SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา
จัดทาโดย
1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัสนักศึกษา 565050036-5
2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัสนักศึกษา 565050045-4
3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัสนักศึกษา 565050222-8
รายวิชา 201704 เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบและเทคโนโลยีเกิดใหม่
(INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ความหมายของเทคโนโลยีใหม่เพื่อการศึกษา
กิตติกรรมประกาศ
ในบทนี้ได้รับประโยชน์อย่างมากจากหลายบุคคลที่มีส่วนร่วมบทความนี้ ซึ่งส่วนใหญ่ตัวผู้เขียนเองไม่
เคยพบมาก่อน ขอขอบคุณคุณจอร์จ ซีเมนซ์ สาหรับการโพสต์คาถาม เทคโนโลยีอุบัติใหม่บนทวิสเตอร์และ
บล็อกและขอบคุณสาหรับแต่ละบุคคลที่ตอบคาถามดังกล่าว อยากให้รู้จักผู้เขียนที่มีส่วนร่วมในการทางาน
ได้แก่ อลิซาเบธ เวลเบิน, บี.เจ.อิบ และ อเล็กซ์ คอร์รอส ผู้ซึ่งสนับสนุนในการระบุความหมายโดยนัยของ
เนื้อหาอย่างชัดเจนบนคานิยามที่วางไว้ แฮกิท มิชา-ทาลและแอนดริว วิทวอธ ผู้ให้แนวคิดด้านสังคมวิทยา
และบ็อบ เฮลเล่อร์ ผู้ซึ่งสนับสนุนให้คิดในมุมกว้างเกี่ยวเทคโนโลยีเหล่านี้ ขอบคุณทุกคนที่มีส่วนร่วมในการ
สร้างบทนิยามนี้
บทคัดย่อ
คาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” มักถูกใช้กันโดยปราศจากความหมายหรือคานิยามที่ชัดเจน เป้าหมาย
หลักในบทนี้คือการเข้าใจความหมายของคาๆ นี้ในขณะเดียวกันก็มีการทาการสารวจพบว่ามีความเข้าใจที่
ชัดเจนของเทคโนโลยีอุบัติใหม่หมายถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงความคิดรวบยอดของคานี้
ก่อนหน้านี้เทคโนโลยีอุบัติใหม่คือเครื่องมือ, ความคิดรวบยอด, นวัตกรรมและความเจริญของการใช้
สภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่หลากหลาย นอกจากนี้
เทคโนโลยีอุบัติใหม่กาลังพัฒนารูปแบบเป็นแบบวงล้อประสบการณ์ ในเวลาเดียวกันก็อาจถูกทาลายด้วยความ
ไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้และยังไม่มีการวิจัยอย่างสมบูรณ์ ความคิดนี้นามาสู่การชี้แจงสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการใช้
เทคโนโลยีในการศึกษา
บทนา
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการพัฒนานามาสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางสังคม ในการ
เปรียบเทียบกันระหว่างผลกระทบของเทคโนโลยีในการศึกษา การสอนและการเรียนรู้ค่อนข้างที่จะถูกจากัด
ในขณะที่การคาดการณ์ว่าจะมีการพัฒนาเกี่ยวกับสื่อการสอนวิทยุ, โทรทัศน์, คอมพิวเตอร์บุคคล, สื่อการสอน
ฐานความรู้ทางคอมพิวเตอร์, อินเตอร์เน็ต, เว็บ 2.0 , การเรียนรู้อิเล็กทรอนิคส์, การเรียนรู้ทางโทรศัพท์,
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีล่าสุดในปัจจุบันนี้ส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยีและเครื่องมือเหล่านี้ บ่อยครั้งมักจะใช้
ผิด จุดเด่น คือ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อการสอนที่ดีขึ้นนั้นเป็นเพียงการลอกเลียนแบบ
เทคโนโลยีอุบัติใหม่กับแนวคิดแบบสหวิทยาการ
มุมมองที่นามาใช้ในบทนี้คือคาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” ดีกว่าการอบรมและกิจกรรมทางวิชาการ
และสามารถระบุการใช้ที่เฉพาะเจาะจงได้อย่างอิสระในความพยายามทางด้านการศึกษา ในขณะที่นวัตกรรม
บางอย่างอาจมีความเหมาะสมมากกว่าอย่างอื่น ขอบเขตเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงและความสามารถทาง
เทคโนโลยีช่วยให้เครื่องมือบางอย่างมีความเหมาะสม ทั้งหมดนี้ เทคโนโลยีใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการ
ฝึกฝนได้อย่างหลากหลาย
เทคโนโลยีอุบัติใหม่คืออะไร
เริ่มแรกปี 2008 มีประกาศการใช้หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ แต่ในขณะนั้นเป็นแบบที่ไม่สามารถแก้ไข
ตัวอักษรได้ ลาดับต่อมาได้มีการประกาศให้ใช้ในการศึกษาทางไกล ในยุคนั้นเทคโนโลยีใหม่ในการศึกษา
ทางไกลดูเหมือนจะเป็นประเด็นร้อน และดูเหมือนว่าเราต้องนามาเสนอ หลังจากได้รับการยอมรับหรือการ
ปฏิเสธ การเขียนคานาของหนังสือและตัดสินใจอย่างรวดเร็วในการนิยามคาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” โดย
การนิยามดังกล่าวมีการค้นจากนิตยสาร วารสารและรายงาน จากการศึกษาข้อมูลหลายด้านและการอ้าง
ข้อมูลจากสถาบันฝึกอบรมและการศึกษาประเทศออสเตรเลีย สามารถให้ความหมายของเทคโนโลยีอุบัติใหม่
ได้ว่า “เทคโนโลยี” คือสิ่งที่ยังใหม่อยู่ ถ้ามันยังไม่ใช่สิ่งที่ “ต้องมี” ยกตัวอย่าง เช่น เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา
จดหมายอิเล็กทรอนิคส์เป็นเทคโนโลยีทางเลือกซึ่งในความเป็นจริงมันถูกจากัดจากผลกระทบในการใช้อุปกรณ์
ติดต่อสื่อสาร เพียงคนบางองค์กรเท่านั้นที่ใช้เทคโนโลยีนี้ได้ แต่ทุกวันนี้มันกลายเป็นเทคโนโลยีที่ต้องมีและ
ต้องใช้สาหรับผู้คนส่วนใหญ่ในองค์กร
คานิยามที่ครอบคลุมของเทคโนโลยีใหม่
ในส่วนของ “เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา” ได้ศึกษาว่านักวิจัยและแพทย์เข้าใจเทคโนโลยี
เหล่านี้ได้อย่างไร และสังเกตเห็นว่าคาว่า “เทคโนโลยี” กับ “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” มักถูกใช้ในความหมายที่
เหมือนกัน แต่อันที่จริงสองคานี้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยผู้เขียนระบุว่าเทคโนโลยีอุบัติใหม่
เปรียบเสมือนเครื่องมือ ความคิดรวบยอด นวัตกรรมและความเจริญของการใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยัง
สามารถระบุและเข้าใจในส่วนของเนื้อหาตามลักษณะ 5 ลักษณะต่อไปนี้
1. เทคโนโลยีเกิดอุบัติใหม่อาจใช่หรือไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่
2. เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นระบบวัฏจักรที่มีอยู่คือมีการเข้ามาและดารงอยู่
3. เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นไปตามการกระตุ้นทางวัฏจักร
4. เทคโนโลยีอุบัติใหม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ทั้ง 2 ด้านต่อไปนี้หรือยัง
4.1 เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยังไม่มีความเข้าใจอย่างเต็มที่
4.2. เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยังไม่มีการวิจัยอย่างสมบูรณ์และจริงจัง
5. เทคโนโลยีใหม่มีความเป็นไปได้แต่ความเป็นไปได้นั้นยังไม่เป็นที่พึงพอใจมากนัก
ความหมายโดยนัย
คานิยามที่กาหนดให้ดูมีความซับซ้อนเกิดขึ้นเมื่อเทคโนโลยีอุบัติใหม่ถูกใช้ในบริบททางการศึกษา
แม้ว่าผู้ฝึกฝนและนักวิจัยทางการศึกษาอาจพิจารณาว่าเทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพใน
การสารวจของเรานามาสู่การปรับปรุงการเรียนการสอน แต่ก็ยังคงเป็นผู้เรียนยังคงมีต้องการเรียนรู้ว่าถึงความ
เป็นไปได้ที่จะประสบผลสาเร็จด้วยเทคโนโลยีเหล่านี้ คานิยามที่เสนอของเทคโนโลยีใหม่ยังบอกเป็นนัยอีกว่า
เทคโนโลยี ไม่สามารถเป็น การอุบัติใหม่ นอกจากบริบท โดยเฉพาะเทคโนโลยีอาจเป็นสิ่งเกิดขึ้นใหม่ในบาง
พื้นที่ ที่ถูกยอมรับไปแล้วในพื้นที่อื่น ความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีอุบัติใหม่ก็คือวิวัฒนาการของโครงสร้าง
ที่ยังคงอยู่ในสถานะของ การเข้ามาสู่การคงอยู่และทฤษฎีทางสังคมของการปรากฏออกมา
สุดท้าย มันมีความสาคัญมากที่จะเน้นว่า การเพิ่มเติมในการจัดหมวดหมู่ของเครื่องมือที่หลากหลายก็
คือเทคโนโลยีอุบัติใหม่นั่นเอง คานิยามของบทนี้ยังอธิบายถึงความคิด, ทฤษฎีและกระบวนการ เทคโนโลยีใหม่
ยังเป็นการรวมทั้งเครื่องมือและความคิดเข้าด้วยกัน
บทสรุป
ในปี 2007 สมาคมเทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาได้มีการกลับมาใช้คาว่า เทคโนโลยี
ทางการศึกษา เพื่อระบุขอบเขตของคานี้ เช่น การออกแบบการเรียนการสอน ระบบทางการเรียนการ
สอน และ ระบบเทคโนโลยีทางการเรียนการสอน
คานิยามของเทคโนโลยีอุบัติใหม่ สาหรับการศึกษาที่บัญญัติในบทนี้แสดงให้เห็นพื้นฐานบนตาแหน่ง
ในการทางานของเรา สิ่งสาคัญที่ต้องเน้นเพิ่มเติมสาหรับการวิจัยและการฝึกฝนในอนาคตสามารถสร้างกรอบ
ความคิด การขยายออกไปและและการประเมินผลได้

More Related Content

What's hot

ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวguesta29250e
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟังSchool
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนAtigarn Tingchart
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...Totsaporn Inthanin
 

What's hot (14)

Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
สรุปฟัง
สรุปฟังสรุปฟัง
สรุปฟัง
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
ICT for Education Program
ICT for Education Program ICT for Education Program
ICT for Education Program
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
ทักษะการใช้สื่อการสอน
ทักษะการใช้สื่อการสอนทักษะการใช้สื่อการสอน
ทักษะการใช้สื่อการสอน
 
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...
นักศึกษา ป.ตรี เทคโนโลยีแม่พิมพ์ รุ่น 1 สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเห...
 
5.2 google appsforedu activities
5.2 google appsforedu activities5.2 google appsforedu activities
5.2 google appsforedu activities
 
Open Learning Manual
Open Learning ManualOpen Learning Manual
Open Learning Manual
 

Viewers also liked

โครงงานคอมการงาน
โครงงานคอมการงานโครงงานคอมการงาน
โครงงานคอมการงานPTtp WgWt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)Uraiwan Chankan
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
Solar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelSolar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelIRENA Global Atlas
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาUraiwan Chankan
 
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveGlobal Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveIRENA Global Atlas
 
Pravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote
 
IRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551สปสช นครสวรรค์
 
The clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptThe clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptIRENA Global Atlas
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPanatda Maraphong
 

Viewers also liked (17)

โครงงานคอมการงาน
โครงงานคอมการงานโครงงานคอมการงาน
โครงงานคอมการงาน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
Solar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite modelSolar resource assessment using a satellite model
Solar resource assessment using a satellite model
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าของการศึกษา
 
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiaveGlobal Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
Global Atlas presentation for the IRENA Clean Energy Corridor inititiave
 
Pravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CVPravin Arote Updated CV
Pravin Arote Updated CV
 
IRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectivesIRENA Global Atlas status and perspectives
IRENA Global Atlas status and perspectives
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
130111 global atlaswebsite
130111 global atlaswebsite130111 global atlaswebsite
130111 global atlaswebsite
 
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
 
The clean energy corridor concept
The clean energy corridor conceptThe clean energy corridor concept
The clean energy corridor concept
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to เอกสารแปล (Week 1)

Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่นิพ พิทา
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
201704 work week_3
201704 work week_3201704 work week_3
201704 work week_3goojaewwaow
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาPennapa Kumpang
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
The new 3 e's of education
The  new  3 e's  of  educationThe  new  3 e's  of  education
The new 3 e's of educationPennapa Kumpang
 
The new 3 e's of education
The  new  3 e's  of  educationThe  new  3 e's  of  education
The new 3 e's of educationPennapa Kumpang
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้T'Rak Daip
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Isaiah Thuesayom
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 

Similar to เอกสารแปล (Week 1) (20)

Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
201704 work week_3
201704 work week_3201704 work week_3
201704 work week_3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
The new 3 e's of education
The  new  3 e's  of  educationThe  new  3 e's  of  education
The new 3 e's of education
 
The new 3 e's of education
The  new  3 e's  of  educationThe  new  3 e's  of  education
The new 3 e's of education
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 

เอกสารแปล (Week 1)

  • 1. เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา จัดทาโดย 1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัสนักศึกษา 565050036-5 2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัสนักศึกษา 565050045-4 3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัสนักศึกษา 565050222-8 รายวิชา 201704 เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบและเทคโนโลยีเกิดใหม่ (INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES) สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 2. ความหมายของเทคโนโลยีใหม่เพื่อการศึกษา กิตติกรรมประกาศ ในบทนี้ได้รับประโยชน์อย่างมากจากหลายบุคคลที่มีส่วนร่วมบทความนี้ ซึ่งส่วนใหญ่ตัวผู้เขียนเองไม่ เคยพบมาก่อน ขอขอบคุณคุณจอร์จ ซีเมนซ์ สาหรับการโพสต์คาถาม เทคโนโลยีอุบัติใหม่บนทวิสเตอร์และ บล็อกและขอบคุณสาหรับแต่ละบุคคลที่ตอบคาถามดังกล่าว อยากให้รู้จักผู้เขียนที่มีส่วนร่วมในการทางาน ได้แก่ อลิซาเบธ เวลเบิน, บี.เจ.อิบ และ อเล็กซ์ คอร์รอส ผู้ซึ่งสนับสนุนในการระบุความหมายโดยนัยของ เนื้อหาอย่างชัดเจนบนคานิยามที่วางไว้ แฮกิท มิชา-ทาลและแอนดริว วิทวอธ ผู้ให้แนวคิดด้านสังคมวิทยา และบ็อบ เฮลเล่อร์ ผู้ซึ่งสนับสนุนให้คิดในมุมกว้างเกี่ยวเทคโนโลยีเหล่านี้ ขอบคุณทุกคนที่มีส่วนร่วมในการ สร้างบทนิยามนี้ บทคัดย่อ คาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” มักถูกใช้กันโดยปราศจากความหมายหรือคานิยามที่ชัดเจน เป้าหมาย หลักในบทนี้คือการเข้าใจความหมายของคาๆ นี้ในขณะเดียวกันก็มีการทาการสารวจพบว่ามีความเข้าใจที่ ชัดเจนของเทคโนโลยีอุบัติใหม่หมายถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงความคิดรวบยอดของคานี้ ก่อนหน้านี้เทคโนโลยีอุบัติใหม่คือเครื่องมือ, ความคิดรวบยอด, นวัตกรรมและความเจริญของการใช้ สภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่หลากหลาย นอกจากนี้ เทคโนโลยีอุบัติใหม่กาลังพัฒนารูปแบบเป็นแบบวงล้อประสบการณ์ ในเวลาเดียวกันก็อาจถูกทาลายด้วยความ ไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้และยังไม่มีการวิจัยอย่างสมบูรณ์ ความคิดนี้นามาสู่การชี้แจงสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการใช้ เทคโนโลยีในการศึกษา บทนา นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการพัฒนานามาสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางสังคม ในการ เปรียบเทียบกันระหว่างผลกระทบของเทคโนโลยีในการศึกษา การสอนและการเรียนรู้ค่อนข้างที่จะถูกจากัด ในขณะที่การคาดการณ์ว่าจะมีการพัฒนาเกี่ยวกับสื่อการสอนวิทยุ, โทรทัศน์, คอมพิวเตอร์บุคคล, สื่อการสอน ฐานความรู้ทางคอมพิวเตอร์, อินเตอร์เน็ต, เว็บ 2.0 , การเรียนรู้อิเล็กทรอนิคส์, การเรียนรู้ทางโทรศัพท์, นวัตกรรมทางเทคโนโลยีล่าสุดในปัจจุบันนี้ส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยีและเครื่องมือเหล่านี้ บ่อยครั้งมักจะใช้ ผิด จุดเด่น คือ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อการสอนที่ดีขึ้นนั้นเป็นเพียงการลอกเลียนแบบ เทคโนโลยีอุบัติใหม่กับแนวคิดแบบสหวิทยาการ มุมมองที่นามาใช้ในบทนี้คือคาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” ดีกว่าการอบรมและกิจกรรมทางวิชาการ และสามารถระบุการใช้ที่เฉพาะเจาะจงได้อย่างอิสระในความพยายามทางด้านการศึกษา ในขณะที่นวัตกรรม บางอย่างอาจมีความเหมาะสมมากกว่าอย่างอื่น ขอบเขตเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงและความสามารถทาง เทคโนโลยีช่วยให้เครื่องมือบางอย่างมีความเหมาะสม ทั้งหมดนี้ เทคโนโลยีใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการ ฝึกฝนได้อย่างหลากหลาย เทคโนโลยีอุบัติใหม่คืออะไร เริ่มแรกปี 2008 มีประกาศการใช้หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ แต่ในขณะนั้นเป็นแบบที่ไม่สามารถแก้ไข ตัวอักษรได้ ลาดับต่อมาได้มีการประกาศให้ใช้ในการศึกษาทางไกล ในยุคนั้นเทคโนโลยีใหม่ในการศึกษา ทางไกลดูเหมือนจะเป็นประเด็นร้อน และดูเหมือนว่าเราต้องนามาเสนอ หลังจากได้รับการยอมรับหรือการ ปฏิเสธ การเขียนคานาของหนังสือและตัดสินใจอย่างรวดเร็วในการนิยามคาว่า “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” โดย การนิยามดังกล่าวมีการค้นจากนิตยสาร วารสารและรายงาน จากการศึกษาข้อมูลหลายด้านและการอ้าง
  • 3. ข้อมูลจากสถาบันฝึกอบรมและการศึกษาประเทศออสเตรเลีย สามารถให้ความหมายของเทคโนโลยีอุบัติใหม่ ได้ว่า “เทคโนโลยี” คือสิ่งที่ยังใหม่อยู่ ถ้ามันยังไม่ใช่สิ่งที่ “ต้องมี” ยกตัวอย่าง เช่น เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา จดหมายอิเล็กทรอนิคส์เป็นเทคโนโลยีทางเลือกซึ่งในความเป็นจริงมันถูกจากัดจากผลกระทบในการใช้อุปกรณ์ ติดต่อสื่อสาร เพียงคนบางองค์กรเท่านั้นที่ใช้เทคโนโลยีนี้ได้ แต่ทุกวันนี้มันกลายเป็นเทคโนโลยีที่ต้องมีและ ต้องใช้สาหรับผู้คนส่วนใหญ่ในองค์กร คานิยามที่ครอบคลุมของเทคโนโลยีใหม่ ในส่วนของ “เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา” ได้ศึกษาว่านักวิจัยและแพทย์เข้าใจเทคโนโลยี เหล่านี้ได้อย่างไร และสังเกตเห็นว่าคาว่า “เทคโนโลยี” กับ “เทคโนโลยีอุบัติใหม่” มักถูกใช้ในความหมายที่ เหมือนกัน แต่อันที่จริงสองคานี้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยผู้เขียนระบุว่าเทคโนโลยีอุบัติใหม่ เปรียบเสมือนเครื่องมือ ความคิดรวบยอด นวัตกรรมและความเจริญของการใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยัง สามารถระบุและเข้าใจในส่วนของเนื้อหาตามลักษณะ 5 ลักษณะต่อไปนี้ 1. เทคโนโลยีเกิดอุบัติใหม่อาจใช่หรือไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่ 2. เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นระบบวัฏจักรที่มีอยู่คือมีการเข้ามาและดารงอยู่ 3. เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นไปตามการกระตุ้นทางวัฏจักร 4. เทคโนโลยีอุบัติใหม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ทั้ง 2 ด้านต่อไปนี้หรือยัง 4.1 เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยังไม่มีความเข้าใจอย่างเต็มที่ 4.2. เทคโนโลยีอุบัติใหม่ยังไม่มีการวิจัยอย่างสมบูรณ์และจริงจัง 5. เทคโนโลยีใหม่มีความเป็นไปได้แต่ความเป็นไปได้นั้นยังไม่เป็นที่พึงพอใจมากนัก ความหมายโดยนัย คานิยามที่กาหนดให้ดูมีความซับซ้อนเกิดขึ้นเมื่อเทคโนโลยีอุบัติใหม่ถูกใช้ในบริบททางการศึกษา แม้ว่าผู้ฝึกฝนและนักวิจัยทางการศึกษาอาจพิจารณาว่าเทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพใน การสารวจของเรานามาสู่การปรับปรุงการเรียนการสอน แต่ก็ยังคงเป็นผู้เรียนยังคงมีต้องการเรียนรู้ว่าถึงความ เป็นไปได้ที่จะประสบผลสาเร็จด้วยเทคโนโลยีเหล่านี้ คานิยามที่เสนอของเทคโนโลยีใหม่ยังบอกเป็นนัยอีกว่า เทคโนโลยี ไม่สามารถเป็น การอุบัติใหม่ นอกจากบริบท โดยเฉพาะเทคโนโลยีอาจเป็นสิ่งเกิดขึ้นใหม่ในบาง พื้นที่ ที่ถูกยอมรับไปแล้วในพื้นที่อื่น ความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีอุบัติใหม่ก็คือวิวัฒนาการของโครงสร้าง ที่ยังคงอยู่ในสถานะของ การเข้ามาสู่การคงอยู่และทฤษฎีทางสังคมของการปรากฏออกมา สุดท้าย มันมีความสาคัญมากที่จะเน้นว่า การเพิ่มเติมในการจัดหมวดหมู่ของเครื่องมือที่หลากหลายก็ คือเทคโนโลยีอุบัติใหม่นั่นเอง คานิยามของบทนี้ยังอธิบายถึงความคิด, ทฤษฎีและกระบวนการ เทคโนโลยีใหม่ ยังเป็นการรวมทั้งเครื่องมือและความคิดเข้าด้วยกัน บทสรุป ในปี 2007 สมาคมเทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาได้มีการกลับมาใช้คาว่า เทคโนโลยี ทางการศึกษา เพื่อระบุขอบเขตของคานี้ เช่น การออกแบบการเรียนการสอน ระบบทางการเรียนการ สอน และ ระบบเทคโนโลยีทางการเรียนการสอน คานิยามของเทคโนโลยีอุบัติใหม่ สาหรับการศึกษาที่บัญญัติในบทนี้แสดงให้เห็นพื้นฐานบนตาแหน่ง ในการทางานของเรา สิ่งสาคัญที่ต้องเน้นเพิ่มเติมสาหรับการวิจัยและการฝึกฝนในอนาคตสามารถสร้างกรอบ ความคิด การขยายออกไปและและการประเมินผลได้