SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Problem Base
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
และการออกแบบการสอน
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3
2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8
3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
สถานการณ์ที่ 1
ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม
หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ
• นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน
• ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์หรือการไตร่ตรองใน
ระหว่างการเรียน
• นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง
จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่า และอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจ
มาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
หลักการที่นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้
หลักการที่นามาใช้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learning is
activeprocess) ประสบการณ์ตรง
จากการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา ของครูสง่า จากเดิม ที่จะเป็นการสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ
และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ซึ่งทา นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการ
คิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรองในระหว่างการเรียน และนักเรียนไม่ได้ลงมือกระทา
หรือสร้างความรู้เอง
ดังนั้นครูสง่าจะต้องแก้ปัญหาโดยการให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงแทนการจดจาเนื้อหา โดย
จัดกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง จากนักเรียนเป็นผู้รับ กลายมาเป็นผู้ลงมือกระทา
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเอง เช่น การเจริญเติบโตของมอส เป็นต้น นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ ค้นหาคาตอบโดยการ
สังเกต ทดลองการเจริญเติบโตด้วยตัวเอง เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอส ว่ามีระยะการเจริญเติบโตอย่างไร
และมีการขยายพันธ์ย่างไร ทาให้นักเรียนมีความเข้าใจในวงจรการเจริญเติบโตของมอส ได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งทาให้
นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลงมือกระทาด้วยตัวเองและสรุปอภิปรายด้วยตนเองทั้งชั้น
เรียน
สถานการณ์ที่ 2
อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้
สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจาวันได้เลย "
คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้ นร.ตั้งใจเรียนและ
เห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการ
จัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
หลักการที่เป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
หลักการที่นามาใช้คือ การเรียนรู้ควรเป็นองค์รวม เน้นสภาพจริงและสิ่งที่เป็นจริง
(Learning should be whole, authentic, and "real" )
หลักการคือครูนิตยา ควรแก้ไขพฤติกรรมของนายพีระศักดิ์ที่ไม่สนใจในการเรียน
โดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้นมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่อยู่
ใกล้ตัวนักเรียน เช่น จัดกิจกรรมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน โดยจัดการ
เรียนรู้ให้นักเรียนทากิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน โดยยกตัวอย่าง เช่น สบู่ ผงซักฟอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อนักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้แล้ว
นักเรียนจะเกิดความเชื่อมโยงระหว่างความรู้กับการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ เพราะเป็นเรื่อง
ที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนเอง อีกทั้งนักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย
สถานการณ์ที่ 3
ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่ง
โจทย์ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และ
ในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมาก
เกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็น
ฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
การจัดการเรียนรู้ตามหลักการดังกล่าวด้วย
หลักการที่เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใช้หลักการคอนสตัรคกับการออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของ Mclellan การเรียนรู้ที่
เหมาะสม (Situated Learning) ซึ่งจะเรียกว่าชุมชนของผู้เรียน (Learners Communities)
กล่าวคือคือให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเสนอวามคิดเห็นภายในกลุ่ม เปลี่ยนจากการมั่นใจความคิดของ
ตนเอง มาเป็นการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม
สถานการณ์ที่ 4
ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญให้สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้
ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึง
ประเด็นต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎี
การเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็น
แนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครูทองสุข
จุดที่สามารถนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสมาใช้
การจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขโดยให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสมาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ได้ เนื่องจากหลักสาคัญ 2 ประการสาหรับการนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสมาใช้คือ
1. การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวครูทองสุขได้ให้นักเรียนทางานร่วมกันและ
ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทาให้นักเรียนได้ลงมือทาจนเกิดการเรียนรู้ เช่น ครูทองสุขให้นักเรียนจับกลุ่ม
ทาโครงงานวิทยศาสตร์ ซึ่งนักเรียนในกลุ่มจะระดมความคิด จากนั้นก็ลงมือทาการทดลอง ร่วมมือกันแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้น ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถนาเอาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ต่อไปได้
2. การเรียนรู้ที่เน้นสภาพจริง ยกตัวอย่างเช่น ครูทองสุขให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อ
ทารายงาน โดยให้โจทย์ว่านักเรียนจะต้องสืบค้นภูมิปัญญาที่เป็นสิ่งใกล้ตัว และเห็นอยู่ในชีวิตประจาวัน เมื่อ
นักเรียนได้สืบค้นแล้ว นักเรียนจะสามารถเชื่อมโยงได้ว่าสิ่งที่พวกเขาเห็นอยู่ในชีวิตประจาวันนั้นมีที่มาที่ไป
อย่างไร ทาให้นักเรียนสามารถจาได้ และนาความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อได้

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตBome Fado
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1Kapook Moo Auan
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัต
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
แผนการจัดการเรียนรู้( Constructivism)1
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theoriespimporn454
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน (20)

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 

More from Nisachol Poljorhor

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 

More from Nisachol Poljorhor (12)

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologies
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน

  • 1. Problem Base ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ และการออกแบบการสอน รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3 2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8 3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
  • 2. สถานการณ์ที่ 1 ในการสอนวิชาชีววิทยาของครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ทาให้เกิดปัญหาคือ • นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน • ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด (cognitive process) การวิเคราะห์หรือการไตร่ตรองใน ระหว่างการเรียน • นักเรียนไม่ได้ลงมือกระทาหรือสร้างความรู้เอง จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่า และอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจ มาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
  • 3. หลักการที่นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ หลักการที่นามาใช้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learning is activeprocess) ประสบการณ์ตรง จากการเรียนการสอนวิชาชีววิทยา ของครูสง่า จากเดิม ที่จะเป็นการสอนเป็นการบรรยายตามหนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ ซึ่งทา นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการ คิด (cognitive process) การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรองในระหว่างการเรียน และนักเรียนไม่ได้ลงมือกระทา หรือสร้างความรู้เอง ดังนั้นครูสง่าจะต้องแก้ปัญหาโดยการให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงแทนการจดจาเนื้อหา โดย จัดกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง จากนักเรียนเป็นผู้รับ กลายมาเป็นผู้ลงมือกระทา นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเอง เช่น การเจริญเติบโตของมอส เป็นต้น นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ ค้นหาคาตอบโดยการ สังเกต ทดลองการเจริญเติบโตด้วยตัวเอง เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอส ว่ามีระยะการเจริญเติบโตอย่างไร และมีการขยายพันธ์ย่างไร ทาให้นักเรียนมีความเข้าใจในวงจรการเจริญเติบโตของมอส ได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งทาให้ นักเรียนเข้าใจและจดจาสิ่งที่ตนเรียนได้ดียิ่งขึ้นจากการลงมือกระทาด้วยตัวเองและสรุปอภิปรายด้วยตนเองทั้งชั้น เรียน
  • 4. สถานการณ์ที่ 2 อ. นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม.5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้ สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า "สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถ นามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจาวันได้เลย " คุณจะมีวิธีช่วย อ.นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้ นร.ตั้งใจเรียนและ เห็นความสาคัญของการเรียน โดยใช้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการ จัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
  • 5. หลักการที่เป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ หลักการที่นามาใช้คือ การเรียนรู้ควรเป็นองค์รวม เน้นสภาพจริงและสิ่งที่เป็นจริง (Learning should be whole, authentic, and "real" ) หลักการคือครูนิตยา ควรแก้ไขพฤติกรรมของนายพีระศักดิ์ที่ไม่สนใจในการเรียน โดยการนาเนื้อหาบทเรียนนั้นมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่อยู่ ใกล้ตัวนักเรียน เช่น จัดกิจกรรมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน โดยจัดการ เรียนรู้ให้นักเรียนทากิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน โดยยกตัวอย่าง เช่น สบู่ ผงซักฟอก เป็นต้น ซึ่งเมื่อนักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้แล้ว นักเรียนจะเกิดความเชื่อมโยงระหว่างความรู้กับการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ เพราะเป็นเรื่อง ที่อยู่ใกล้ตัวนักเรียนเอง อีกทั้งนักเรียนยังได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจาวันด้วย
  • 6. สถานการณ์ที่ 3 ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่ง โจทย์ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และ ในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมาก เกินไป และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็น ฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่าง การจัดการเรียนรู้ตามหลักการดังกล่าวด้วย
  • 7. หลักการที่เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใช้หลักการคอนสตัรคกับการออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของ Mclellan การเรียนรู้ที่ เหมาะสม (Situated Learning) ซึ่งจะเรียกว่าชุมชนของผู้เรียน (Learners Communities) กล่าวคือคือให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเสนอวามคิดเห็นภายในกลุ่ม เปลี่ยนจากการมั่นใจความคิดของ ตนเอง มาเป็นการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม
  • 8. สถานการณ์ที่ 4 ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญให้สอดคล้องกับ วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึง ประเด็นต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุดใดบ้างที่ท่านสามารถนาทฤษฎี การเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็น แนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ครูทองสุข
  • 9. จุดที่สามารถนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสมาใช้ การจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขโดยให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กันและกัน และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสมาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ได้ เนื่องจากหลักสาคัญ 2 ประการสาหรับการนาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสมาใช้คือ 1. การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวครูทองสุขได้ให้นักเรียนทางานร่วมกันและ ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทาให้นักเรียนได้ลงมือทาจนเกิดการเรียนรู้ เช่น ครูทองสุขให้นักเรียนจับกลุ่ม ทาโครงงานวิทยศาสตร์ ซึ่งนักเรียนในกลุ่มจะระดมความคิด จากนั้นก็ลงมือทาการทดลอง ร่วมมือกันแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถนาเอาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ต่อไปได้ 2. การเรียนรู้ที่เน้นสภาพจริง ยกตัวอย่างเช่น ครูทองสุขให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อ ทารายงาน โดยให้โจทย์ว่านักเรียนจะต้องสืบค้นภูมิปัญญาที่เป็นสิ่งใกล้ตัว และเห็นอยู่ในชีวิตประจาวัน เมื่อ นักเรียนได้สืบค้นแล้ว นักเรียนจะสามารถเชื่อมโยงได้ว่าสิ่งที่พวกเขาเห็นอยู่ในชีวิตประจาวันนั้นมีที่มาที่ไป อย่างไร ทาให้นักเรียนสามารถจาได้ และนาความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อได้