SlideShare a Scribd company logo
507213
น้ำเคลือบเบื้องต้น
(Basic Glazes)
Chapter 1.3 Properties of Glass-
Crystalline Mixtures
ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์
โปรแกรมวิชำเทคโนโลยีเซรำมิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ
1
Outline of this lecture
• การหลอมแก้ว (Melting of Glass)
 การเปลี่ยนจากส่วนผสมไปเป็นแก้วหลอม
 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น
 การหลอมตัวของทราย
• การเกิดแก้วใส (Fining of Glass)
 การแตกตัวของฟองแก๊ส
 กลไกการเกิด Fining
 การกาจัดฟองอากาศและ seeds
2
Schematic of an industrial glass
melting tank
Melting and fining in the furnace
Melting and fining in the furnace
Batch melting-in
• กระบวนการหลอมเกิดขึ้นโดยการเกิดปฏิกิริยาของส่วนผสมจนอยู่ในรูปของของเหลว
• ในการให้ความร้อนกับกองหรือชั้นของส่วนผสม
• การเริ่มต้นของการหลอมที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเกิดการหลอมละลายของส่วนผสมอย่างรุนแรง
จากส่วนผสมที่หลอมง่ายไปหาส่วนผสมที่หลอมยาก เช่น ทราย หรือเฟลด์สปาร์ หรือ
อนุภาคดิน
• การหลอมตัวจะเริ่มไหลจากบริเวณพื้นที่กองส่วนผสมไปยังแก้วที่หลอม ดังนั้นกอง
ส่วนผสมจะกลายเป็นตัวที่จะไปเพิ่มความหนา
• จนกระทั่งสุดท้ายอนุภาคของทรายไม่หลอมต่อไปอีกแล้วมันจะกลายเป็นแก้วที่หลอมใน
ตัวมันเอง เมื่ออนุภาคจะเกิดการหลอมต่อไปโดยอาศัยการแพร่ของ SiO2 ในแก้วที่
หลอม ออกไปทุกทิศทางจากที่ผิวของเม็ดทราย
Melting process of the batch blanket
Detailed representation of batch
melting process
Different steps of the melting process
• ปฏิกิริยาการหลอมตัว (Melt reactions)
• พลังงานที่ใช้ในการหลอม (Melt energy) (enthalpy คือ พลังงานความร้อนที่ทา
ให้ส่วนผสมเกิดการแตกตัวด้วยปฏิกิริยาการหลอม)
• พลังงานจนล์ในการหลอม (Melting kinetics) / การถ่ายเทความร้อน (heat
transfer)
• ปัจจัยที่มีผลต่อการหลอม
ผลของอุณหภูมิ
ขนาดของอนุภาค (โดยเฉพาะวัตถุดิบทรายและอะลูมินา)
ส่วนผสมของแก้ว
Melt reactions
Melting reactions
• เกิด De-hydration ของวัตถุดิบ และการระเหยของไอน้า (water
evaporation)
• เกิดปฏิกิริยา Solid state ระหว่างวัตถุดิบแต่ละตัว
• เกิดการหลอมในรูปเบื้องต้นและการหลอมตัวของเกลือที่มีคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ
(โดยทั่วไปจะเกิดในช่วงอุณหภูมิ: 700-900°C)
• Dissociation หรือ การแตกตัว (decomposition) ปฏิกิริยาของ Ca- และ
Mg- ที่ประกอบด้วย carbonates (e.g. limestone และ dolomite),
ผลจะทาหเกิดแก๊ส CO2 (ในช่วงอุณหภูมิ 500-1000°C) (Na2CO3 จะไม่แตก
ตัวอย่างต่อเนื่อง แต่จะทาปฏิกิริยากับทรายหรือหินปูน)
• กำรหลอมละลำยของ SiO2 ในกลุ่มเกลือที่มีคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ โดยทั่วไปจะ
เกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ 1000°C ทรายจะทาปฏิกิริยากับโซเดียมซิลิเกตหรือโซดา ที่
อุณหภูมิ 750-1000°C จนอยู่ในรูปของของเหลวโซเดียมซิลิเกต (มีบางส่วนปล่อยแก๊ส
CO2 เมื่อหินปูน หรือ โซดา หรือ โดโลไมต์ ทาปฏิกิริยากับ)
Dehydration
• เกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ ± 100°C สาหรับน้าที่อยู่ในโครงสร้าง
• ในกรณีของดินที่อยู่ในส่วนผสม de-hydration อาจจะเกิดที่อุณหภูมิ 650-
700°C
• Dehydration (water evaporation) คือ ต้องใช้พลังงานมาก และมันเป็นสิ่ง
ที่สาคัญส่วนหนึ่งของการใช้พลังงานที่ต้องใช้
Sand dissolution
• Pure silica จะหลอมตัวที่อุณหภูมิสูงมำก (> 1700°C)
• ในแก้วโดยทั่วไป (except e.g. pure silica glass) ทรายคือส่วนที่เติมเข้าไปใน
แก้วโดยการสลายตัวและบางครั้งอาจเป็นการหลอมละลาย
• กำรสลำยตัวของทรำยเป็ นขั้นตอนที่สำคัญในอุตสำหกรรมกำรหลอม
• มันจะขึ้นกับการกระจายตัวของขนาดอนุภาคของเม็ดทรายในส่วนผสมตั้งแต่เริ่มต้น
เช่นเดียวกับการหลอมตัวของวัตถุดิบอื่น (e.g. alkaline phases)
• เม็ดทรายจะทาปฏิกิริยากับส่วนผสมตัวอื่นหรือหลอมละลายในกระบวนการหลอมแก้ว ความ
เหมาะสมของขนาดอนุภาคมีผลต่อชนิดของแก้วแต่ละชนิด
Grain size distribution of quartz sand, recommended for
different applications, values in mass%
Solid-state reactions in the batch
• Solid-state reactions สามมารถแบ่งเป็น 2 วิธี คือ 1) วิธี carbonate
และวิธี silicate
• The carbonate route (path) เป็นการวิเคราะห์โดยการเกิดปฏิกิริยาการหลอม
ตัวของทราย ซิลิกากับตัวหลอมของโซดาแอช และหินปูน ที่อุณหภูมิต่ากว่า 900°C โดย
โซดาแอชและหินปูนจะไปเชื่อมต่อกับตัวอื่น อาจจะรวมกันอยู่ในรูป double
carbonate โดยเกิดปฏิกิริยา solid state reaction เกิดเป็น
Na2Ca(CO3)2
• ที่อุณหภูมิประมาณ 820°C, ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นการเริ่มต้นการหลอมของวัตถุดิบตัวอื่น
เพื่อนาไปสู่การเกิดปฏิกิริยาอย่างทันทีกับเม็ดทรายซิลิกา
• ปฏิกิริยาระหว่าง Silica กับ Na2Ca(CO3)2 จะอยู่ในรูปของ Na2O·CaO·SiO2
หลอม รวมทั้งเกิดแก๊ส CO2
Solid-state reactions in the batch
• วิธี silica/silicate เป็นพื้นฐานของการหลอมแบบ eutectic melting ของของ
ผสม ที่ประกอบด้วย sodium disilicate phase, แล้วเกิดปฏิกิริยา solid
state reactions ระหว่าง ทรายและโซดา
• eutectic melting ของ SiO2 และ Na2O·2SiO2 เกิดขึ้นที่อุณหภูมิ 799°C
และเกิดการหลอมตัวอยู่ในรูปของ silicate
• ปัจจัยซึ่งจะมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างส่วนผสม
• โดย compacted batch (pellets, granules) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นอาจ
ต้องใช้พลังงานที่มากกว่าในหลอมส่วนผสมthe
• Finer powders อาจจะทาให้การสัมผัสกันระหว่างวัตถุดิบที่ทาปฏิกิริยากันได้ดี
เมื่อเทียบกับอนุภาคหยาบ ดังนั้นส่วนผสมที่มีอนุภาคละเอียดจะเกิดปฏิกิริยาได้ดีกว่าและ
ได้แก้วที่มีความเป็นเนื้อเดียวกันมากกว่า
Melting reactions – Silicate route for
SLS batch
Melting reactions – Silicate route for
SLS batch
Limestone –sand solid-state reactions
• ในส่วนของ limestone หรือ dolomite จะแตกตัวที่อุณหภูมิการเผา
calcination ของ limestone, และขึ้นกับความดันของ CO2 ที่เกิดขึ้นใน
ส่วนผสม บางครั้ง limestone อาจทาปฏิกิริยาโดตรงกับ silica
2 CaCO3 + SiO2  Ca2SiO4 + 2 CO2  (600 - 900°C)
• ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นเมื่ออนุภาคสัมผัสและเชื่อมต่อกันเท่านั้น และเกิดปฏิกิริยา solid
state/liquid reactions ได้ช้ากว่า
Silicate melting points / eutectics
Silicate melting points / eutectics
Dissociation – decomposition reactions
Gas release during melting-in
• ในระหว่างเริ่มต้นของปฏิกิริยาการหลอมของส่วนผสม จะมีการปลดปล่อยแก๊ส CO2 ออกมา
• ประมำณ 14 - 20 % มวลรวมปกติของส่วนผสม soda-lime-silica คือ กำร
ระเหยกลำยเป็ นไอของ CO2
• หายความว่าจากส่วนผสมปกติ 1 kg จะกลำยเป็ นแก๊ส 100 liters ที่อุณหภูมิห้องและ
ความดันปกติจะถูกปลดปล่อยในเตาเผา (หรือประมาณแก๊ส 500 liters ที่อุณหภูมิ
สูงขึ้น)
• นอกจากนี้แก๊ส CO2 ที่หายไปในการหลอมจะประกอบด้วยไอระเหยของน้า (ปริมาณไม่มาก
ขึ้นกับความชื้นของส่วนผสม ปริมาณน้าในเศษแก้ว และวัตถุดิบที่เป็น hydrated) และ
วัสดุที่อาจจะเกิดการระเหยได้ เช่น
• (SO2, HBO2, HCl, NaCl, HCl, KOH, PbO, Pb, NaOH, Se-
components).
Fining of the glass melts
แก๊สที่อยู่ในแก้ว (ถูกหลอม) หรือ ในฟองอำกำศ
• โดยส่วนใหญ่การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระหว่างการให้ความร้อนและการหลอมตัวของส่วนผสม
วัตถุดิบ
• การปลดปล่อยฟองแก๊สเป็นเรื่องธรรมชาติในการหลอมแก้ว จะก่อให้เกิดฟองอากาศเล็กๆ (seeds) หรือ
เป็นฟองพุพอง (Blister)
• หลังจากการหลอมวัตถุดิบแล้ว แก้วที่หลอมจะประกอบด้วยฟองอากาศหนาแน่นจานวนมาก โดยทั่วไป
ประมาณ 105 per kg.
• การหลอมละลายที่อิ่มตัวจะทาให้เกิดฟองแก๊สที่อยู่ในรูปของฟองแก๊สขนาดเล็กก็ต่อเมื่อ
• การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของการหลอม
• การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
• การเขย่าด้วยแรงทางกลในการหลอม
• แก๊ส (SO2 และ CO2) ที่ถูกปล่อยออกมาจากการหลอมของส่วนผสมจะมีผลต่อผิวที่ปกคลุมของ
ส่วนผสมจึงทาให้อัตราเร็วในหลอมละลายของเท็ดทรายเพิ่มขึ้น
• นอกจาก รูปแบบของซิลิเกตหลอมที่ต้องการแล้ว ยังเกิดฟองแก๊สจานวนมากเกิดขึ้น
• จากคาร์บอเนต (carbonates) อยู่ในรูปของแก๊ส CO2
• จากคาร์บอเนต (carbonates) และถ่านหิน อยู่ในรูปของแก๊ส CO
• สารจาพวกไฮเดรตที่ก่อใก้เกิดการระเหยของน้า
• จากไนเตรต ที่อยู่ในรูปแก๊ส O2 ,แก๊ส N2/NOx
• ซัลเฟต และซัลไฟด์ ที่ก่อให้เกิดแก๊ส ซัลเฟอร์ เช่น SO2, S2, H2S หรือ COS.
• เกิดกำรแตกตัวของแก๊สในแก้วที่หลอมและกำรกำจัดฟองแก๊สทั้งหมดรวมทั้งฟองแก๊สขนาดเล็กมากๆ
(seeds) จากแก้วที่หลอม
• ฟองแก๊สขนาดเล็กมากๆ (D = 0.1-0.4 mm) เราเรียกว่า seeds, ส่วนฟองแก๊สที่มีขนาดใหญ่
เราเรียกว่าblisters. ถ้าฟองอากาศมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า เราจะเรียกว่า micro-
seeds.
แก๊สที่อยู่ในแก้ว (ถูกหลอม) หรือ ในฟองอำกำศ
แก๊สอื่นๆ
• อำกำศ (ความเข้มข้นโดยปริมาตร Ar : N2 = 0.9 : 80)
• เกิดจากอากาศทาให้เป็นรูพรุนที่ผิวของส่วนผสม
• เกิดจากรูเปิดของผนังวัสดุทนไฟ
• เกิดจาก Oxygen โดยทั่วไปอากาศจะถูกหลอมละลายไปในการหลอมแก้ว
• บรรยำกำศของเตำเผำแก๊ส (N2, Ar, H2O, CO2)
• โดยทั่วไป Oxygen ที่เกิดจากบรรยากาศของเตาเผาจะหลอมละลายเข้าไปในแก้วได้อย่างสมบูรณ์
• กำรระเหยของแก้ว และส่วนผสม หรือกำรแตกตัวของแก๊ส
• NOx, CO2, H2O, SeO2, …
• แก๊สจำกวัสดุทนไฟ (CO, N2, CO2, oxygen bubbles)
• อันตรกิริยาระหว่างวัสดุทนไฟกับแก้วที่หลอม
• เกิดการพุพองของวัสดุทนไฟ
• สิ่งเจือปน ของการหลอมเกิดจากการกัดกร่อนของวัสดุอิเล็กโทรด, การแตกตัวของคาร์บอน (เขม่า) อื่นๆ
กำรเกิดแก๊สในแก้วที่หลอม
• กำรหลอมละลำยทำงกำยภำพ:
• เกิดช่องว่างระหว่างในโครงตาข่ายของซิลิเกต
• ไม่มีพันธะทางเคมียึดเหนี่ยวกับกลุ่มซิลิเกต
• N2, Ar, He เป็นแก๊สหลักที่เกิดในการหลอมละลายทางกายภาพของการหลอมแก้วแบบที่มี
ออกซิเจน
• กำรหลอมละลำยทำงเคมี:
• การดูดซับปฏิกิริยาทางเคมีในการหลอม
• ลาดับของความสามารถในการหลอมละลายทางกายภาพที่มากขึ้น
• CO3
2- (CO2), OH- (H2O), Sb2O5 (O2), N3-(N2), SO2 & O2 (SO4
2- )
• เกิดฟองแก๊ส:
• เมื่อความเข้มข้นของแก๊สถึงระดับความสามารถในการหลอมละลายสูงสุด
• ขนาดของฟองแก๊ส: 10 mm – เล็กกว่า mm
ขั้นตอนกำรเกิด fining
• ขั้นที่ 1 เรียกว่ำ primary fining
• เกิดที่อุณหภูมิสูง
• เกิดการรวมกันของฟองแก๊ส และการโตของฟองแก๊ส
• แก๊สที่แตกตัวจะแพร่กระจายจากสิ่งที่หลอมไปสู่การเกิดเป็นฟองแก๊ส (คล้ายกับฟองแก๊สในเครื่องดื่ม
โซดา)
• การโตขึ้นของฟองแก๊สไปสู่ผิวของแก้วที่หลอม
• ขั้นที่ 2 เรียกว่ำ Secondary fining หรือ Refining
• การแตกตัวของฟองแก๊สที่เหลือ (ขนาดเล็ก)
• ผลที่จะเกิดขึ้น ถ้าฟองแก๊สที่ประกอบด้วยแก๊สซึ่งแตกตัวได้เมื่อการเย็นตัวของแก้วที่หลอมเท่านั้น
(CO2, O2, SO2+O2)
• แก้วที่หลอมอาจจะทาให้เกิดการแตกตัวของแก๊ส
Primary fining
Primary fining
Primary fining
Secondary fining – ควบคุมในระหว่ำงกำรเย็นตัว
(cooling)
• secondary fining (หรือ refining) แสดงถึงการแตกตัวของฟองแก๊สที่คงเหลืออยู่ในการ
หลอม
• มันมักจะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิแคบๆ
• ควำมสำมำรถในกำรแตกตัวของแก๊สในการหลอมจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง
• เพราะว่าเมื่อลดอุณหภูมิลงจะทาให้เกิดปฏิกิริยา fining (หมายความว่าแก๊ส fining จะเกิดการดูด
ซับทางเคมีอีกครั้ง), แก๊ส fining (e.g. O2, SO2) สามารถกลับมาแตกตัวในระหว่างการควบคุม
การเย็นในการหลอม (refining) ถ้าการหลอมเกิดได้เพียงพอจะทาให้เกิดการแตกตัวของแก๊สหลังจาก
กระบวนการ primary fining
• แก๊สที่อยู่ในฟองอากาศจะแตกตัวเข้าไปในแก้วที่หลอม ฟองอากาศจะหดตัวและหายไป (มันคือ “การ
สลาย”) กลไกนี้เป็นลักษณะเฉพาะที่สาคัญสาหรับการเกิดฟองอากาศที่มีขนาดเล็กกว่า (< 100
μm), ซึ่งอยากที่จะสามารถทาให้เกิดขึ้นได้
Secondary fining
Fining agents
• ช่วยในการกาจัดฟองแก๊สที่เกิดจากการหลอมแก้ว, ด้วยการเติม fining agents
• หน้าที่ของ fining agent คือ สร้าง fining gases ขึ้นที่อุณหภูมิหนึ่ง, แล้วปรับทิศทางการ
เคลื่อนที่ของวัตถุดิบทั้งหมดในเบ้าหลอมแก้วให้มีความหนืดลดลง
• กระบวนการแตกตัวที่อุณหภูมิสูงของ fining agent ที่มีความหนืดต่าจะส่งผลให้เกิดการโตของฟอง
แก๊ส, gas กำรลอยตัวของแก๊สที่เพิ่มขึ้น
• fining ที่มากเกินอาจจะทาให้เกิดอยู่ในรูปแบบของโฟม (อาจจะทาให้เกิดตาหนิในแก้ว, หรืออาจจะหา
ได้จากการถ่ายโอนความร้อนในการเตาหลอมแก้ว)
Fining agents
• ขึ้นกับชนิดของผลิตภัณฑ์ที่จะทาให้เป็นแก้ว อุณหถูมิ รวมทั้งพลังงานที่จากัดสาหรับการหลอมส่วนผสม
ของแก้ว fining agents ต่างๆ มีดังนี้
• fining agents ที่ใช้โดยทั่วไปประกอบด้วยi:
• Sodium sulfate (with/without cokes)
• Arsenic oxide
• Antimony oxide
• Tin oxide
• Sodium chloride
Sodium sulfate – Na2SO4
• 90 %โดยมวล ของผลิตภัณฑ์แก้วทั่วโลก จะใช้ sulfate เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในส่วนผสม
• Sodium sulfate ใช้เป็น fining ในผลิตภัณฑ์เฉพาะต่อไปนี้:
• container glass
• float glass
• E-glass for continuous filament fibres (textile, reinforcement)
• some technical glasses
• soda-lime-silica tableware glasses
• soda-lime-silica glass tubes
• C-glass for insulation glass wool (here fining is not essential)
• อุณหภูมิที่เกิด fining สาหรับ sodium sulfate จะเกิดขึ้น redox state ของการหลอมแก้ว
• Na2SO4 ช่วยปรับปรุง melting kinetics (ในการหลอมเบื้องต้นมันจะช่วยลดความตึงผิว
(surface tension) ให้กับส่วนผสม)
Sodium sulfate in oxidized melts
• กำรหลอมแบบ Oxidized จะทาให้เกิดการแตกตัวทางความร้อนของ sulfate ตามกลไกของการเกิด
fining ดังนี้
ปฏิกิริยำจะเกิดที่อุณหภูมิ fining ที่ 1,430-1480°C
• Sodium sulfate สำมำรถที่ผฏิกิริยำกับอนุภำคของทรำยได้ดังนี้
โดยทั่วไปจะไม่สำมำรถสังเกตเห็นปฏิกิริยำนี้ได้ที่อุณหภูมิต่ำกว่ำ 1,100°C
Sodium sulfate in reduced melts
• บำงครั้ง sulfate ทำปฏิกิริยำกับ reducing agent ในส่วนผสม (ถ่ำนหิน หรือสำรอินทรีย์ ที่มี
สิ่งเจือปน เช่น คำร์บอน) ตัวอย่ำงปฏิกิริยำที่เกิดขึ้น
• ดังนั้น ปฏิกิริยำของ sulfate-sulfide จะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิ 1,140-1,350°C
Sodium sulfate in reduced melts
• sulfate สำมำรถทำปฏิกิริยำได้โดยตรงกับ reducing agent
ปฎิกิริยำจะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิ 900-1,100°C
• สาหรับ sulfate fining, การควบคุม redox เป็นสิ่งที่สาคัญมาก
• ช่วงของ fining ที่เหมาะสมขึ้นกับผลิตภัณฑ์ของแก้ว และสามารถควบคุมสภาวะ redox ให้เหมาะสม
ได้ (ด้วยการเติม oxidizing หรือ reducing agent)
• สารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนอาจนาไปสู่การตกตะกอนในช่วง fining และทาให้เกิดตาหนิ (bubbles,
seeds) ในผลิตภัณฑ์ที่ได้
Arsenic oxide – As2O3
• Arsenic oxide เป็ น fining agent ที่สำคัญในช่วงอุณหภูมิ 1,400-1,500°C สำหรับกำร
หลอมภำยใต้สภำวะ oxidizing มำกๆ
• Arsenic oxide (As2O3) สำมำรถเติมเข้ำไปรวมกับสำร oxidant เช่น nitrate
(NaNO3) เพื่อไปเปลี่ยน As3+ ให้เป็ น As5+ ซึ่งจะทำให้เกิดกำรแตกตัวเป็ น As2O5
• Arsenates (As2O5 ที่อยู่ในสภำวะ 5+) สำมำรถนำไปใช้งำนได้
• ระหว่ำงกระบวนกำรหลอมแก้วที่อุณหภูมิ 1,250°C fining จะปลดปล่อยออกซิเจนที่อยู่ในรูปแก๊ส
ออกมำ แล้วกลำยเป็ น As2O3 (3+) ออกไซด์
Antimony oxide – Sb2O5
• เช่นเดียวกับ arsenic oxide, สำมำรถนำไปรวมกับสำร oxidant ได้เช่นกัน
• กลไกกำรเกิดปฏิกิริยำ fining ก็มีลักษณะคล้ำยกับของ arsenic oxide
• ดังนั้น ทั้งหมดนี้จึงคล้ำยกับ arsenic fining, ซึ่งจะปลดปล่อยออกซิเจนที่อยู่ในรูปแก๊สออกมำ
Tin oxide – SnO2
• สำหรับ แก้วที่ปรำศจำก alkali เช่น ผลิตภัณพ์แก้วสำหรับจอ LCD ซึ่งมีอุณหภูมิในกำรหลอมสูงมำก
เป็ น fining agent ที่มีควำมต้องกำรมำกกว่ำ arsenic oxides หรือ antimony oxides
• fining gas ที่ถูกปลดปล่อยออกมำจำกปฏิกิริยำ ต่อไปนี้
• โดยทั่วไป Nitrates ถูกใช้เพื่อรักษำสภำวะของ tin ให้อยู่ในสภำวะ 4+ ในระหว่ำงกำรหลอม จำก
กำรสังเกตจะพบว่ำออกซิเจนจะถูกปลดปล่อยในช่ววงอุณหภูมิ 1,500-1,630°C
Halogenides (Sodium Chloride, NaCl)
• สาหรับแก้วบางชนิด, ซึ่งสามารถหลอมได้ที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น (เช่น borosilicate glasses),
การนา sodium sulfate ไปประยุกต์ใช้งานมีผลค่อนข้างน้อย เพราะ fining gases จะ
ปลดปล่อยที่อุณหภูมิเมื่อแก้วมีความหนืดจนไปถึงความหนืดมาก
• แต่ในของ NaCl ที่ใช้เป็น fining agent นอกจากนี้ยังเป็นกลุ่ม halogenide salts
(NaCl, NaBr, NaI, KCl, KBr, KI) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับส่วนผสม อาจจะถูกจากัดด้วย
ความสามารถในการละลายได้ของเกลือในการหลอมแก้วที่ได้
• อุณหภูมิของ fining จะขึ้นกับชนิดของแก้ว และจานวน fining agent ที่เติม
• สิ่งสำคัญ ในการใช้ NaCl เป็น fined ในแก้ว, การปล่อย Cl ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จากการหลอม
ที่อยู่ในรูปของ HCl-gas ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาต่างๆ ตามา (การปล่อยแก๊สที่เพิ่มขึ้น, การกัดกร่อน
ต่อวัสดุทนไฟหรือวัสดุที่ใช้ทาแม่พิพม์)
ฟองแก๊สในแก้ว และจุดกำเนิดของฟองแก๊ส
• ในกรณีของระดับที่ยอมรับไม่ได้สูง สาเหตุเนื่องจากเกิดฟองแก๊สขนาดใหญ่ หรือจานวนของ bubbles/seed
ที่มากจนยอมรับไม่ได้ในแก้ว มันจึงเป็นสิ่งที่สาคัญเพื่อหาสาเหตุหรือจุดกาเนิดของปัญหาดังกล่าว
• ข้อมูลที่สาคัญคือ:
• ขนาดของฟองแก๊ส (size of bubbles),
• การกระจายตัว (distribution) / ตาแหน่งของฟองแก๊ส ในผลิตภัณฑ์,
• แรงดันของฟองแก๊สที่อยู่ภายใน และการแตกตัวของแก๊ส (gas composition),
• ระดับพื้นฐาน และชนิดของฟองแก๊สที่พบโดยทั่วไปในผลิตภัณฑ์
• บางครั้งฟองแก๊สจะเกิดการแตกตัว (บางครั้งเกิดหยดเล็กๆ ที่หนาแน่นในผลิตภัณฑ์) ซึ่งสามารถใช้กล้อง
จุลทรรศน์สังเกตได้
• ข้อมูลพื้นฐานทั้งหมดนี้เป็นการหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นและสามารถอธิบายและแก้ไขได้ (อาจเลือกการ
วิเคราะห์จานวนฟองแก๊สที่มีจานวนมากอย่างเดียวก็เพียงพอ)
Conclusions - 1/2
• ในการหลอมแก้วของอุตสาหกรรม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมากมายอาจมาจากส่วนผสมของแก้วที่
หลอม (dehydration, solid-state reactions, formation of
primary molten phases, decompositions, dissolution of
sand grains เป็นต้น)
• การหลอมแก้ว เป็นกระบวนการที่ใช้พลังงานสูง เราจึงต้องการลดจานวนพลังงานลง
• จลศาสตร์ของการหลอมแก้วเป็นการหาความสามารถในการหลอมของทราย ซึ่งต้องใช้
เวลานานในการหลอม
• ขนาดของอนุภาคที่เหมาะสม, รูปแบบของการหลอมเบื้องต้น, การถ่ายเทความร้อนที่เพิ่มขึ้น,
สิ่งเหล่านี้สามารถช่วยให้การหลอมแก้วเพิ่มขึ้นรวมถึงอัตราการหลอมของทรายด้วย
Conclusions - 2/2
• ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งหมดในการหลอมแก้วจะนาไปสู่รูปแบบของแก้วที่มีฟองแก๊สจานวนมา
เกิดขึ้นในการหลอม ซึ่งจะต้องมีกระบวนการกาจัดฟองแก๊ส ซึ่งเราเรียกว่า กระบวนกำร
fining
• กระบวนการ fining สามารถแบ่งออกเป็น primary fining (การโตของฟองแก๊ส)
และ secondary fining (refining) (การกาจัดฟองแก๊สที่คงเหลือ)
• ประสิทธิภาพของแก้วที่ได้จะขึ้นกับชนิดของ fining agent ที่ใช้และความหนืดของแก้ว
ที่หลอมที่อุณหภูมิ fining
• การเลือก fining agent จะขึ้นกับความต้องการช่วงของ fining (และขึ้นกับชนิดของ
ผลิตภัณฑ์แก้ว)
• Redox ที่แสดงในสูตรช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการ fining, และจะต้อง
ควบคุมอย่างระมัดระวังเป็นพิเศษ
References and further reading
• Book “Introduction to Glass Science and Technology”, J.
Shelby (RSC publishing, 2nd edition 2005)
• Book “Fundamentals of Inorganic Glasses”, A. Varshneya
(Elsevier, 1993)
• Glass Technology journals (e.g. European Journal of Glass
Science and Technology)
• NCNG’s Glass Technology course and handbook 2013
• Proceedings of GlassTrend meetings and seminars
(www.glasstrend.nl)
• Proceedings of “Glass Problem Conferences” (Wiley, every
year)
Home assignment
•Thank you for your attention
•Questions ?

More Related Content

What's hot

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์inkky992
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารMutita Eamtip
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)Sasipa YAisong
 

What's hot (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
เคมี 59
เคมี 59เคมี 59
เคมี 59
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable BusinessTGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
บทที่ 7 aw
บทที่ 7 awบทที่ 7 aw
บทที่ 7 aw
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Properties of glass
Properties of glassProperties of glass
Properties of glass
 
Glass
GlassGlass
Glass
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
Different types of glasses
Different types of glassesDifferent types of glasses
Different types of glasses
 
GLASS PRESENTATION
GLASS PRESENTATIONGLASS PRESENTATION
GLASS PRESENTATION
 
Testing properties of glass laminated eva film
Testing properties of glass laminated eva filmTesting properties of glass laminated eva film
Testing properties of glass laminated eva film
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
E7
E7E7
E7
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
Glasses structures, properties and applications
Glasses structures, properties and applicationsGlasses structures, properties and applications
Glasses structures, properties and applications
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
Modern glass materials,properties and uses 3
Modern glass materials,properties and uses 3Modern glass materials,properties and uses 3
Modern glass materials,properties and uses 3
 
General properties
General propertiesGeneral properties
General properties
 
Walls timber-for slideshare
Walls timber-for slideshareWalls timber-for slideshare
Walls timber-for slideshare
 
Timber material
Timber materialTimber material
Timber material
 
Soil Profile
Soil ProfileSoil Profile
Soil Profile
 
Physical & chemical properties
Physical & chemical propertiesPhysical & chemical properties
Physical & chemical properties
 
Properties of concrete
Properties of concreteProperties of concrete
Properties of concrete
 
Building Construction process
Building Construction processBuilding Construction process
Building Construction process
 
Soil profile
Soil profileSoil profile
Soil profile
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2 งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures

  • 1. 507213 น้ำเคลือบเบื้องต้น (Basic Glazes) Chapter 1.3 Properties of Glass- Crystalline Mixtures ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชำเทคโนโลยีเซรำมิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ 1
  • 2. Outline of this lecture • การหลอมแก้ว (Melting of Glass)  การเปลี่ยนจากส่วนผสมไปเป็นแก้วหลอม  ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น  การหลอมตัวของทราย • การเกิดแก้วใส (Fining of Glass)  การแตกตัวของฟองแก๊ส  กลไกการเกิด Fining  การกาจัดฟองอากาศและ seeds 2
  • 3. Schematic of an industrial glass melting tank
  • 4. Melting and fining in the furnace
  • 5. Melting and fining in the furnace
  • 6. Batch melting-in • กระบวนการหลอมเกิดขึ้นโดยการเกิดปฏิกิริยาของส่วนผสมจนอยู่ในรูปของของเหลว • ในการให้ความร้อนกับกองหรือชั้นของส่วนผสม • การเริ่มต้นของการหลอมที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเกิดการหลอมละลายของส่วนผสมอย่างรุนแรง จากส่วนผสมที่หลอมง่ายไปหาส่วนผสมที่หลอมยาก เช่น ทราย หรือเฟลด์สปาร์ หรือ อนุภาคดิน • การหลอมตัวจะเริ่มไหลจากบริเวณพื้นที่กองส่วนผสมไปยังแก้วที่หลอม ดังนั้นกอง ส่วนผสมจะกลายเป็นตัวที่จะไปเพิ่มความหนา • จนกระทั่งสุดท้ายอนุภาคของทรายไม่หลอมต่อไปอีกแล้วมันจะกลายเป็นแก้วที่หลอมใน ตัวมันเอง เมื่ออนุภาคจะเกิดการหลอมต่อไปโดยอาศัยการแพร่ของ SiO2 ในแก้วที่ หลอม ออกไปทุกทิศทางจากที่ผิวของเม็ดทราย
  • 7. Melting process of the batch blanket
  • 8. Detailed representation of batch melting process
  • 9. Different steps of the melting process • ปฏิกิริยาการหลอมตัว (Melt reactions) • พลังงานที่ใช้ในการหลอม (Melt energy) (enthalpy คือ พลังงานความร้อนที่ทา ให้ส่วนผสมเกิดการแตกตัวด้วยปฏิกิริยาการหลอม) • พลังงานจนล์ในการหลอม (Melting kinetics) / การถ่ายเทความร้อน (heat transfer) • ปัจจัยที่มีผลต่อการหลอม ผลของอุณหภูมิ ขนาดของอนุภาค (โดยเฉพาะวัตถุดิบทรายและอะลูมินา) ส่วนผสมของแก้ว
  • 11. Melting reactions • เกิด De-hydration ของวัตถุดิบ และการระเหยของไอน้า (water evaporation) • เกิดปฏิกิริยา Solid state ระหว่างวัตถุดิบแต่ละตัว • เกิดการหลอมในรูปเบื้องต้นและการหลอมตัวของเกลือที่มีคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ (โดยทั่วไปจะเกิดในช่วงอุณหภูมิ: 700-900°C) • Dissociation หรือ การแตกตัว (decomposition) ปฏิกิริยาของ Ca- และ Mg- ที่ประกอบด้วย carbonates (e.g. limestone และ dolomite), ผลจะทาหเกิดแก๊ส CO2 (ในช่วงอุณหภูมิ 500-1000°C) (Na2CO3 จะไม่แตก ตัวอย่างต่อเนื่อง แต่จะทาปฏิกิริยากับทรายหรือหินปูน) • กำรหลอมละลำยของ SiO2 ในกลุ่มเกลือที่มีคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ โดยทั่วไปจะ เกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ 1000°C ทรายจะทาปฏิกิริยากับโซเดียมซิลิเกตหรือโซดา ที่ อุณหภูมิ 750-1000°C จนอยู่ในรูปของของเหลวโซเดียมซิลิเกต (มีบางส่วนปล่อยแก๊ส CO2 เมื่อหินปูน หรือ โซดา หรือ โดโลไมต์ ทาปฏิกิริยากับ)
  • 12. Dehydration • เกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ ± 100°C สาหรับน้าที่อยู่ในโครงสร้าง • ในกรณีของดินที่อยู่ในส่วนผสม de-hydration อาจจะเกิดที่อุณหภูมิ 650- 700°C • Dehydration (water evaporation) คือ ต้องใช้พลังงานมาก และมันเป็นสิ่ง ที่สาคัญส่วนหนึ่งของการใช้พลังงานที่ต้องใช้
  • 13. Sand dissolution • Pure silica จะหลอมตัวที่อุณหภูมิสูงมำก (> 1700°C) • ในแก้วโดยทั่วไป (except e.g. pure silica glass) ทรายคือส่วนที่เติมเข้าไปใน แก้วโดยการสลายตัวและบางครั้งอาจเป็นการหลอมละลาย • กำรสลำยตัวของทรำยเป็ นขั้นตอนที่สำคัญในอุตสำหกรรมกำรหลอม • มันจะขึ้นกับการกระจายตัวของขนาดอนุภาคของเม็ดทรายในส่วนผสมตั้งแต่เริ่มต้น เช่นเดียวกับการหลอมตัวของวัตถุดิบอื่น (e.g. alkaline phases) • เม็ดทรายจะทาปฏิกิริยากับส่วนผสมตัวอื่นหรือหลอมละลายในกระบวนการหลอมแก้ว ความ เหมาะสมของขนาดอนุภาคมีผลต่อชนิดของแก้วแต่ละชนิด
  • 14. Grain size distribution of quartz sand, recommended for different applications, values in mass%
  • 15. Solid-state reactions in the batch • Solid-state reactions สามมารถแบ่งเป็น 2 วิธี คือ 1) วิธี carbonate และวิธี silicate • The carbonate route (path) เป็นการวิเคราะห์โดยการเกิดปฏิกิริยาการหลอม ตัวของทราย ซิลิกากับตัวหลอมของโซดาแอช และหินปูน ที่อุณหภูมิต่ากว่า 900°C โดย โซดาแอชและหินปูนจะไปเชื่อมต่อกับตัวอื่น อาจจะรวมกันอยู่ในรูป double carbonate โดยเกิดปฏิกิริยา solid state reaction เกิดเป็น Na2Ca(CO3)2 • ที่อุณหภูมิประมาณ 820°C, ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นการเริ่มต้นการหลอมของวัตถุดิบตัวอื่น เพื่อนาไปสู่การเกิดปฏิกิริยาอย่างทันทีกับเม็ดทรายซิลิกา • ปฏิกิริยาระหว่าง Silica กับ Na2Ca(CO3)2 จะอยู่ในรูปของ Na2O·CaO·SiO2 หลอม รวมทั้งเกิดแก๊ส CO2
  • 16. Solid-state reactions in the batch • วิธี silica/silicate เป็นพื้นฐานของการหลอมแบบ eutectic melting ของของ ผสม ที่ประกอบด้วย sodium disilicate phase, แล้วเกิดปฏิกิริยา solid state reactions ระหว่าง ทรายและโซดา • eutectic melting ของ SiO2 และ Na2O·2SiO2 เกิดขึ้นที่อุณหภูมิ 799°C และเกิดการหลอมตัวอยู่ในรูปของ silicate • ปัจจัยซึ่งจะมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างส่วนผสม • โดย compacted batch (pellets, granules) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นอาจ ต้องใช้พลังงานที่มากกว่าในหลอมส่วนผสมthe • Finer powders อาจจะทาให้การสัมผัสกันระหว่างวัตถุดิบที่ทาปฏิกิริยากันได้ดี เมื่อเทียบกับอนุภาคหยาบ ดังนั้นส่วนผสมที่มีอนุภาคละเอียดจะเกิดปฏิกิริยาได้ดีกว่าและ ได้แก้วที่มีความเป็นเนื้อเดียวกันมากกว่า
  • 17. Melting reactions – Silicate route for SLS batch
  • 18. Melting reactions – Silicate route for SLS batch
  • 19. Limestone –sand solid-state reactions • ในส่วนของ limestone หรือ dolomite จะแตกตัวที่อุณหภูมิการเผา calcination ของ limestone, และขึ้นกับความดันของ CO2 ที่เกิดขึ้นใน ส่วนผสม บางครั้ง limestone อาจทาปฏิกิริยาโดตรงกับ silica 2 CaCO3 + SiO2  Ca2SiO4 + 2 CO2  (600 - 900°C) • ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นเมื่ออนุภาคสัมผัสและเชื่อมต่อกันเท่านั้น และเกิดปฏิกิริยา solid state/liquid reactions ได้ช้ากว่า
  • 20. Silicate melting points / eutectics
  • 21. Silicate melting points / eutectics
  • 23. Gas release during melting-in • ในระหว่างเริ่มต้นของปฏิกิริยาการหลอมของส่วนผสม จะมีการปลดปล่อยแก๊ส CO2 ออกมา • ประมำณ 14 - 20 % มวลรวมปกติของส่วนผสม soda-lime-silica คือ กำร ระเหยกลำยเป็ นไอของ CO2 • หายความว่าจากส่วนผสมปกติ 1 kg จะกลำยเป็ นแก๊ส 100 liters ที่อุณหภูมิห้องและ ความดันปกติจะถูกปลดปล่อยในเตาเผา (หรือประมาณแก๊ส 500 liters ที่อุณหภูมิ สูงขึ้น) • นอกจากนี้แก๊ส CO2 ที่หายไปในการหลอมจะประกอบด้วยไอระเหยของน้า (ปริมาณไม่มาก ขึ้นกับความชื้นของส่วนผสม ปริมาณน้าในเศษแก้ว และวัตถุดิบที่เป็น hydrated) และ วัสดุที่อาจจะเกิดการระเหยได้ เช่น • (SO2, HBO2, HCl, NaCl, HCl, KOH, PbO, Pb, NaOH, Se- components).
  • 24. Fining of the glass melts
  • 25. แก๊สที่อยู่ในแก้ว (ถูกหลอม) หรือ ในฟองอำกำศ • โดยส่วนใหญ่การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระหว่างการให้ความร้อนและการหลอมตัวของส่วนผสม วัตถุดิบ • การปลดปล่อยฟองแก๊สเป็นเรื่องธรรมชาติในการหลอมแก้ว จะก่อให้เกิดฟองอากาศเล็กๆ (seeds) หรือ เป็นฟองพุพอง (Blister) • หลังจากการหลอมวัตถุดิบแล้ว แก้วที่หลอมจะประกอบด้วยฟองอากาศหนาแน่นจานวนมาก โดยทั่วไป ประมาณ 105 per kg. • การหลอมละลายที่อิ่มตัวจะทาให้เกิดฟองแก๊สที่อยู่ในรูปของฟองแก๊สขนาดเล็กก็ต่อเมื่อ • การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของการหลอม • การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ • การเขย่าด้วยแรงทางกลในการหลอม • แก๊ส (SO2 และ CO2) ที่ถูกปล่อยออกมาจากการหลอมของส่วนผสมจะมีผลต่อผิวที่ปกคลุมของ ส่วนผสมจึงทาให้อัตราเร็วในหลอมละลายของเท็ดทรายเพิ่มขึ้น
  • 26.
  • 27. • นอกจาก รูปแบบของซิลิเกตหลอมที่ต้องการแล้ว ยังเกิดฟองแก๊สจานวนมากเกิดขึ้น • จากคาร์บอเนต (carbonates) อยู่ในรูปของแก๊ส CO2 • จากคาร์บอเนต (carbonates) และถ่านหิน อยู่ในรูปของแก๊ส CO • สารจาพวกไฮเดรตที่ก่อใก้เกิดการระเหยของน้า • จากไนเตรต ที่อยู่ในรูปแก๊ส O2 ,แก๊ส N2/NOx • ซัลเฟต และซัลไฟด์ ที่ก่อให้เกิดแก๊ส ซัลเฟอร์ เช่น SO2, S2, H2S หรือ COS. • เกิดกำรแตกตัวของแก๊สในแก้วที่หลอมและกำรกำจัดฟองแก๊สทั้งหมดรวมทั้งฟองแก๊สขนาดเล็กมากๆ (seeds) จากแก้วที่หลอม • ฟองแก๊สขนาดเล็กมากๆ (D = 0.1-0.4 mm) เราเรียกว่า seeds, ส่วนฟองแก๊สที่มีขนาดใหญ่ เราเรียกว่าblisters. ถ้าฟองอากาศมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า เราจะเรียกว่า micro- seeds. แก๊สที่อยู่ในแก้ว (ถูกหลอม) หรือ ในฟองอำกำศ
  • 28. แก๊สอื่นๆ • อำกำศ (ความเข้มข้นโดยปริมาตร Ar : N2 = 0.9 : 80) • เกิดจากอากาศทาให้เป็นรูพรุนที่ผิวของส่วนผสม • เกิดจากรูเปิดของผนังวัสดุทนไฟ • เกิดจาก Oxygen โดยทั่วไปอากาศจะถูกหลอมละลายไปในการหลอมแก้ว • บรรยำกำศของเตำเผำแก๊ส (N2, Ar, H2O, CO2) • โดยทั่วไป Oxygen ที่เกิดจากบรรยากาศของเตาเผาจะหลอมละลายเข้าไปในแก้วได้อย่างสมบูรณ์ • กำรระเหยของแก้ว และส่วนผสม หรือกำรแตกตัวของแก๊ส • NOx, CO2, H2O, SeO2, … • แก๊สจำกวัสดุทนไฟ (CO, N2, CO2, oxygen bubbles) • อันตรกิริยาระหว่างวัสดุทนไฟกับแก้วที่หลอม • เกิดการพุพองของวัสดุทนไฟ • สิ่งเจือปน ของการหลอมเกิดจากการกัดกร่อนของวัสดุอิเล็กโทรด, การแตกตัวของคาร์บอน (เขม่า) อื่นๆ
  • 29. กำรเกิดแก๊สในแก้วที่หลอม • กำรหลอมละลำยทำงกำยภำพ: • เกิดช่องว่างระหว่างในโครงตาข่ายของซิลิเกต • ไม่มีพันธะทางเคมียึดเหนี่ยวกับกลุ่มซิลิเกต • N2, Ar, He เป็นแก๊สหลักที่เกิดในการหลอมละลายทางกายภาพของการหลอมแก้วแบบที่มี ออกซิเจน • กำรหลอมละลำยทำงเคมี: • การดูดซับปฏิกิริยาทางเคมีในการหลอม • ลาดับของความสามารถในการหลอมละลายทางกายภาพที่มากขึ้น • CO3 2- (CO2), OH- (H2O), Sb2O5 (O2), N3-(N2), SO2 & O2 (SO4 2- ) • เกิดฟองแก๊ส: • เมื่อความเข้มข้นของแก๊สถึงระดับความสามารถในการหลอมละลายสูงสุด • ขนาดของฟองแก๊ส: 10 mm – เล็กกว่า mm
  • 30. ขั้นตอนกำรเกิด fining • ขั้นที่ 1 เรียกว่ำ primary fining • เกิดที่อุณหภูมิสูง • เกิดการรวมกันของฟองแก๊ส และการโตของฟองแก๊ส • แก๊สที่แตกตัวจะแพร่กระจายจากสิ่งที่หลอมไปสู่การเกิดเป็นฟองแก๊ส (คล้ายกับฟองแก๊สในเครื่องดื่ม โซดา) • การโตขึ้นของฟองแก๊สไปสู่ผิวของแก้วที่หลอม • ขั้นที่ 2 เรียกว่ำ Secondary fining หรือ Refining • การแตกตัวของฟองแก๊สที่เหลือ (ขนาดเล็ก) • ผลที่จะเกิดขึ้น ถ้าฟองแก๊สที่ประกอบด้วยแก๊สซึ่งแตกตัวได้เมื่อการเย็นตัวของแก้วที่หลอมเท่านั้น (CO2, O2, SO2+O2) • แก้วที่หลอมอาจจะทาให้เกิดการแตกตัวของแก๊ส
  • 34. Secondary fining – ควบคุมในระหว่ำงกำรเย็นตัว (cooling) • secondary fining (หรือ refining) แสดงถึงการแตกตัวของฟองแก๊สที่คงเหลืออยู่ในการ หลอม • มันมักจะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิแคบๆ • ควำมสำมำรถในกำรแตกตัวของแก๊สในการหลอมจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง • เพราะว่าเมื่อลดอุณหภูมิลงจะทาให้เกิดปฏิกิริยา fining (หมายความว่าแก๊ส fining จะเกิดการดูด ซับทางเคมีอีกครั้ง), แก๊ส fining (e.g. O2, SO2) สามารถกลับมาแตกตัวในระหว่างการควบคุม การเย็นในการหลอม (refining) ถ้าการหลอมเกิดได้เพียงพอจะทาให้เกิดการแตกตัวของแก๊สหลังจาก กระบวนการ primary fining • แก๊สที่อยู่ในฟองอากาศจะแตกตัวเข้าไปในแก้วที่หลอม ฟองอากาศจะหดตัวและหายไป (มันคือ “การ สลาย”) กลไกนี้เป็นลักษณะเฉพาะที่สาคัญสาหรับการเกิดฟองอากาศที่มีขนาดเล็กกว่า (< 100 μm), ซึ่งอยากที่จะสามารถทาให้เกิดขึ้นได้
  • 36. Fining agents • ช่วยในการกาจัดฟองแก๊สที่เกิดจากการหลอมแก้ว, ด้วยการเติม fining agents • หน้าที่ของ fining agent คือ สร้าง fining gases ขึ้นที่อุณหภูมิหนึ่ง, แล้วปรับทิศทางการ เคลื่อนที่ของวัตถุดิบทั้งหมดในเบ้าหลอมแก้วให้มีความหนืดลดลง • กระบวนการแตกตัวที่อุณหภูมิสูงของ fining agent ที่มีความหนืดต่าจะส่งผลให้เกิดการโตของฟอง แก๊ส, gas กำรลอยตัวของแก๊สที่เพิ่มขึ้น • fining ที่มากเกินอาจจะทาให้เกิดอยู่ในรูปแบบของโฟม (อาจจะทาให้เกิดตาหนิในแก้ว, หรืออาจจะหา ได้จากการถ่ายโอนความร้อนในการเตาหลอมแก้ว)
  • 37. Fining agents • ขึ้นกับชนิดของผลิตภัณฑ์ที่จะทาให้เป็นแก้ว อุณหถูมิ รวมทั้งพลังงานที่จากัดสาหรับการหลอมส่วนผสม ของแก้ว fining agents ต่างๆ มีดังนี้ • fining agents ที่ใช้โดยทั่วไปประกอบด้วยi: • Sodium sulfate (with/without cokes) • Arsenic oxide • Antimony oxide • Tin oxide • Sodium chloride
  • 38. Sodium sulfate – Na2SO4 • 90 %โดยมวล ของผลิตภัณฑ์แก้วทั่วโลก จะใช้ sulfate เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในส่วนผสม • Sodium sulfate ใช้เป็น fining ในผลิตภัณฑ์เฉพาะต่อไปนี้: • container glass • float glass • E-glass for continuous filament fibres (textile, reinforcement) • some technical glasses • soda-lime-silica tableware glasses • soda-lime-silica glass tubes • C-glass for insulation glass wool (here fining is not essential) • อุณหภูมิที่เกิด fining สาหรับ sodium sulfate จะเกิดขึ้น redox state ของการหลอมแก้ว • Na2SO4 ช่วยปรับปรุง melting kinetics (ในการหลอมเบื้องต้นมันจะช่วยลดความตึงผิว (surface tension) ให้กับส่วนผสม)
  • 39. Sodium sulfate in oxidized melts • กำรหลอมแบบ Oxidized จะทาให้เกิดการแตกตัวทางความร้อนของ sulfate ตามกลไกของการเกิด fining ดังนี้ ปฏิกิริยำจะเกิดที่อุณหภูมิ fining ที่ 1,430-1480°C • Sodium sulfate สำมำรถที่ผฏิกิริยำกับอนุภำคของทรำยได้ดังนี้ โดยทั่วไปจะไม่สำมำรถสังเกตเห็นปฏิกิริยำนี้ได้ที่อุณหภูมิต่ำกว่ำ 1,100°C
  • 40. Sodium sulfate in reduced melts • บำงครั้ง sulfate ทำปฏิกิริยำกับ reducing agent ในส่วนผสม (ถ่ำนหิน หรือสำรอินทรีย์ ที่มี สิ่งเจือปน เช่น คำร์บอน) ตัวอย่ำงปฏิกิริยำที่เกิดขึ้น • ดังนั้น ปฏิกิริยำของ sulfate-sulfide จะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิ 1,140-1,350°C
  • 41. Sodium sulfate in reduced melts • sulfate สำมำรถทำปฏิกิริยำได้โดยตรงกับ reducing agent ปฎิกิริยำจะเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิ 900-1,100°C • สาหรับ sulfate fining, การควบคุม redox เป็นสิ่งที่สาคัญมาก • ช่วงของ fining ที่เหมาะสมขึ้นกับผลิตภัณฑ์ของแก้ว และสามารถควบคุมสภาวะ redox ให้เหมาะสม ได้ (ด้วยการเติม oxidizing หรือ reducing agent) • สารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนอาจนาไปสู่การตกตะกอนในช่วง fining และทาให้เกิดตาหนิ (bubbles, seeds) ในผลิตภัณฑ์ที่ได้
  • 42. Arsenic oxide – As2O3 • Arsenic oxide เป็ น fining agent ที่สำคัญในช่วงอุณหภูมิ 1,400-1,500°C สำหรับกำร หลอมภำยใต้สภำวะ oxidizing มำกๆ • Arsenic oxide (As2O3) สำมำรถเติมเข้ำไปรวมกับสำร oxidant เช่น nitrate (NaNO3) เพื่อไปเปลี่ยน As3+ ให้เป็ น As5+ ซึ่งจะทำให้เกิดกำรแตกตัวเป็ น As2O5 • Arsenates (As2O5 ที่อยู่ในสภำวะ 5+) สำมำรถนำไปใช้งำนได้ • ระหว่ำงกระบวนกำรหลอมแก้วที่อุณหภูมิ 1,250°C fining จะปลดปล่อยออกซิเจนที่อยู่ในรูปแก๊ส ออกมำ แล้วกลำยเป็ น As2O3 (3+) ออกไซด์
  • 43. Antimony oxide – Sb2O5 • เช่นเดียวกับ arsenic oxide, สำมำรถนำไปรวมกับสำร oxidant ได้เช่นกัน • กลไกกำรเกิดปฏิกิริยำ fining ก็มีลักษณะคล้ำยกับของ arsenic oxide • ดังนั้น ทั้งหมดนี้จึงคล้ำยกับ arsenic fining, ซึ่งจะปลดปล่อยออกซิเจนที่อยู่ในรูปแก๊สออกมำ
  • 44. Tin oxide – SnO2 • สำหรับ แก้วที่ปรำศจำก alkali เช่น ผลิตภัณพ์แก้วสำหรับจอ LCD ซึ่งมีอุณหภูมิในกำรหลอมสูงมำก เป็ น fining agent ที่มีควำมต้องกำรมำกกว่ำ arsenic oxides หรือ antimony oxides • fining gas ที่ถูกปลดปล่อยออกมำจำกปฏิกิริยำ ต่อไปนี้ • โดยทั่วไป Nitrates ถูกใช้เพื่อรักษำสภำวะของ tin ให้อยู่ในสภำวะ 4+ ในระหว่ำงกำรหลอม จำก กำรสังเกตจะพบว่ำออกซิเจนจะถูกปลดปล่อยในช่ววงอุณหภูมิ 1,500-1,630°C
  • 45. Halogenides (Sodium Chloride, NaCl) • สาหรับแก้วบางชนิด, ซึ่งสามารถหลอมได้ที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น (เช่น borosilicate glasses), การนา sodium sulfate ไปประยุกต์ใช้งานมีผลค่อนข้างน้อย เพราะ fining gases จะ ปลดปล่อยที่อุณหภูมิเมื่อแก้วมีความหนืดจนไปถึงความหนืดมาก • แต่ในของ NaCl ที่ใช้เป็น fining agent นอกจากนี้ยังเป็นกลุ่ม halogenide salts (NaCl, NaBr, NaI, KCl, KBr, KI) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับส่วนผสม อาจจะถูกจากัดด้วย ความสามารถในการละลายได้ของเกลือในการหลอมแก้วที่ได้ • อุณหภูมิของ fining จะขึ้นกับชนิดของแก้ว และจานวน fining agent ที่เติม • สิ่งสำคัญ ในการใช้ NaCl เป็น fined ในแก้ว, การปล่อย Cl ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จากการหลอม ที่อยู่ในรูปของ HCl-gas ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาต่างๆ ตามา (การปล่อยแก๊สที่เพิ่มขึ้น, การกัดกร่อน ต่อวัสดุทนไฟหรือวัสดุที่ใช้ทาแม่พิพม์)
  • 46. ฟองแก๊สในแก้ว และจุดกำเนิดของฟองแก๊ส • ในกรณีของระดับที่ยอมรับไม่ได้สูง สาเหตุเนื่องจากเกิดฟองแก๊สขนาดใหญ่ หรือจานวนของ bubbles/seed ที่มากจนยอมรับไม่ได้ในแก้ว มันจึงเป็นสิ่งที่สาคัญเพื่อหาสาเหตุหรือจุดกาเนิดของปัญหาดังกล่าว • ข้อมูลที่สาคัญคือ: • ขนาดของฟองแก๊ส (size of bubbles), • การกระจายตัว (distribution) / ตาแหน่งของฟองแก๊ส ในผลิตภัณฑ์, • แรงดันของฟองแก๊สที่อยู่ภายใน และการแตกตัวของแก๊ส (gas composition), • ระดับพื้นฐาน และชนิดของฟองแก๊สที่พบโดยทั่วไปในผลิตภัณฑ์ • บางครั้งฟองแก๊สจะเกิดการแตกตัว (บางครั้งเกิดหยดเล็กๆ ที่หนาแน่นในผลิตภัณฑ์) ซึ่งสามารถใช้กล้อง จุลทรรศน์สังเกตได้ • ข้อมูลพื้นฐานทั้งหมดนี้เป็นการหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นและสามารถอธิบายและแก้ไขได้ (อาจเลือกการ วิเคราะห์จานวนฟองแก๊สที่มีจานวนมากอย่างเดียวก็เพียงพอ)
  • 47. Conclusions - 1/2 • ในการหลอมแก้วของอุตสาหกรรม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมากมายอาจมาจากส่วนผสมของแก้วที่ หลอม (dehydration, solid-state reactions, formation of primary molten phases, decompositions, dissolution of sand grains เป็นต้น) • การหลอมแก้ว เป็นกระบวนการที่ใช้พลังงานสูง เราจึงต้องการลดจานวนพลังงานลง • จลศาสตร์ของการหลอมแก้วเป็นการหาความสามารถในการหลอมของทราย ซึ่งต้องใช้ เวลานานในการหลอม • ขนาดของอนุภาคที่เหมาะสม, รูปแบบของการหลอมเบื้องต้น, การถ่ายเทความร้อนที่เพิ่มขึ้น, สิ่งเหล่านี้สามารถช่วยให้การหลอมแก้วเพิ่มขึ้นรวมถึงอัตราการหลอมของทรายด้วย
  • 48. Conclusions - 2/2 • ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งหมดในการหลอมแก้วจะนาไปสู่รูปแบบของแก้วที่มีฟองแก๊สจานวนมา เกิดขึ้นในการหลอม ซึ่งจะต้องมีกระบวนการกาจัดฟองแก๊ส ซึ่งเราเรียกว่า กระบวนกำร fining • กระบวนการ fining สามารถแบ่งออกเป็น primary fining (การโตของฟองแก๊ส) และ secondary fining (refining) (การกาจัดฟองแก๊สที่คงเหลือ) • ประสิทธิภาพของแก้วที่ได้จะขึ้นกับชนิดของ fining agent ที่ใช้และความหนืดของแก้ว ที่หลอมที่อุณหภูมิ fining • การเลือก fining agent จะขึ้นกับความต้องการช่วงของ fining (และขึ้นกับชนิดของ ผลิตภัณฑ์แก้ว) • Redox ที่แสดงในสูตรช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการ fining, และจะต้อง ควบคุมอย่างระมัดระวังเป็นพิเศษ
  • 49. References and further reading • Book “Introduction to Glass Science and Technology”, J. Shelby (RSC publishing, 2nd edition 2005) • Book “Fundamentals of Inorganic Glasses”, A. Varshneya (Elsevier, 1993) • Glass Technology journals (e.g. European Journal of Glass Science and Technology) • NCNG’s Glass Technology course and handbook 2013 • Proceedings of GlassTrend meetings and seminars (www.glasstrend.nl) • Proceedings of “Glass Problem Conferences” (Wiley, every year)
  • 50. Home assignment •Thank you for your attention •Questions ?