SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
จัดทาโดย
1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส 565050036-5
2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส 565050045-4
3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส 565050222-8
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ และให้นักเรียน
อ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ
๏ นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน
๏ ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือ การไตร่ตรองในระหว่าง
การเรียน
๏ นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง
จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อ
แก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
การจัดการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
สถานการณ์ที่ 1
การแก้ปัญหา
ใช้หลักการ Cognitive Constructivism เนื่องจากหลักการนี้จะเน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้เป็น
กระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ เน้นสภาพจริง ประสบการณ์จริง เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับใหม่ ทาให้
ผู้เรียนนั้นค้นวิธีการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ตัวอย่าง ครูสง่าให้นักเรียนจดจาแต่เนื้อ ไม่เกิด
กระบวนการคิด ไม่ได้ลงมือกระทา ดังนั้น ควรให้ครูสง่าจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เนื่องจากผู้เรียน
จะได้สร้างประเด็นปัญหาที่สนใจ วางแผนการ ลงมือสืบค้น ทดลอง ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา
แล้วสรุปอภิปรายการแก้ปัญหา
สถานการณ์ที่ 1
อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจในการ
เรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ และ
เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจาวันได้เลย "
คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นร.ตั้งใจเรียนและเห็นความสาคัญ
ของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดย
อธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
สถานการณ์ที่ 2
แก้ปัญหา
ใช้การเรียนรู้แบบการค้นพบ โดยอาศัยหลักการ Social Constructivist Theory เป็นทฤษฎีที่มี
รากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพัธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้าน
พุทธิปัญญา" ผู้เรียน จาเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการ เรียนและ Vygotsky เชื่อว่าผู้เรียนสร้าง
ความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน ในขณะที่
เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม(Sociocultural context )
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ เช่น ให้ผู้เรียนปฏิบัติงานกลุ่ม กระตุ้นให้ผู้เรียนต่อสู้กับปัญหา รวมไป
ถึงเชื่อมโยงสถาณการณ์จริงที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ สร้างบริบทสาหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับการ
ส่งเสริมในกิจกรรมที่น่าสนใจมีการเชื่อมโยงไปสู่การมใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
สถานการณ์ที่ 2
สถานการณ์ที่ 3
ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์ดังกล่าวมี
วิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด
ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมากเกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตาม
หลักการดังกล่าวด้วย
สถานการณ์ที่ 3
แก้ปัญหา
ใช้หลักการ Cognitive Constructivist ที่มาจากทฤษฎีพัฒนาการของ Piajet ทฤษฎีนี้ถือว่า
ผู้เรียนเป็นผู้กระทา และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเองปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิด
ความไม่สมดุลย์ทางพุทธิปัญญาขึ้นเป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสาร
ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลย์ทางพุทธิปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา
(สกีมา)ที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขยาย และซับซ้อนขึ้นได้โดยผ่านทางกระบวนการดูดซึม และ การ
ปรับเปลี่ยน เช่น ครูยาใจ กาหนดโจทย์สถานการณ์ ให้นักเรียนลองทาโจทย์ดังกล่าวเมื่อได้วิธีการของ
ผู้เรียนแล้วกาหนดให้นักเรียนหาวิธีอื่นที่มาใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าวว่ามีวิธีอื่นหรือไม่ ครูช่วยปรับขยาย
โครงสร้างทางปัญญาโดยก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ถกเถียงปัญหา ซัก
ค้านจนกระทั่งหาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทางปัญญาภายในตนเอง และ
ระหว่างบุคคลได้ อาจยกตัวอย่างโจทย์ข้อหนึ่งใช้วิธีการคนละวิธีหาคาตอบได้แต่กลับใช้วิธีที่นักเรียนใช้ใน
ตอนแรกหาไม่ได้ ทาให้นักเรียนเกิดโรงสร้างทางปัญญาใหม่
ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้
สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่
นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น
ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิ
สซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครู
ทองสุข
สถานการณ์ที่ 4
แก้ปัญหา
สามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึม มาใช้ในจุดต่างๆดังต่อไปนี้
- การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative)และ การเรียนรู้เกิดจาการลงมือ
กระทา (Learning active) ในการจัดการเรียนรู้โดย การให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม และ ร่วมมือ
กันแก้ปัญหา เช่น ในวิชาท้องถิ่นของเราที่ครูทองสุขสอน ครูทองสุขให้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่ม โดยให้แต่
ละกลุ่มไปศึกษาหัวข้อ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นของเรา เพื่อนามาอภิปรายร่วมกัน
- การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน เช่นหลังจากแต่ละกลุ่มได้ออกไปศึกษา ให้ทุกคนร่วมอภิปรายผลการศึกษาในแต่ละท้องถิ่นที่
ตนเองได้ไปศึกษามา วิเคราะห์ ความเหมือน ความแตกต่างของผลการศึกษาแต่ละกลุ่ม
- การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ครูทอง
สุขให้นักเรียนในห้องร่วมกันอภิปราย หลังจากที่ได้ข้อมูลที่ไปศึกษามาแล้วแต่ละคนสามารถนาความรู้
ดังกล่าวไปใช้ได้อย่างไร แล้วสรุปการประยุกต์ใช้ดังกล่าว ในรูป mind map นาเสนอหน้าชั้นเรียน
สถานการณ์ที่ 4
Constructivist  theories

More Related Content

What's hot

งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...Joy Kularbam
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาGroup1 NisaPittaya
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยาGroup1 NisaPittaya
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นFern's Phatchariwan
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนAnusara Monta
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้sarayut_mark
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนnamyensudarat
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2mathitopanam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mathitopanam
 

What's hot (18)

งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูพิทยา
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 

Similar to Constructivist theories

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)Uraiwan Chankan
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่นิพ พิทา
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาNalintip Vongsapat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 

Similar to Constructivist theories (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

More from Uraiwan Chankan

สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 

More from Uraiwan Chankan (7)

สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 

Constructivist theories

  • 1. จัดทาโดย 1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส 565050036-5 2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส 565050045-4 3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส 565050222-8 สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ และให้นักเรียน อ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ ๏ นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน ๏ ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือ การไตร่ตรองในระหว่าง การเรียน ๏ นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อ แก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่าง การจัดการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย สถานการณ์ที่ 1
  • 3. การแก้ปัญหา ใช้หลักการ Cognitive Constructivism เนื่องจากหลักการนี้จะเน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้เป็น กระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ เน้นสภาพจริง ประสบการณ์จริง เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับใหม่ ทาให้ ผู้เรียนนั้นค้นวิธีการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ตัวอย่าง ครูสง่าให้นักเรียนจดจาแต่เนื้อ ไม่เกิด กระบวนการคิด ไม่ได้ลงมือกระทา ดังนั้น ควรให้ครูสง่าจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เนื่องจากผู้เรียน จะได้สร้างประเด็นปัญหาที่สนใจ วางแผนการ ลงมือสืบค้น ทดลอง ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา แล้วสรุปอภิปรายการแก้ปัญหา สถานการณ์ที่ 1
  • 4. อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจในการ เรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ และ เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจาวันได้เลย " คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นร.ตั้งใจเรียนและเห็นความสาคัญ ของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดย อธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย สถานการณ์ที่ 2
  • 5. แก้ปัญหา ใช้การเรียนรู้แบบการค้นพบ โดยอาศัยหลักการ Social Constructivist Theory เป็นทฤษฎีที่มี รากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพัธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้าน พุทธิปัญญา" ผู้เรียน จาเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการ เรียนและ Vygotsky เชื่อว่าผู้เรียนสร้าง ความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน ในขณะที่ เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม(Sociocultural context ) ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ เช่น ให้ผู้เรียนปฏิบัติงานกลุ่ม กระตุ้นให้ผู้เรียนต่อสู้กับปัญหา รวมไป ถึงเชื่อมโยงสถาณการณ์จริงที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ สร้างบริบทสาหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับการ ส่งเสริมในกิจกรรมที่น่าสนใจมีการเชื่อมโยงไปสู่การมใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ สถานการณ์ที่ 2
  • 6. สถานการณ์ที่ 3 ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์ดังกล่าวมี วิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมากเกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตาม หลักการดังกล่าวด้วย
  • 7. สถานการณ์ที่ 3 แก้ปัญหา ใช้หลักการ Cognitive Constructivist ที่มาจากทฤษฎีพัฒนาการของ Piajet ทฤษฎีนี้ถือว่า ผู้เรียนเป็นผู้กระทา และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเองปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิด ความไม่สมดุลย์ทางพุทธิปัญญาขึ้นเป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสาร ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลย์ทางพุทธิปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา (สกีมา)ที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขยาย และซับซ้อนขึ้นได้โดยผ่านทางกระบวนการดูดซึม และ การ ปรับเปลี่ยน เช่น ครูยาใจ กาหนดโจทย์สถานการณ์ ให้นักเรียนลองทาโจทย์ดังกล่าวเมื่อได้วิธีการของ ผู้เรียนแล้วกาหนดให้นักเรียนหาวิธีอื่นที่มาใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าวว่ามีวิธีอื่นหรือไม่ ครูช่วยปรับขยาย โครงสร้างทางปัญญาโดยก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ถกเถียงปัญหา ซัก ค้านจนกระทั่งหาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทางปัญญาภายในตนเอง และ ระหว่างบุคคลได้ อาจยกตัวอย่างโจทย์ข้อหนึ่งใช้วิธีการคนละวิธีหาคาตอบได้แต่กลับใช้วิธีที่นักเรียนใช้ใน ตอนแรกหาไม่ได้ ทาให้นักเรียนเกิดโรงสร้างทางปัญญาใหม่
  • 8. ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่ นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิ สซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครู ทองสุข สถานการณ์ที่ 4
  • 9. แก้ปัญหา สามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึม มาใช้ในจุดต่างๆดังต่อไปนี้ - การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative)และ การเรียนรู้เกิดจาการลงมือ กระทา (Learning active) ในการจัดการเรียนรู้โดย การให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม และ ร่วมมือ กันแก้ปัญหา เช่น ในวิชาท้องถิ่นของเราที่ครูทองสุขสอน ครูทองสุขให้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่ม โดยให้แต่ ละกลุ่มไปศึกษาหัวข้อ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นของเรา เพื่อนามาอภิปรายร่วมกัน - การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กันและกัน เช่นหลังจากแต่ละกลุ่มได้ออกไปศึกษา ให้ทุกคนร่วมอภิปรายผลการศึกษาในแต่ละท้องถิ่นที่ ตนเองได้ไปศึกษามา วิเคราะห์ ความเหมือน ความแตกต่างของผลการศึกษาแต่ละกลุ่ม - การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ครูทอง สุขให้นักเรียนในห้องร่วมกันอภิปราย หลังจากที่ได้ข้อมูลที่ไปศึกษามาแล้วแต่ละคนสามารถนาความรู้ ดังกล่าวไปใช้ได้อย่างไร แล้วสรุปการประยุกต์ใช้ดังกล่าว ในรูป mind map นาเสนอหน้าชั้นเรียน สถานการณ์ที่ 4