SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivist Theories)
จัดทาโดย
นางอุษณีย์ มณีรัตน์ รหัส 565050052-7
นางณัฐพัชร์ งานไว รหัส 565050040-4
นายวุฒิพงษ์ พากิจรัตน์ รหัส 565050047-0
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานการณ์ที่ 1
ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบใน
การสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ และให้นักเรียน
อ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ
- นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน
- ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive
process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรองในระหว่าง
การเรียน
- นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง
จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดใน
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อ
แก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการ
ดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้
ครูสง่าด้วย
ตอบ จากสถานการณ์ที่ 1 นาหลัก กระบวนการ
ที่ผู้เรียนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning of active
Process ) ประสบการณ์ตรงและค้นหาวิธีการแก้ปัญหา
ความสาคัญของการเรียนตามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิ
สซึม เป็นกระบวนการ ที่ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลใหม่กับ
ประสบการณ์ที่มีมาก่อนหรือความรู้เดิมของผู้เรียน และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ แนวคิดที่หลากหลายเป็นสิ่ง
ที่มีค่าและจาเป็น (Multiple perspective are valued
and necessary) ตามแนวทางทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม
กล่าวว่า ผู้เรียนจะต้องสร้างแนวคิดของตนเอง แนวคิดนี้
จาเป็นต้องประกอบด้วยแนวคิดที่หลากหลายและ
กว้างขวาง ส่งเสริมให้ผู้เรียนรวบรวมแนวคิดที่หลากหลาย
และสังเคราะห์สิ่งเหล่านี้เป็นแนวคิดของตัวเองขึ้นมาใหม่
ยกตัวอย่าง การสอนเรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิต โดย
ให้นักเรียนนาว่านกาบหอยมาศึกษาเซลล์ด้วยกล้อง
จุลทรรศน์ โดยให้นักเรียนทาการทดลองด้วยตนเอง ทาให้
นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลง
มือกระทาด้วยตัวเอง
สถานการณ์ที่ 2
อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้
สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้
สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์
ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนใน
ชีวิตประจาวันได้เลย "
คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไร
เพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้ นร.ตั้งใจเรียน
และเห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้
หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็น
ฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดย
อธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
ตอบ การจัดการเรียนการสอนใหม่ จัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของตามกลุ่ม
แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)
การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated
learning) การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นในสภาพจริง
หรือต้องเหมาะสมหรือสะท้อนบริบทของสภาพ
จริง จะนาไปสู่การเชื่อมโยงความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันโดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้นมา
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น จัด
กิจกรรมให้นักเรียนเป็นนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์
ในโรงเรียน ทาการศึกษาเกี่ยวข้องกับ
สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศภายในโรงเรียน ซึ่ง
นักเรียนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และให้
ความสนใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว
นักเรียนเอง อีกทั้งนักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้
จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย
สถานการณ์ที่ 3
ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้ง
โจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์
ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่
นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย
และในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้
เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเอง
มากเกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไป
ตลอด
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการ
ใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็น
ฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ
ให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ
ดังกล่าวด้วย
ตอบ การจัดการเรียนการสอนใหม่ จัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของตาม
กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism) จัดการเรียนรู้ที่เกิด
จากการร่วมมือ (Collaborative
learning) ความหมายในการเรียนรู้ เป็น
การต่อรองจากแนวคิดที่หลากหลาย การ
พัฒนาความคิดรวบยอดของตนเองได้มาจาก
การร่วมแบ่งปันแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม
และในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่ง
ที่แทนความรู้ในสมอง (Knowledge
representation) ที่สนองตอบต่อ
แนวคิดที่หลากหลายนั้น
หรืออาจกล่าวได้ว่าในขณะที่มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการอภิปราย เสนอ
ความคิดเห็นที่หลากหลายของแต่ละคน
ผู้เรียนจะมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้
ของตนด้วย และสร้างความหมายของ
ตนเองขึ้นมาใหม่ จึงได้ปรับวิธีการสอนเป็น
จัดกิจกรรมกลุ่ม จึงได้ปรับวิธีการสอนเป็น
จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ร่วมมือ
กันแก้ปัญหาในกิจกรรมที่ครูกาหนดขึ้น
เหลือช่วยกันเอง อีกทั้งยังได้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกันในมุมมองที่หลากหลาย
มากขึ้น
สถานการณ์ที่ 4
ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูป
การศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึง
ต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้
สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดย
ต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกัน
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่
นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอน
สตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น
ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุด
ใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติ
วิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครู
ทองสุข
ตอบ ในการจัดการเรียนให้นักเรียน
ออกแบบทาโครงงาน โดยให้นักเรียนคิดว่าจะ
ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของ
ตัวเอง และดาเนินการทาตั้งแต่ขั้นตอนเลือก
หัวข้อโครงงานจนถึงขั้นตอนการสรุปผลการ
ซึ่งนักเรียนจะได้ร่วมมือกันดาเนินการ และ
แก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง ทาให้นักเรียน
ได้รับประสบการณ์ต่างๆ จริงจากการ
ดาเนินงานนี้ด้วยตนเอง
The end
สถานการณ์ Constructivist theory

More Related Content

What's hot

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์KruGift Girlz
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560KiiKz Krittiya
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 

Viewers also liked

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionism
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionismแผนการจัดการเรียนรู้ Constructionism
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionismissaraka
 
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้ครู อ้วน
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1Kapook Moo Auan
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (15)

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionism
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionismแผนการจัดการเรียนรู้ Constructionism
แผนการจัดการเรียนรู้ Constructionism
 
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
แผนการสอนตามแนวคิดแบบสร้างองค์ความรู้
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 

Similar to สถานการณ์ Constructivist theory

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theoriespimporn454
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
Theories for Learning with Emerging Technologies
Theories for Learning with Emerging TechnologiesTheories for Learning with Emerging Technologies
Theories for Learning with Emerging TechnologiesPennapa Kumpang
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ นะนาท นะคะ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 

Similar to สถานการณ์ Constructivist theory (20)

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Theories for Learning with Emerging Technologies
Theories for Learning with Emerging TechnologiesTheories for Learning with Emerging Technologies
Theories for Learning with Emerging Technologies
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 

สถานการณ์ Constructivist theory

  • 1.
  • 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theories) จัดทาโดย นางอุษณีย์ มณีรัตน์ รหัส 565050052-7 นางณัฐพัชร์ งานไว รหัส 565050040-4 นายวุฒิพงษ์ พากิจรัตน์ รหัส 565050047-0 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. สถานการณ์ที่ 1 ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบใน การสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ และให้นักเรียน อ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ - นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน - ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรองในระหว่าง การเรียน - นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดใน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อ แก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการ ดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ ครูสง่าด้วย ตอบ จากสถานการณ์ที่ 1 นาหลัก กระบวนการ ที่ผู้เรียนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning of active Process ) ประสบการณ์ตรงและค้นหาวิธีการแก้ปัญหา ความสาคัญของการเรียนตามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิ สซึม เป็นกระบวนการ ที่ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลใหม่กับ ประสบการณ์ที่มีมาก่อนหรือความรู้เดิมของผู้เรียน และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ แนวคิดที่หลากหลายเป็นสิ่ง ที่มีค่าและจาเป็น (Multiple perspective are valued and necessary) ตามแนวทางทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม กล่าวว่า ผู้เรียนจะต้องสร้างแนวคิดของตนเอง แนวคิดนี้ จาเป็นต้องประกอบด้วยแนวคิดที่หลากหลายและ กว้างขวาง ส่งเสริมให้ผู้เรียนรวบรวมแนวคิดที่หลากหลาย และสังเคราะห์สิ่งเหล่านี้เป็นแนวคิดของตัวเองขึ้นมาใหม่ ยกตัวอย่าง การสอนเรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิต โดย ให้นักเรียนนาว่านกาบหอยมาศึกษาเซลล์ด้วยกล้อง จุลทรรศน์ โดยให้นักเรียนทาการทดลองด้วยตนเอง ทาให้ นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลง มือกระทาด้วยตัวเอง
  • 4. สถานการณ์ที่ 2 อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้ สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้ สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถ นามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนใน ชีวิตประจาวันได้เลย " คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไร เพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้ นร.ตั้งใจเรียน และเห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้ หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็น ฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดย อธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย ตอบ การจัดการเรียนการสอนใหม่ จัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของตามกลุ่ม แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated learning) การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นในสภาพจริง หรือต้องเหมาะสมหรือสะท้อนบริบทของสภาพ จริง จะนาไปสู่การเชื่อมโยงความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันโดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้นมา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น จัด กิจกรรมให้นักเรียนเป็นนักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์ ในโรงเรียน ทาการศึกษาเกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศภายในโรงเรียน ซึ่ง นักเรียนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และให้ ความสนใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว นักเรียนเอง อีกทั้งนักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้ จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย
  • 5. สถานการณ์ที่ 3 ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้ง โจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์ ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่ นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้ เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเอง มากเกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไป ตลอด จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการ ใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็น ฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ ดังกล่าวด้วย ตอบ การจัดการเรียนการสอนใหม่ จัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของตาม กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) จัดการเรียนรู้ที่เกิด จากการร่วมมือ (Collaborative learning) ความหมายในการเรียนรู้ เป็น การต่อรองจากแนวคิดที่หลากหลาย การ พัฒนาความคิดรวบยอดของตนเองได้มาจาก การร่วมแบ่งปันแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม และในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่ง ที่แทนความรู้ในสมอง (Knowledge representation) ที่สนองตอบต่อ แนวคิดที่หลากหลายนั้น
  • 6. หรืออาจกล่าวได้ว่าในขณะที่มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการอภิปราย เสนอ ความคิดเห็นที่หลากหลายของแต่ละคน ผู้เรียนจะมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้ ของตนด้วย และสร้างความหมายของ ตนเองขึ้นมาใหม่ จึงได้ปรับวิธีการสอนเป็น จัดกิจกรรมกลุ่ม จึงได้ปรับวิธีการสอนเป็น จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ร่วมมือ กันแก้ปัญหาในกิจกรรมที่ครูกาหนดขึ้น เหลือช่วยกันเอง อีกทั้งยังได้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันในมุมมองที่หลากหลาย มากขึ้น
  • 7. สถานการณ์ที่ 4 ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูป การศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึง ต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดย ต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกัน แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่ นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอน สตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุด ใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติ วิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครู ทองสุข ตอบ ในการจัดการเรียนให้นักเรียน ออกแบบทาโครงงาน โดยให้นักเรียนคิดว่าจะ ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ตัวเอง และดาเนินการทาตั้งแต่ขั้นตอนเลือก หัวข้อโครงงานจนถึงขั้นตอนการสรุปผลการ ซึ่งนักเรียนจะได้ร่วมมือกันดาเนินการ และ แก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง ทาให้นักเรียน ได้รับประสบการณ์ต่างๆ จริงจากการ ดาเนินงานนี้ด้วยตนเอง The end