SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โดยโดย
1.1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัสนางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส
565050036-5565050036-5
2.2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัสนางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส
565050045-4565050045-4
3.3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัสนางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส
565050222-8
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น
เทคโนโลยีการศึกษา หรือ
เทคโนโลยีการสอน
(Instructional Technology)
หมายถึง ทฤษฎี และการปฏิบัติ
เกี่ยวกับการออกแบบ การพัฒนา
การใช้ การจัดการ และการ
ประเมินของกระบวนการ และแหล่ง
การเรียนเพื่อการเรียนรู้ (1994)
ความหมายของ
นวัตกรรม
มอร์ตัน (J.A. Morton, 1973)
“ ”กล่าวว่า นวัตกรรม หมายถึง การ
ปรับปรุงของเก่า ให้ใหม่ขึ้น และพัฒนา
ศักยภาพของบุคลากร หน่วยงาน หรือ
องค์กรนั้น
“ ”นวัตกรรมการศึกษา
คือ การนำาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็นความ
คิดหรือการกระทำา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น
โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎีที่ได้ผ่านการ
ทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ เข้ามาใช้ใน
การศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของ
การเรียนการสอน
ลักษณะเด่น
“นวัตกรรม
การศึกษา
2. มีการศึกษา
ทดลอง โดยอาศัย
หลักการ ทฤษฎี
มาใช้อย่างเป็น
ระบบ
3. มีการพิสูจน์ด้วย
การทดลองหรือ
การวิจัย
1. เป็นสิ่งใหม่
ทั้งหมด หรือบาง
ส่วนอาจเป็นของ
เก่าแล้วนำามา
ปรับปรุงใหม่ 
4. ยังไม่เป็นส่วน
หนึ่งของระบบงาน
ในปัจจุบัน
2. มีการศึกษา
ทดลอง โดยอาศัย
หลักการ ทฤษฎี มา
ใช้อย่างเป็นระบบ
2. มีการศึกษา
ทดลอง โดยอาศัย
หลักการ ทฤษฎี มา
ใช้อย่างเป็นระบบ
3. มีการพิสูจน์ด้วย
การทดลองหรือการ
วิจัย
3. มีการพิสูจน์ด้วย
การทดลองหรือการ
วิจัย
4. ยังไม่เป็นส่วน
หนึ่งของระบบงาน
ในปัจจุบัน
4. ยังไม่เป็นส่วน
หนึ่งของระบบงาน
ในปัจจุบัน
1. เป็นสิ่งใหม่
ทั้งหมด หรือบาง
ส่วนอาจเป็นของ
เก่าแล้วนำามา
ปรับปรุงใหม่ 
1. เป็นสิ่งใหม่
ทั้งหมด หรือบาง
ส่วนอาจเป็นของ
เก่าแล้วนำามา
ปรับปรุงใหม่ 
ลักษณะเด่น
“นวัตกรรม
การศึกษา
ความเป็นมาของ
เทคโนโลยีการศึกษา
ความเป็นมาของ
เทคโนโลยีการศึกษา
กลุ่มโซ
ฟิสต์
(Sophist)
กลุ่มโซ
ฟิสต์
(Sophist)
นัก
เทคโนโลยี
การศึกษา
กลุ่มแรก
นัก
เทคโนโลยี
การศึกษา
กลุ่มแรก
ชาว
กรีก
ชาว
กรีก
ใช้วัสดุ
สิ่งของที่
เป็นของ
จริงและ
รูปภาพ
เข้ามาช่วย
ใช้วัสดุ
สิ่งของที่
เป็นของ
จริงและ
รูปภาพ
เข้ามาช่วย
คศ.
1592-167
0
คศ.
1592-167
0
โจฮัน อะมอส
คอมินิอุส
(Johannes
Amos
Comenius)
โจฮัน อะมอส
คอมินิอุส
(Johannes
Amos
Comenius)
หนังสือObis
Sensualium
Pictus หรือที่
เรียกว่า
“ ”โลกในรูปภาพ
หนังสือObis
Sensualium
Pictus หรือที่
เรียกว่า
“ ”โลกในรูปภาพ
บิดา
แห่งโสต
ทัศนศึกษา
บิดา
แห่งโสต
ทัศนศึกษา
โสเครติส
(Socretes)
พลาโต (Plato)
อริสโตเติล
(Aristotle)
โสเครติส
(Socretes)
พลาโต (Plato)
อริสโตเติล
(Aristotle)
ปี1898 ธอร์นไดค์
(Edward
L.Thornlike)
ปี1898 ธอร์นไดค์
(Edward
L.Thornlike)
ออกแบบการสอน ที่
สามารถตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
สอนแบบโปรแกรม
ออกแบบการสอน ที่
สามารถตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
สอนแบบโปรแกรม
ปี 1920-1930 ฟรา
นกลิน
Franklin Bobbilt
ปี 1920-1930 ฟรา
นกลิน
Franklin Bobbilt
การออกแบบการสอน และ
สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง
ผลการสอนกับการปฏิบัติการ
สอน พัฒนาการสอนราย
บุคคล
การออกแบบการสอน และ
สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง
ผลการสอนกับการปฏิบัติการ
สอน พัฒนาการสอนราย
บุคคล
ปี 1930 Ralph W.
Tyler
ปี 1930 Ralph W.
Tyler
ช่วงสงครามโลก
ครั้งที่ 2
ช่วงสงครามโลก
ครั้งที่ 2
กำาหนดวัตถุประสงค์การ
สอนในรูปของ
พฤติกรรมของผู้เรียน
(Student Behaviors)
กำาหนดวัตถุประสงค์การ
สอนในรูปของ
พฤติกรรมของผู้เรียน
(Student Behaviors)
เน้นวิจัยด้านการศึกษา/การ
ใช้สื่อการศึกษา ในการฝึก
อบรม
เน้นวิจัยด้านการศึกษา/การ
ใช้สื่อการศึกษา ในการฝึก
อบรม
บี เอฟ สกินเนอร์
(B.F. Skinner)
(Operant
บี เอฟ สกินเนอร์
(B.F. Skinner)
(Operant
เสนอแนวทฤษฎีการวาง
เงื่อนไข (Operant)
การเสริมแรง
(Reinforcement)
เสนอแนวทฤษฎีการวาง
เงื่อนไข (Operant)
การเสริมแรง
(Reinforcement)
โรเบิร์ต กาเย่
(Robert Gange) 1960
โรเบิร์ต กาเย่
(Robert Gange) 1960
นำาแนวคิดทางพุทธิปัญญา
(Cognitive Theories) มาใช้
Instructional System
นำาแนวคิดทางพุทธิปัญญา
(Cognitive Theories) มาใช้
Instructional System
ปี 1970
เป็นต้นมา
ปี 1970
เป็นต้นมา
ปัจจุบันปัจจุบัน
Cognitive Theories +Information
Processing
Cognitive Theories +Information
Processing
Cognitivism+ConstructivismCognitivism+Constructivism
เริ่มต้นเมื่อศตวรรษที่ 20
การสอนโดยการใช้ภาพ
(Visual instruction)
หรือจักษุศึกษา (Visual
education)
เริ่มต้นเมื่อศตวรรษที่ 20
การสอนโดยการใช้ภาพ
(Visual instruction)
หรือจักษุศึกษา (Visual
education)
เครื่องฉาย
สไลด์
สเตอริโอ
เครื่องฉาย
สไลด์
สเตอริโอ
ฟิล์มฟิล์มโทมัส
เอดดิสัน
โทมัส
เอดดิสัน
สื่อทางด้าน
เสียง
(Audio)
สื่อทางด้าน
เสียง
(Audio)
โทรทัศน์โทรทัศน์
โสต
ทัศนศึกษา
(Audiovisu
al
Education
โสต
ทัศนศึกษา
(Audiovisu
al
Education
สื่อ
มัลติมีเ
ดีย
สื่อ
มัลติมีเ
ดีย
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เพื่อการสอน
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เพื่อการสอน
เทคโนโลยีหลอดสูญ
ญากาศ
เทคโนโลยีหลอดสูญ
ญากาศยุคที่ 1ยุคที่ 1
ยุคที่ 2ยุคที่ 2
เทคโนโลยี
ทรานซิสเตอร์
(Transistor)
เทคโนโลยี
ทรานซิสเตอร์
(Transistor)
ยุคที่ 3ยุคที่ 3 ชิฟ (Chip)ชิฟ (Chip)
ยุคที่ 4ยุคที่ 4
ไมโคร
 โพรเซสเซอร์ (Microprocess
or)
ไมโคร
 โพรเซสเซอร์ (Microprocess
or)
ขอบข่ายของขอบข่ายของ
เทคโนโลยีการศึกษาเทคโนโลยีการศึกษา
การ
ออกแบบ
(Design)
การพัฒนา
(Developm
ent)
การใช้
(Utilizatio
n)
การจัดการ 
(Management
)
การ
ประเมิน
(Evaluatio
n)  ทฤษฎี/ปฏิบั
ติ
(Theory &
Practice)
ทฤษฎี/ปฏิบั
ติ
(Theory &
Practice)
systems design)
คือ กระบวนการที่กำาหนดว่าต้องการให้ผู้เรียนได้รับ
อะไรจากการเรียน ต้องเรียนในเนื้อหาอะไรบ้างการ
ออกแบบ 
1.2 ออกแบบสาร (message design) เป็นการวางแผน
เปลี่ยนแปลงสารเน้นทฤษฎีการเรียนที่ประยุกต์ความรู้
บนพื้นฐานของความสนใจ การรับรู้ ความจำา การ
ออกแบบสารมีจุดประสงค์เพื่อการสื่อความหมายกับผู้
เรียน                         
1.3 กลยุทธ์การสอน (instructional strategies)  เน้นที่
การเลือก ลำาดับเหตุการณ์ และกิจกรรมในบทเรียน ใน
ทางปฏิบัติกลยุทธ์การสอนมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์
การเรียน ผลของปฏิสัมพันธ์นี้สามารถอธิบายได้โดย
โมเดลการสอน การเลือกยุทธศาสตร์การสอนและโมเดล
การสอนต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์การเรียน รวมถึง
ลักษณะผู้เรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุด
ประสงค์ของผู้เรียน
ผลิต หรือส่งสาร สื่อด้านวัสดุ เช่น หนังสือ โสตทัศนวัสดุพื้น
ฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถ่าย รวมถึงสื่อข้อความ กราฟิก วัสดุ
ภาพสิ่งพิมพ์ ทัศนวัสดุ สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานของการพัฒนา
การใช้สื่อวัสดุการสอ
นอื่นๆ                            
2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ (audiovisual
technologies)    
เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสาร โดยใช้เครื่องมือ
อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำาเสนอสารต่างๆ
ด้วยเสียง และภาพ โสตทัศนูปกรณ์จะช่วยแสดงสิ่งที่เป็น
ธรรมชาติจริง ความคิดที่เป็นนามธรรม เพื่อผู้สอนนำาไปใช้ให้
มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน          
2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer – based
technologies)   
เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสารโดยการใช้ไมโคร
โพรเซสเซอร์ เพื่อรับและส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ประกอบด้วย
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์จัดการสอน โทรคมนาคม
การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ การเข้าถึงและใช้แหล่งข้อมูล
ในเครือข่าย               
       
3.1 การใช้สื่อ  (media utilization) เป็นระบบของ
การใช้สื่อ แหล่งทรัพยากรเพื่อ การเรียน โดยใช้
กระบวนการตามที่ผ่านการออกแบบการสอน   
3.2 การแพร่กระจายนวัตกรรม    (diffusion of
innovations) เป็นกระบวนการสื่อความหมาย รวม
ถึงการวางยุทธศาสตร์ หรือจุดประสงค์ให้เกิดการ
ยอมรับนวัตกรรม     
3.3 วิธีการนำาไปใช้ และการจัดการ
(implementation and institutionalization)   เป็นการ
ใช้สื่อการสอนหรือยุทธศาสตร์ในสถานการณ์จริง
อย่างต่อเนื่องและใช้นวัตกรรมการศึกษาเป็นประจำา
ในองค์การ
3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ
(policies and regulations)  เป็นกฎระเบียบ ข้อบังคับ
ของสังคมที่ส่งผลต่อการแพร่กระจาย และการใช้
ของสาขานี้ เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับแหล่งเรียนรูที่
จะต้องสนับสนุนในทุกๆองค์ประกอบ ซึ่งจะต้องมีการ
จัดระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการ
4.1 การจัดการโครงการ (Project
 Management) เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม การ
ออกแบบ และพัฒนาโครงการ
4.2 การจัดการทรัพยากร (Resources
 Management) เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม
แหล่งทรัพยากร ที่ช่วยระบบและการบริการ  
4.3 การจัดการระบบส่งผ่าน (Delivery  System
 Management)  เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุมวิธี
การซึ่งแพร่กระจายสื่อการสอนในองค์การ รวมถึง
สื่อ และวิธีการใช้ที่จะนำาเสนอสารไปยังผู้เรียน
4.4 การจัดการสารสนเทศ (Information
 Management)   เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม
การเก็บ การส่งถ่าย หรือกระบวนการของข้อมูล
5.  การประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุง
5.1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
เป็นการทำาให้ปัญหาสิ้นสุด โดยการใช้ข้อมูลต่างๆ และวิธี
การที่จะช่วยตัดสินใจ
5.2 การวัดผลอิงเกณฑ์ ( Criterion-Referenced
 measurement) เทคนิคการใช้เกณฑ์เพื่อการประเมินการ
สอนหรือประเมินโครงการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
5.3 การประเมินความก้าวหน้า (Formative
 Evaluation)  มีการใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมจากการประเมิน
ความก้าวหน้าเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาต่อไป   
5.4 การประเมินขั้นสรุป (Summative  Evaluation) มี
การใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมที่จะตัดสินใจกับการดำาเนิน
งานโปรแกรม หรือโครงการต่อไป
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1

More Related Content

What's hot

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 

What's hot (20)

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
701w2
701w2701w2
701w2
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

Viewers also liked

Pravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote
 
Solar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelSolar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelIRENA Global Atlas
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
IRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveGlobal Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveIRENA Global Atlas
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)Uraiwan Chankan
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
The clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptThe clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptIRENA Global Atlas
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 

Viewers also liked (14)

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
Pravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CV
 
Solar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelSolar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite model
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
IRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectives
 
130111 global atlaswebsite
130111 global atlaswebsite130111 global atlaswebsite
130111 global atlaswebsite
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveGlobal Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
The clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptThe clean energy corridor concept
The clean energy corridor concept
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 

Similar to ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1

"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยีimmyberry
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาChacrit Onbao
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 

Similar to ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
Pu
PuPu
Pu
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 

ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1

  • 1. โดยโดย 1.1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัสนางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส 565050036-5565050036-5 2.2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัสนางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส 565050045-4565050045-4 3.3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัสนางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส 565050222-8 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. เทคโนโลยีการศึกษา หรือ เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) หมายถึง ทฤษฎี และการปฏิบัติ เกี่ยวกับการออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการ และการ ประเมินของกระบวนการ และแหล่ง การเรียนเพื่อการเรียนรู้ (1994)
  • 3. ความหมายของ นวัตกรรม มอร์ตัน (J.A. Morton, 1973) “ ”กล่าวว่า นวัตกรรม หมายถึง การ ปรับปรุงของเก่า ให้ใหม่ขึ้น และพัฒนา ศักยภาพของบุคลากร หน่วยงาน หรือ องค์กรนั้น “ ”นวัตกรรมการศึกษา คือ การนำาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็นความ คิดหรือการกระทำา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎีที่ได้ผ่านการ ทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ เข้ามาใช้ใน การศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของ การเรียนการสอน
  • 4. ลักษณะเด่น “นวัตกรรม การศึกษา 2. มีการศึกษา ทดลอง โดยอาศัย หลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็น ระบบ 3. มีการพิสูจน์ด้วย การทดลองหรือ การวิจัย 1. เป็นสิ่งใหม่ ทั้งหมด หรือบาง ส่วนอาจเป็นของ เก่าแล้วนำามา ปรับปรุงใหม่  4. ยังไม่เป็นส่วน หนึ่งของระบบงาน ในปัจจุบัน
  • 5. 2. มีการศึกษา ทดลอง โดยอาศัย หลักการ ทฤษฎี มา ใช้อย่างเป็นระบบ 2. มีการศึกษา ทดลอง โดยอาศัย หลักการ ทฤษฎี มา ใช้อย่างเป็นระบบ 3. มีการพิสูจน์ด้วย การทดลองหรือการ วิจัย 3. มีการพิสูจน์ด้วย การทดลองหรือการ วิจัย 4. ยังไม่เป็นส่วน หนึ่งของระบบงาน ในปัจจุบัน 4. ยังไม่เป็นส่วน หนึ่งของระบบงาน ในปัจจุบัน 1. เป็นสิ่งใหม่ ทั้งหมด หรือบาง ส่วนอาจเป็นของ เก่าแล้วนำามา ปรับปรุงใหม่  1. เป็นสิ่งใหม่ ทั้งหมด หรือบาง ส่วนอาจเป็นของ เก่าแล้วนำามา ปรับปรุงใหม่  ลักษณะเด่น “นวัตกรรม การศึกษา
  • 6. ความเป็นมาของ เทคโนโลยีการศึกษา ความเป็นมาของ เทคโนโลยีการศึกษา กลุ่มโซ ฟิสต์ (Sophist) กลุ่มโซ ฟิสต์ (Sophist) นัก เทคโนโลยี การศึกษา กลุ่มแรก นัก เทคโนโลยี การศึกษา กลุ่มแรก ชาว กรีก ชาว กรีก ใช้วัสดุ สิ่งของที่ เป็นของ จริงและ รูปภาพ เข้ามาช่วย ใช้วัสดุ สิ่งของที่ เป็นของ จริงและ รูปภาพ เข้ามาช่วย คศ. 1592-167 0 คศ. 1592-167 0 โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius) โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius) หนังสือObis Sensualium Pictus หรือที่ เรียกว่า “ ”โลกในรูปภาพ หนังสือObis Sensualium Pictus หรือที่ เรียกว่า “ ”โลกในรูปภาพ บิดา แห่งโสต ทัศนศึกษา บิดา แห่งโสต ทัศนศึกษา โสเครติส (Socretes) พลาโต (Plato) อริสโตเติล (Aristotle) โสเครติส (Socretes) พลาโต (Plato) อริสโตเติล (Aristotle)
  • 7. ปี1898 ธอร์นไดค์ (Edward L.Thornlike) ปี1898 ธอร์นไดค์ (Edward L.Thornlike) ออกแบบการสอน ที่ สามารถตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคล สอนแบบโปรแกรม ออกแบบการสอน ที่ สามารถตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคล สอนแบบโปรแกรม ปี 1920-1930 ฟรา นกลิน Franklin Bobbilt ปี 1920-1930 ฟรา นกลิน Franklin Bobbilt การออกแบบการสอน และ สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง ผลการสอนกับการปฏิบัติการ สอน พัฒนาการสอนราย บุคคล การออกแบบการสอน และ สร้างความเชื่อมโยงระหว่าง ผลการสอนกับการปฏิบัติการ สอน พัฒนาการสอนราย บุคคล ปี 1930 Ralph W. Tyler ปี 1930 Ralph W. Tyler ช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 กำาหนดวัตถุประสงค์การ สอนในรูปของ พฤติกรรมของผู้เรียน (Student Behaviors) กำาหนดวัตถุประสงค์การ สอนในรูปของ พฤติกรรมของผู้เรียน (Student Behaviors) เน้นวิจัยด้านการศึกษา/การ ใช้สื่อการศึกษา ในการฝึก อบรม เน้นวิจัยด้านการศึกษา/การ ใช้สื่อการศึกษา ในการฝึก อบรม
  • 8. บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) (Operant บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) (Operant เสนอแนวทฤษฎีการวาง เงื่อนไข (Operant) การเสริมแรง (Reinforcement) เสนอแนวทฤษฎีการวาง เงื่อนไข (Operant) การเสริมแรง (Reinforcement) โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange) 1960 โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange) 1960 นำาแนวคิดทางพุทธิปัญญา (Cognitive Theories) มาใช้ Instructional System นำาแนวคิดทางพุทธิปัญญา (Cognitive Theories) มาใช้ Instructional System ปี 1970 เป็นต้นมา ปี 1970 เป็นต้นมา ปัจจุบันปัจจุบัน Cognitive Theories +Information Processing Cognitive Theories +Information Processing Cognitivism+ConstructivismCognitivism+Constructivism
  • 9. เริ่มต้นเมื่อศตวรรษที่ 20 การสอนโดยการใช้ภาพ (Visual instruction) หรือจักษุศึกษา (Visual education) เริ่มต้นเมื่อศตวรรษที่ 20 การสอนโดยการใช้ภาพ (Visual instruction) หรือจักษุศึกษา (Visual education) เครื่องฉาย สไลด์ สเตอริโอ เครื่องฉาย สไลด์ สเตอริโอ ฟิล์มฟิล์มโทมัส เอดดิสัน โทมัส เอดดิสัน สื่อทางด้าน เสียง (Audio) สื่อทางด้าน เสียง (Audio) โทรทัศน์โทรทัศน์ โสต ทัศนศึกษา (Audiovisu al Education โสต ทัศนศึกษา (Audiovisu al Education สื่อ มัลติมีเ ดีย สื่อ มัลติมีเ ดีย
  • 10. ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ เพื่อการสอน ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ เพื่อการสอน เทคโนโลยีหลอดสูญ ญากาศ เทคโนโลยีหลอดสูญ ญากาศยุคที่ 1ยุคที่ 1 ยุคที่ 2ยุคที่ 2 เทคโนโลยี ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เทคโนโลยี ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ยุคที่ 3ยุคที่ 3 ชิฟ (Chip)ชิฟ (Chip) ยุคที่ 4ยุคที่ 4 ไมโคร  โพรเซสเซอร์ (Microprocess or) ไมโคร  โพรเซสเซอร์ (Microprocess or)
  • 12. systems design) คือ กระบวนการที่กำาหนดว่าต้องการให้ผู้เรียนได้รับ อะไรจากการเรียน ต้องเรียนในเนื้อหาอะไรบ้างการ ออกแบบ  1.2 ออกแบบสาร (message design) เป็นการวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเน้นทฤษฎีการเรียนที่ประยุกต์ความรู้ บนพื้นฐานของความสนใจ การรับรู้ ความจำา การ ออกแบบสารมีจุดประสงค์เพื่อการสื่อความหมายกับผู้ เรียน                          1.3 กลยุทธ์การสอน (instructional strategies)  เน้นที่ การเลือก ลำาดับเหตุการณ์ และกิจกรรมในบทเรียน ใน ทางปฏิบัติกลยุทธ์การสอนมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์ การเรียน ผลของปฏิสัมพันธ์นี้สามารถอธิบายได้โดย โมเดลการสอน การเลือกยุทธศาสตร์การสอนและโมเดล การสอนต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์การเรียน รวมถึง ลักษณะผู้เรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุด ประสงค์ของผู้เรียน
  • 13. ผลิต หรือส่งสาร สื่อด้านวัสดุ เช่น หนังสือ โสตทัศนวัสดุพื้น ฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถ่าย รวมถึงสื่อข้อความ กราฟิก วัสดุ ภาพสิ่งพิมพ์ ทัศนวัสดุ สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานของการพัฒนา การใช้สื่อวัสดุการสอ นอื่นๆ                             2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ (audiovisual technologies)     เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสาร โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำาเสนอสารต่างๆ ด้วยเสียง และภาพ โสตทัศนูปกรณ์จะช่วยแสดงสิ่งที่เป็น ธรรมชาติจริง ความคิดที่เป็นนามธรรม เพื่อผู้สอนนำาไปใช้ให้ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน           2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer – based technologies)    เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสารโดยการใช้ไมโคร โพรเซสเซอร์ เพื่อรับและส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์จัดการสอน โทรคมนาคม การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ การเข้าถึงและใช้แหล่งข้อมูล ในเครือข่าย               
  • 14.         3.1 การใช้สื่อ  (media utilization) เป็นระบบของ การใช้สื่อ แหล่งทรัพยากรเพื่อ การเรียน โดยใช้ กระบวนการตามที่ผ่านการออกแบบการสอน    3.2 การแพร่กระจายนวัตกรรม    (diffusion of innovations) เป็นกระบวนการสื่อความหมาย รวม ถึงการวางยุทธศาสตร์ หรือจุดประสงค์ให้เกิดการ ยอมรับนวัตกรรม      3.3 วิธีการนำาไปใช้ และการจัดการ (implementation and institutionalization)   เป็นการ ใช้สื่อการสอนหรือยุทธศาสตร์ในสถานการณ์จริง อย่างต่อเนื่องและใช้นวัตกรรมการศึกษาเป็นประจำา ในองค์การ 3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ (policies and regulations)  เป็นกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของสังคมที่ส่งผลต่อการแพร่กระจาย และการใช้
  • 15. ของสาขานี้ เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับแหล่งเรียนรูที่ จะต้องสนับสนุนในทุกๆองค์ประกอบ ซึ่งจะต้องมีการ จัดระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการ 4.1 การจัดการโครงการ (Project  Management) เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม การ ออกแบบ และพัฒนาโครงการ 4.2 การจัดการทรัพยากร (Resources  Management) เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม แหล่งทรัพยากร ที่ช่วยระบบและการบริการ   4.3 การจัดการระบบส่งผ่าน (Delivery  System  Management)  เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุมวิธี การซึ่งแพร่กระจายสื่อการสอนในองค์การ รวมถึง สื่อ และวิธีการใช้ที่จะนำาเสนอสารไปยังผู้เรียน 4.4 การจัดการสารสนเทศ (Information  Management)   เป็นการวางแผน กำากับ ควบคุม การเก็บ การส่งถ่าย หรือกระบวนการของข้อมูล
  • 16. 5.  การประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุง 5.1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เป็นการทำาให้ปัญหาสิ้นสุด โดยการใช้ข้อมูลต่างๆ และวิธี การที่จะช่วยตัดสินใจ 5.2 การวัดผลอิงเกณฑ์ ( Criterion-Referenced  measurement) เทคนิคการใช้เกณฑ์เพื่อการประเมินการ สอนหรือประเมินโครงการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 5.3 การประเมินความก้าวหน้า (Formative  Evaluation)  มีการใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมจากการประเมิน ความก้าวหน้าเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาต่อไป    5.4 การประเมินขั้นสรุป (Summative  Evaluation) มี การใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมที่จะตัดสินใจกับการดำาเนิน งานโปรแกรม หรือโครงการต่อไป