SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline

 ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม
หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ
 นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน
 ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรอง
ในระหว่างการเรียน
 นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง
 จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่า
เข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 1

 ในการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา ของครูสง่าใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหา
บทเรียนซึ่งทาให้นักเรียนไม่เกิดความเข้าใจและไม่สามารถนาสถานการณ์นั้นปรับใช้ในการ
เรียนได้ ในเวลาทาข้อสอบนักเรียนก็ทาได้ในส่วนที่ตนเองจาได้ นักเรียนไม่ได้คิดวิเคราะห์
ด้วยตนเอง
ดังนั้นครูสง่าควรหาทางแก้ปัญหาโดยการให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
แทนการจดจาเนื้อหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง จาก
นักเรียนเป็นผู้รับ กลายมาเป็นผู้ลงมือกระทา นักเรียนได้ลงมือปลูกพืชเอง เช่น หอมแดง
ถั่วงอก เป็นต้น นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ ค้นหาคาตอบโดยการสังเกต ทดลองเพาะปลูกด้วย
ตัวเอง เพื่อศึกษาพืช ว่ามีระยะการเจริญเติบโตอย่างไร และมีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการ
เจริญเติบโต ทาให้นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลงมือกระทาด้วย
ตัวเอง
หลักการทฤษฎี Cognitive Constructivist : ผู้เรียนเป็น
ผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือกระทา

อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระ
ศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียน
ในห้องเรียนไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนใน
ชีวิตประจาวันได้เลย "
คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นักเรียน
ตั้งใจเรียนและเห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการ
ดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 2

 ครูนิตยา ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหม่ โดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้น
มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัว
นักเรียน เช่น จัดกิจกรรมชุมนุม อย.น้อย ให้นักเรียนเป็น อย.น้อย ในโรงเรียน
ได้สังเกตและจดบันทึกข้อมูลด้านอาหารเครื่องดื่มในโรงอาหาร รวมถึงต้อง
ดูแลความสะอาด คุณภาพอาหารในโรงเรียน ซึ่งนักเรียนก็ให้ความร่วมมือเป็น
อย่างดี และให้ความสนใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนเอง อีกทั้ง
นักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย
"การสร้างความหมาย จะมีการสร้างขึ้นโดยเด็กมีปฏิสัมพันธ์
อย่างมีความหมายกับโลกที่อยู่รอบตัวของพวกเขา"

ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่
ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่
นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความ
เข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมาก
เกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติ
วิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้
อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตาม
หลักการดังกล่าวด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 3

ครูยาใจควรจัดกิจกรรมการเรียนเป็นกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ตรวจสอบ
ความเข้าใจของตนเองก่อนที่จะเชื่อมั่นในสิ่งที่ตนเองคิด หรือมีความเข้าใจที่
คลาดเคลื่อน โดยนักเรียนได้ลองคิดคาตอบด้วยตนเอง หลังจากนั้นก็ให้นักเรียน
ร่วมมือกันแก้โจทย์ที่ตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดกันในมุมมองที่
หลากหลายมากขึ้น และยังเป็นการตรวจสอบความคิดของตัวเองกับเพื่อน เพราะ
ในบางครั้งนักเรียนจะไม่กล้าถามครูโดยตรง และนักเรียนได้ถกปัญหาในสิ่งที่
ตนเองคิดแตกต่างกับเพื่อน
หลักทฤษฎี Social Constructivism : ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่าน
ทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่
ครูและเพื่อน ในขณะที่เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม

ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้
สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้ง
สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น
ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอน
สตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการ
เรียนรู้แก่ครูทองสุข
สถานการณ์ปัญหาที่ 4

 ในการจัดการเรียนรู้ วิชาท้องถิ่นของเรา โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีก
ทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
 ครูควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาเป็นโครงงานเป็นกลุ่ม เช่น เกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง โดยแต่
ละกลุ่มค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติหมู่บ้าน แหล่งท่องเที่ยว สิ่งสร้างชื่อในหมู่บ้าน
ของตนเอง และนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันนาเสนอเป็นโครงงาน
ซึ่งนักเรียนจะได้ร่วมมือกันดาเนินการ และแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง ทาให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ต่างๆจริงจากการดาเนินงานนี้ด้วย
แนวคิดแก้ไขสถานการณ์ปัญหาที่ 4

More Related Content

What's hot

วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นFern's Phatchariwan
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...Joy Kularbam
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1Kapook Moo Auan
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาRatchaphak Wongphanatsak
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1Thayacup
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
เด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานเด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานSay Astaqfirullah
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาAnna Wongpattanakit
 

What's hot (18)

Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 
สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
เด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานเด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
 

Similar to Constructivism theories

คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 

Similar to Constructivism theories (20)

คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

More from jeerawan_l

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาjeerawan_l
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาjeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาjeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanjeerawan_l
 

More from jeerawan_l (6)

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
 

Constructivism theories

  • 1.
  • 2.   ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ  นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน  ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรอง ในระหว่างการเรียน  นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง  จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่า เข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย สถานการณ์ปัญหาที่ 1
  • 3.   ในการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา ของครูสง่าใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหา บทเรียนซึ่งทาให้นักเรียนไม่เกิดความเข้าใจและไม่สามารถนาสถานการณ์นั้นปรับใช้ในการ เรียนได้ ในเวลาทาข้อสอบนักเรียนก็ทาได้ในส่วนที่ตนเองจาได้ นักเรียนไม่ได้คิดวิเคราะห์ ด้วยตนเอง ดังนั้นครูสง่าควรหาทางแก้ปัญหาโดยการให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง แทนการจดจาเนื้อหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง จาก นักเรียนเป็นผู้รับ กลายมาเป็นผู้ลงมือกระทา นักเรียนได้ลงมือปลูกพืชเอง เช่น หอมแดง ถั่วงอก เป็นต้น นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ ค้นหาคาตอบโดยการสังเกต ทดลองเพาะปลูกด้วย ตัวเอง เพื่อศึกษาพืช ว่ามีระยะการเจริญเติบโตอย่างไร และมีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการ เจริญเติบโต ทาให้นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลงมือกระทาด้วย ตัวเอง หลักการทฤษฎี Cognitive Constructivist : ผู้เรียนเป็น ผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือกระทา
  • 4.  อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระ ศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียน ในห้องเรียนไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนใน ชีวิตประจาวันได้เลย " คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นักเรียน ตั้งใจเรียนและเห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอน สตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการ ดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหาที่ 2
  • 5.   ครูนิตยา ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหม่ โดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้น มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัว นักเรียน เช่น จัดกิจกรรมชุมนุม อย.น้อย ให้นักเรียนเป็น อย.น้อย ในโรงเรียน ได้สังเกตและจดบันทึกข้อมูลด้านอาหารเครื่องดื่มในโรงอาหาร รวมถึงต้อง ดูแลความสะอาด คุณภาพอาหารในโรงเรียน ซึ่งนักเรียนก็ให้ความร่วมมือเป็น อย่างดี และให้ความสนใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนเอง อีกทั้ง นักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย "การสร้างความหมาย จะมีการสร้างขึ้นโดยเด็กมีปฏิสัมพันธ์ อย่างมีความหมายกับโลกที่อยู่รอบตัวของพวกเขา"
  • 6.  ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่ นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความ เข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมาก เกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้ อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตาม หลักการดังกล่าวด้วย สถานการณ์ปัญหาที่ 3
  • 7.  ครูยาใจควรจัดกิจกรรมการเรียนเป็นกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ตรวจสอบ ความเข้าใจของตนเองก่อนที่จะเชื่อมั่นในสิ่งที่ตนเองคิด หรือมีความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อน โดยนักเรียนได้ลองคิดคาตอบด้วยตนเอง หลังจากนั้นก็ให้นักเรียน ร่วมมือกันแก้โจทย์ที่ตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดกันในมุมมองที่ หลากหลายมากขึ้น และยังเป็นการตรวจสอบความคิดของตัวเองกับเพื่อน เพราะ ในบางครั้งนักเรียนจะไม่กล้าถามครูโดยตรง และนักเรียนได้ถกปัญหาในสิ่งที่ ตนเองคิดแตกต่างกับเพื่อน หลักทฤษฎี Social Constructivism : ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่าน ทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน ในขณะที่เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม
  • 8.  ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้ง สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึงประเด็น ต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอน สตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการ เรียนรู้แก่ครูทองสุข สถานการณ์ปัญหาที่ 4
  • 9.   ในการจัดการเรียนรู้ วิชาท้องถิ่นของเรา โดยต้องการให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีก ทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้  ครูควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาเป็นโครงงานเป็นกลุ่ม เช่น เกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง โดยแต่ ละกลุ่มค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติหมู่บ้าน แหล่งท่องเที่ยว สิ่งสร้างชื่อในหมู่บ้าน ของตนเอง และนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันนาเสนอเป็นโครงงาน ซึ่งนักเรียนจะได้ร่วมมือกันดาเนินการ และแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง ทาให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ต่างๆจริงจากการดาเนินงานนี้ด้วย แนวคิดแก้ไขสถานการณ์ปัญหาที่ 4