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น •  6. เพื่อเตรียมบุคลากรสําหรับรับตําแหน่งใหม่ที่สูงขึ้น โยกย้ายงานหรือแทน คนที่ลาออกไป
 0
  • 29. ประเภทของการฝึกอบรม 1. Pre-Service •  1. การฝึกอบรมก่อนประจําการ Training  2. In-Service Training  (Pre-Service Training)          •  2. การฝึกอบรมระหว่างประจํา การ (In-Service Training) 0 K  S  Orientaon  A 
  • 30. ขั้นตอนของการฝึกอบรม ขั้นการวิเคราะห์ความจําเป็นในการฝึกอบรม (analyze) ขั้นการออกแบบโปรแกรมการฝึกอบรม (design) ขั้นการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม (develop)  ขั้นการนําโปรแกรมการฝึกอบรมไปสู่การปฏิบัติ (implement) และขั้นการประเมินผลโปรแกรมการฝึกอบรม (evaluation)0 ประเมินผล  นําไปใช้  พัฒนา  ออกแบบ  E  วิเคราะห์  I  D  D  A 
  • 31. ADDIE Model- Summative Formative Analysis-  Design -  Development-  Implementation-  Evaluation-
  • 32. รูปแบบการสอนการฝึกอบรม 1. Classroom  2. Interactive  3.  Face plate  4.  Hand-on  training  videodise simulators training       methods  จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 
  • 33. กิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม สู่ เครือข่่ายสังคม 3 การจัดประชุม เชิงปฏิบัติการ (workshop)  2 การส่งบุคลากร 4 การศึกษาดู ไปอบรม งาน ภายนอกองค์กร (Field Trip)  (Public Training)   1 การจัดฝึกอบรมเอง Social  5 การฝึกอบรมในขณะ ปฏิบัติงานจริง ภายในองค์กร (In house training)  Media  (On the job Training  training)0 จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 
  • 34. การฝึกอบรมออนไลน์  ความหมายของ อินเตอร์เพื่อการฝึกอบรม   •  เป็นการใช้ทักษะหรือความรู้ต่าง ๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น ถ้าแบ่งตามรูปแบบของ เครื่องมือที่ใช้บนอินเทอร์เน็ตก็จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ   •  1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only)  •  2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)0 ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
  • 35. 1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only) •  - ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail: e-mail) •  - กระดานข่าวสาร (Bulletin Board) •  - ห้องสนทนา (Chat Room) •  - โปรแกรมดาวน์โหลด (Software downloading)0 ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
  • 36. 2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia) เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการฝึกอบรม ที่มีโครงสร้างลักษณะเป็นกราฟิก การ สืบค้นโดยใช้ภาพในรูปแบบของเว็บ ซึ่งทําให้มีชื่อเรียกหลายลักษณะ ได้แก่ ‐ เว็บฝึกอบรม (Web‐Based Training)  - เว็บช่วยสอน (Web-Based Instruction) - เว็บเพื่อการศึกษา (Web-Based Edcuation) - เว็บช่วยการเรียนรู้ (Web-Based Learning) - อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) - อินเทอร์เน็ตช่วยสอน (Internet-Based Instruction) - เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) - เวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction)0 ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 
  • 37.
  • 38. เทคโนโลยีสนับสนุนการเข้าถึง Social Network   1.  มือถือชองทางใหมของการเขาสูอินเทอรเน็ต0 2.  รูปแบบขอมูลที่ตอบรับระบบอินเทอรเน็ต0 และระบบ Social Network - 3. ระบบอินเทอรเน็ต- 0
  • 39. ข้อดีของ การจัดฝึกอบรม ด้วย Social Network   1.  ใช้ได้กับ กลุ่มบุคคล ที่อยู่ทางไกล 2.  ใช้ได้กับ บุคคล ที่เดียวกันแต่มีปริมาณมาก 3.  ใช้ได้กับ บุคคลปริมาณมาก และอยู่ไกลกัน 4.  ลักษณะไม่เป็นทางการ  0
  • 40. 2                                           เครือข่ายสังคม
 SOCIAL NETWORK  1. เป็นการสื่อสารยังลูกค้าโดยตรง                
  • 41. WBT 
  • 42. การทํางานของ Social Media  Internet   Wikipedia (2009) ให้ความหมาย (Social Network) ว่า เป็น โครงสร้างสังคมที่ประกอบด้วยโหนด (Node) ต่างๆ เชื่อมต่อกัน ซึ่งแต่ละโหนดที่เชื่อมโยงกันก็อาจมีความสัมพันธ์กับโหนดอื่นๆ ด้วย โดยอาจมีระดับของความสัมพันธ์กัน มีความซับซ้อน มีเป้า หมาย -
  • 43. เหตุผลที่องค์กรควรปรับสู่ Social Network   1 ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่ 2 แนบชิดกับลูกค้า และคนในองค์กร 3 ลดการนินทาว่าร้ายจากคนในองค์กร 4 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีกับองค์กร 5 ช่องทางกระจายองค์ความรู้ 6 สร้างความได้เปรียบในการเข้าถึงข้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ๆ 0 มีลักษณะไมเปนทางการ ทำใหลูกคารูสึกเปนกันเอง0
  • 45. The Changing Web  เว็บในยุคนี้จะ  เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต  เหมือนกระแสไฟฟ้า  โทรทัศน์  โทรศัพท์ 
  • 46. The Growth of Communication media 50 Million
  • 47.
  • 48.
  • 49. แนวคิดและความหมายของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)  การที่มนุษย์สามารถเชื่อม โยงถึงกัน ทําความรู้จักกัน สื่อสาร ถึงกันได้ ผ่านทางระบบ อินเทอร์เน็ต ในรูปแบบการให้บริการ ผ่านเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงระหว่าง บุคคลต่อบุคคล ไปจนถึงบุคคล กับกลุ่มบุคคล ไว้ด้วยกันนั่นเอง  
  • 50. ประเภทของ Social Network  •  1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network) •  2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network) •  3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network) •  4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network) •  5 ประเภทPeer to Peer (P2P) •  6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality)  •    
  • 51. 1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network)  เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สาหรับนาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของ ตนเองทางอินเตอร์เน็ตสามารถเขียน blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อน และสร้างเครือข่ายขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น  facebook , hi 5, My Space ดังภาพ  
  • 52. 2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network)    เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่านี้ในการนาเสนอผลงานของตัวเองได้ อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงเพลง ว่าเว็บไซต์ ประเภท VDO Sharing นี้สามารถเผยแพร่ผลงานได้ดี 
  • 53. 3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network)  มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการรวมกันของสมาชิก ซึ่งมีความสนใจ ที่ตรงกันหรือสนใจในเรื่องเดียวกัน ตัวอย่างเช่น  del.icio.us เป็น Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking  โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไว้ใน เครื่องของเราคนเดียว ก็เปลี่ยนรูปแบบให้สามารถแบ่งให้ผู้อื่นดู ได้ด้วย และสามารถรู้ได้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก เป็นที่น่าสนใจ โดยดูได้จากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก  Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ นั่นเอง 
  • 54. 4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network)  มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการทางานร่วมกัน หรือมีการใช้ข้อมูลร่วมกันในเรื่อง เดียวกัน ตัวอย่างเช่น  WikiPedia เป็นสารานุกรม ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์ ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย และมี ภาษาไทยด้วย  Google Maps ปัจจุบันสร้างแผนที่ของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอื่นได้ จึง ทาให้มีสถานที่สาคัญ หรือสถานที่ต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของ สถานที่นั้นๆ ไว้ พร้อมทั้งแสดงผลจากการค้นหาได้อีกด้วย      
  • 55. 5 ประเภทPeer to Peer (P2P)  P2P เป็นการเชื่อมต่อกันระหว่าง Client (เครื่องผู้ใช้, เครื่องลูก ข่าย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงได้นาหลักการนี้มา ใช้เป็นโปรแกรมสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต และก็มี BitTorrent เกิด ขึ้นมาเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เกิดการแบ่งปันไฟล์ต่างๆ ได้อย่าง กว้างขวาง และรวดเร็ว      
  • 56. 6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality)  โลกเสมือนในที่นี้ คือเกมส์ออนไลน์ตัวอย่างเช่น Second Life เป็น โลกเสมือนจริง สามารถสร้างตัวละครโดยสมมุติให้เป็นตัวเราเอง ขึ้นมาได้ มีการใช้ชีวิตอยู่ในเกมส์ อยู่ในชุมชนเสมือน(Virtual  Community) สามารถซื้อขายที่ดิน และหารายได้จากการทา กิจกรรมต่างๆ ได้      
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61. •  มีการกด Like แลวทั้งหมด 1.3 ลานลานครั้ง0 •  มีการอัพโหลดรูปภาพไปแลวกวา 2.19 แสนลานรูป0 •  เช็คอิน 1.7 หมื่นลานครั้ง0 •  อายุเฉลี่ยของผูใชอยูที่ 22 ป0 •  ผูใช Facabook บนอุปกรณพกพา กวา 500 ลานคน0
  • 63. เแสดงแนวโน้มจํานวนผู้เข้าใช้เว็บไซต์และแนวโน้มระยะเวลาการใช้ 
 Social Network The Nielsen Company   สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลา
 บนโลกอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม 
 ทาให้บทบาทของ Social Media ในช่วงนี้ถึงมาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์ ในปัจจุบัน    
  • 64. ความถี่ในการเข้าใช้   สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลาบนโลก อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม ทาให้บทบาทของ  Social Media มาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์ในปัจจุบัน    
  • 66. 3                           แนวทาง การนําไปใช้
 Adopon   View your slides from anywhere!               
  • 67. 2.5%0 13%0 34%0 34%0 16%0 นวัตกร   ผู้รับเร็ว   ผู้รับค่อนข้างเร็ว  ผู้รับค่อนข้างช้า
 ผู้ล้าหลัง
 INNOVATORS0 EARLY0 EARLY0 LATE0 LAGGARDS0 ADOPTERS0 MAJORITY0 MAJORITY0 ROGERS SHOEMAKER0
  • 68. การเลือกสื่อการสอน0 Dynamic (Flexible)    Virtual Classroom   Sharable Content  Complex Content  Simple Content  Web Page  Presenta7on  Kiosk  eBook  CMI, CBT     Print Media  Sta7c 
  • 69. มิติในทางการศึกษา Dimension of Education- Ubiquitous - Blended Learning- -
  • 70. Dimension of online Learning 7
  • 75. Google App    •  Google App  •  Google Doc  •  Google Mobile,Photo  •  Google Map  •  You Tube Chanel  •  Google Analyc  •  My Block  
  • 76. ขั้นตอนของการ.ใช้ Social Media กับการฝึกอบรม Google Map  My Block   Wikipedia  Google Analyc  You tube  Twister  Google Doc  Face Book  ประเมินผล  Google Calendar  Google Doc  นําไปใช้  Google Doc  พัฒนา  Google Doc  ออกแบบ  E  วิเคราะห์  I  D  D  A 
  • 82. Google Calendar  •  Manage Your life  •  Agenda  •  Bookmark  •  Manage Group  •  Sent e‐mail,SMS 
  • 86. แนวทางที่น่าสนใจในการจัดกิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม KM  ในองค์กร กิจกรรมด้านการวางแผนพัฒนาอาชีพ (Career Path หรือ Career Planning) กิจกรรมร่วมระหว่างพนักงาน กิจกรรม 5 ส. 0
  • 88. การสอนบนฐานความเป็นมนุษย์ 
 (Humanism‐based Instruc7on) ่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา และใช้ 1.  การสอนแบบ A เป็นแบบที เทคโนโลยีต่ํา ผู้สอนไม่สามารถจะสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ เรียนแต่ละคนได้ การสอนแบบนี้พบได้ในการเรียนที่มีผู้เรียน จํานวนมาก และใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน เช่นการบรรยายใน ห้องเรียนขนาดใหญ่ 2.  การสอนแบบ B เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา แต่ใช้ เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้มีการออกแบบการสอนสําหรับ การเรียนทางไกล ที่ต้องใช้เทคโนโลยีสูง เช่น มีการใช้ E‐ learning  3.  การสอนแบบ C เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูงและใช้ เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้จะเป็นการสอนในห้องเรียน ขนาดเล็ก มีผู้เรียนประมาณ 10 คน มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้ สอนกับผู้เรียนมาก 4.  การสอนแบบ D เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูง แต่ใช้ เทคโนโลยีต่ํา การออกแบบการสอนแบบนี้เหมาะกับการ ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5.  การสอนแบบ E เป็นการสอนที่ใช้ทั้งความเป็นมนุษย์และใช้ เทคโนโลยีเท่าๆ กัน เป็นการสอนที่น่าจะให้ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการสอนในระดับที่น่าพอใจ เป็นสายกลาง ระหว่างความเป็นมนุษย์และเทคโนโลยี และที่สําคัญมนุษย์ยัง คงเป็นผู้สอนมนุษย์ด้วยกันอีกด้วย ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าการ สอนแบบ Heutagogy 
  • 89. 0 อภิปราย0 0 สื่อจะเปนอยางไร0 การฝกอบรม อนาคต0 Training0 อุปกรณจะเปน การสื่อสารจะเปน อยางไร0 ลักษณะใด0
  • 90. กระแสพระราชดำรัส พระราชดำรัส - พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว - เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 2539- ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต- 7 เทคโนโลยีชั้นสูงนี้ คนสวนมาก เดี๋ยวนี้ก็เขาใจ วามีโทรทัศน มีดาวเทียม มี เครื่องคอมพิวเตอร. แตวาเครื่องเหลานี้ หรือสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ไมมีชีวิต ดูรูป รางทาทางเหมือนมีชีวิต แตอาจจะไมมีชีวิต มีสีก็มีสีได แตวาไมมีสัน. คือ สีสันนั่นรวมแลวมันครบถวน และยังไมครบ ยังไมมีจิตใจ.  อาจจะทำใหคน ที่มีจิตใจออนเปลี่ยนเปนคนละคนก็ได แตวาที่จะอบรมโดยใชสื่อที่กาวหนา ที่มีเทคโนโลยีสูงนี่ยากที่สุด ที่จะอบรมบมนิสัยดวยเครื่องเหลานี้ ฉะนั้นไมมี อะไร แทนคนสอนคน 7
  • 91. 0 ขอคิดสุดทาย0 0 “อยาคิด จะครอบครองเทคโนโลยี0 แตจงคิดที่จะอยูกับเทคโนโลยีและนำมาใชกับงานของเรา”0 ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ0 081-42892750 surapon@hotmail.com0
  • 92. แนวทางการพัฒนาศักยภาพ ที่ได้จากการสัมมนา Social Network Online  
  • 93. แนวทางการนํา Social Network Online  ไปปรับใช้ในการทํางานและเผยแพร่  
  • 94. เอกสาร อ้างอิง  [1] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” , การฝกอบรม หลักสูตรความรูพื้นฐานดานการฝกอบรม, สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, สำนักงานก.พ.,2533- [2] ,การฝกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝกอบรม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2523- [3] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” - [4] สมคิด บางโม. (2544). เทคนิคการฝกอบรมและการประชุม (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จูนพับลิช ชิ่ง.- [5] กลยุทธการฝกอบรมสมัยใหม (Modern Training Strategies)- HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ- [6] ปรัชญนันท นิลสุข การพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษา0 [7] ธีระ  ประวาลพฤกษ.  การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม.  (กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพการศาสนา,2538):63.- [8] ไชยยศ ปน วันเสาร ที่ 19 เมษายน 2551วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0 http://www.oknation.net/blog/chaiyospun- [9] Clark, G. Glossary of CBT/WBT Terms, 1996. [on-line] Available: http://www.clark.net/pub/ nractive/alts.html, page1 and 2- [10] Driscoll, M. Defining Internet-Based and Web-Based Training. Performance Improvement. 36(4), April 1997: 5-9.- -