SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์  ( Constructivist Theories ) นางสาวชลลิกา  ธรรมเกตุ  รหัส  545050337-9   นายชาติชาย  พลจารย์  รหัส  545050340-0   นางศศิธร  ป้องสุพรรณ  รหัส  545050364-6 จัดทำโดย
ครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือประกอบ  นักเรียนจะจดจำเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด  ( cognitive process)   การวิเคราะห์ หรือการไตร่ตรองในระหว่างการเรียนนักเรียนไม่ได้ลงมือกระทำหรือสร้างความรู้เอง
จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนำหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
ใช้หลักการของ   Cognitive Constructivism   มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพราะเป็นทฤษฎีนี้มีหลักการที่สำคัญคือ ๑ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ลงมือปฏิบัติ ๒ . การเรียนรู้ควรเป็นองค์รวม เน้นสภาพจริง และสิ่งที่เป็นจริง
วิชา วิทยาศาสตร์  เรื่อง  สถานะของน้ำ  ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้ทดลองศึกษาเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการทดลองโดยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อที่จะได้เห็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำจริงๆแล้วจะสามารถสรุปเป็นองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
อ .  นิตยา เป็นครูประจำชั้น ม . 5  ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของ นายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า   " สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจำวันได้เลย  "
คุณจะมีวิธีช่วย อ . นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนตั้งใจเรียนและเห็นความสำคัญของการเรียนโดยให้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
ใช้หลักการของ   Social Constructivist Theory  ตามแนวคิดของ  Vygotsky   มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพราะเป็นทฤษฎีนี้มีหลักการที่สำคัญ คือ “  การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมาย และไม่ควรแยกจากการเรียนรู้และความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง  (Real World)   และประสบการณ์นอกโรงเรียนควรจะมีการเชื่อมโยงมาสู่ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน”
 
1)  การเรียนรู้และพัฒนา คือด้านสังคม ได้แก่การทำกิจกรรมร่วมกัน 2)  Zone of Proximal Development  ควรจะสนองต่อแนวทางการจัดหลักสูตร และการวางแผนบทเรียน 3)  การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมายและไม่ควรแยกจากการเรียนรู้และความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนาจากชีวิตจริง 4)  ประสบการณ์นอกโรงเรียน ควรจะมีการเชื่อมโยงมาสู่ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน หลักการของทฤษฎีคือ
วิชา เกษตร เรื่อง  การทำนาข้าว  ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้มีโอกาสเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับวิธีการทำนาโดยให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มเพื่อออกมานำเสนอขั้นตอนวิธีการทำนาข้าว แล้วร่วมกันสรุปเป็นองค์ความรู้ร่วมกัน
ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคำตอบ ซึ่งโจทย์ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และในบางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทำให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมากเกินไป และจำวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนำหนักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตามหลักการดังกล่าวด้วย
ใช้หลักการทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ  McLellan  การเรียนรู้ที่เหมาะสม  ( Situated Learning) “  การเรียนรู้ที่เหมาะสมได้เน้นให้เห็นความสำคัญของบริบทเชิงสังคมที่เหมาะสม ซึ่งจะเรียกว่า ชุมชนของผู้เรียน  ( Learners Communities) ”
วิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง  การแก้โจทย์ปัญหา  ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนแต่ละคนได้มีโอกาสออกมานำเสนอวิธีการแก้โจทย์ปัญหาของตนเองให้เพื่อนๆในห้องได้เห็นขั้นตอนวิธีการอย่างชัดเจน  หลังจากนั้นก็ให้ทุกคนช่วยกันสรุปแนวทางวิธีการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ร่วมกัน โดยมีครูคอยให้คำแนะนำเพื่อนักเรียนจะได้ทราบหลักวิธีการที่ถูกต้องและหลากหลายเพื่อที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นจัดการเรียนการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสำคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญให้สอดคล้องกับ  วิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้ทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนำประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันได้
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลอง พิจารณาถึงประเด็นต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุด ใดบ้างที่ท่านสามารถนำทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการ เรียนรู้แก่ครูทองสุข
ให้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ  Cunningham
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ใช้กระบวนการกลุ่มโดยให้ผู้เรียนได้ช่วยกันอภิปรายสรุปหาวิธีการแก้ปัญหา ตามสถานการณ์ที่ครูกำหนดให้แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแนวทาง แก้ปัญหาของตนเองเพื่อที่จะได้ร่วมกันสรุปเป็นแนวทางเดียวกันซึ่งวิธีการ ดังกล่าวผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
สวัสดี

More Related Content

What's hot

Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
Workshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-webWorkshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-webWichai Likitponrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตBome Fado
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeajaacllassic
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1Chanaaun Ying
 

What's hot (19)

Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Fill
FillFill
Fill
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Workshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-webWorkshop 1 system_thinking_on-web
Workshop 1 system_thinking_on-web
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัต
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1
 

Similar to Lesson 5 construct

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาearnchaBU
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาPakakul Budken
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 

Similar to Lesson 5 construct (20)

Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
C2
C2C2
C2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 

More from nongklongdondaeng school khonkaen 3

More from nongklongdondaeng school khonkaen 3 (8)

เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
 
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคนหน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
หน่วยการเรียนรู้รายปีเรื่องแคน
 
Concept map edtech
Concept map edtechConcept map edtech
Concept map edtech
 
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
คู่มื่อการใช้ Adobe capitvate3
 
แบคำขอกู้ ชพค.7
แบคำขอกู้ ชพค.7แบคำขอกู้ ชพค.7
แบคำขอกู้ ชพค.7
 
พิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครูพิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครู
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
Movie maker
Movie makerMovie maker
Movie maker
 

Lesson 5 construct