SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง PHOTORESPIRATION พืช C4 และพืช CAM
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
Q : O2 จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความสาคัญต่อพืชอย่างไร ?
A : ส่วนหนึ่งจะถูกนาไปใช้ในในการสลายสารอาหารระดับเซลล์ซึ่งเกิดขึ้นในไมโทคอน
เดรีย และอีกส่วนหนึ่งจะแข่งขันกับ CO2 ในการเข้าจับกับเอนไซม์รูบิสโก
การหายใจแสงเกิดขึ้นเมื่อ :
 พืชอยู่ในสภาวะที่มีแดด แต่ปากใบ
ปิด เพื่อลดการสูญเสียน้า ทาให้พืชขาด
แคลน CO2
 ปฏิกิริยาแสง (สร้าง ATP, NADPH)
เกิดได้ดี แต่ปฏิกิริยาการตรึง CO2 เกิด
ไม่ได้ หรือเกิดน้อย ทาให้พืชสร้างน้าตาล
ไม่ได้
 เมื่อพืชตรึง CO2 ไม่ได้อย่างต่อเนื่อง
ทาให้ขาด ADP, NADP+ เพื่อนาไปใช้ใน
ปฏิกิริยาแสงในการสร้าง ATP และ
NADPH สุดท้ายแล้วปฏิกิริยาทั้งสอง
กระบวนการจะหยุดชะงัก
PHOTORESPIRATION
PHOTORESPIRATION
กระบวนการหายใจแสง :
 การตรึง O2 โดยใช้พลังงาน ATP เพื่อทาให้เกิด ADP ซึ่งสามารถวนกลับไปใช้ใน
ปฏิกิริยาใช้แสงได้ และสร้างสารที่สามารถถูกนาไปใช้สร้างเป็นน้าตาลได้
 อาศัยการทางานของ Rubisco ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาได้ทั้ง Carboxylation
(RuBP จับกับ CO2) และ Oxygenetion (RuBP จับกับ O2)
 ตรึง O2 และปล่อย CO2 โดย O2 รวมตัวกับ RuBP ได้ 3-phosphoglycerate (c-3
อะตอม) และ 2-phosphoglycolate (c-2 อะตอม) สามารถนาไปสร้างน้าตาลได้
 2-phosphoglycolate ถูกเปลี่ยนกลับเป็น 3-phosphoglycerate ด้วย
กระบวนการทางชีวเคมี ใน peroxisome และ mitochondria
 ปกติอัตราการเกิดปฏิกิริยาการตรึง CO2 สูงกว่าการตรึง O2 มาก จึงทาให้
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงดาเนินได้ทั้งที่มีความเข้มข้นของ CO2 ต่ากว่า O2
PHOTORESPIRATION
 ช่วยป้องกันความเสียหายให้แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง
 กรณีที่ : การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดได้น้อย เช่น แสงแดดจัด อากาศร้อน แห้งแล้ง พืชลด
การสูญเสียน้าด้วยการปิดปากใบ ทาให้ CO2 จากอากาศผ่านเข้ามาทางปากใบได้น้อย
O2 ที่เกิดจากปฏิกิริยาแสงไม่สามารถปล่อยออกสู่บรรยากาศได้ ก็จะสะสมใน
Chloroplast มากขึ้น เมื่อการตรึง CO2 เกิดได้น้อย พืชจะเกิด Photorespiration เพื่อ
ตรึง O2 ที่สะสมค้างอยู่แทน สารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นจะถูกขนส่งออกจากคลอโรพลาสต์และ
ถูกนาไปสลายโดย mitochondria และ peroxisome ซึ่งจะได้ CO2 และถูกนาไปใช้
สร้างน้าตาลต่อไป
ข้อดีของการเกิด PHOTORESPIRATION
PHOTORESPIRATION
Chloroplast peroxisome mitochondria
 กระบวนการ Photorespiration เกี่ยวข้องกับ organelle 3 ชนิด ได้แก่
Chloroplast , Peroxisome และ Mitochondria
 ปฏิกิริยาสาคัญ 9 ปฏิกิริยา ดังนี้
 ปฏิกิริยาที่ 1 : สาร RuBP รวมตัวกับ O2 โดยมีเอนไซม์ Rubisco เป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา เกิดสารผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ Phosphoglycerate : PGA ซึ่งเป็น
สารประกอบที่มี C-3 อะตอม และ Phosphoglycolate : PG ซึ่งเป็นสารประกอบ
ที่ C-2 อะตอม โดย PGA เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยา Carboxylation จะเข้าสู่
ปฏิกิริยา reduction ในวัฏจักรคัลวิน-เบนสัน
Rubisco
2RuBP + 2O2 2PGA + 2PG
PHOTORESPIRATION
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 2 : สาร PG ถูกดึงหมู่ฟอสเฟตออกโดยการเร่งของเอนไซม์ PGP
(Phosphoglycolate phosphatase) ได้เป็น Glycolate แล้วลาเลียงออกจาก
Chloroplast ไปยัง peroxisome
PGP
2PG 2Glycolate + 2Pi
 ปฏิกิริยาที่ 3 : สาร Glycolate รวมตัวกับ O2 โดยมีเอนไซม์ GOX (Glycolate
oxidase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้สารผลิตภัณฑ์คือ Glyoxylate และมีการสร้าง
H2O2 (ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) ร่วมด้วย ซึ่งสารนี้เป็นพิษต่อเซลล์ จึงถูกสลาย
ด้วย Catalase ให้เป็น H2O และ O2 ใน peroxisome
GOX
2Glycolate + 2O2 2Glyoxylate + 2H2O2
PHOTORESPIRATION
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 4 : สาร Glyoxylate 1 โมเลกุล รวมตัวกับ Glutamate โดยมี
เอนไซม์ GGT (Glutamate glyoxylate aminotransferase) เป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยาได้สารผลิตภัณฑ์เป็นกรดอะมิโน Glycine แล้วลาเลียงจาก
peroxisome ไปยัง mitochondria
GGT
Glyoxylate + Glutamate Glycine + αKetoglutarate
 ปฏิกิริยาที่ 5 : สาร Glyoxylate 1 โมเลกุล รวมตัวกับแอมโมเนีย (NH3) โดยมี
เอนไซม์ SGT (Serine glyoxylate transaminase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้สาร
ผลิตภัณฑ์คือ กรดอะมิโน Glycine แล้วลาเลียงจาก peroxisome ไปยัง
mitochondria
SGT
Glyoxylate + NH3 Glycine
PHOTORESPIRATION
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 6 : สาร Glycine ที่ได้จากปฏิกิริยาที่ 4 ถูกเร่งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ GDC
(Glycine decarboxylase complex) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน
1 อะตอม และปลดปล่อย CO2 และ NH3 จากนั้นสารประกอบที่มีคาร์บอน 1 อะตอม ถูก
เร่งให้รวมตัวกับไกลซีนที่ได้จากปฏิกิริยาที่ 5 โดยเอนไซม์ SHMT (Serine
hydroxymethyl transferase) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นกรดอะมิโนที่มีคาร์บอน 3 อะตอม
คือ Serine
GDC
Glycine + NAD+ สารประกอบที่มี C-3 อะตอม + NADH + CO2 + NH3
SHMT
สารประกอบที่มี C-1 อะตอม + Glycine Serine
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 7 : สาร Serine ถูกลาเลียงออกจาก mitochondria โดยมีเอนไซม์ SGT
(Serine glycoxylase transaminase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้สารผลิตภัณฑ์ คือ
Hydroxypyruvate และปลดปล่อยสาร NH3 ออกเพื่อนากลับไปใช้ในปฏิกิริยาที่ 5 อีก
ครั้ง
SGT
Serine Hydroxypyruvate + NH3
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 8 : สาร Hydroxypyruvate ถูกเร่งด้วยเอนไซม์ HPR (Hydroxypyruvate
reductase) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Glycerate
HPR
Hydroxypyruvate Glycerate
PHOTORESPIRATION
 ปฏิกิริยาที่ 9 : สาร Glycerate ถูกลาเลียงออกจาก peroxisome ไปยัง Chlorolast
และถูกเร่งด้วยเอนไซม์ GLYK (Glycerate kinase) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็น
Phosphoglycerate : PGA และเข้าสู่ปฏิกิริยา reduction ในวัฏจักรคัลวิน-เบนสัน
ต่อไป
GLYK
Glycerate + ATP PGA + ADP
โครงสร้างของใบพืช C3 และพืช C4
ใบพืช C3 ใบพืช C4
 โครงสร้างภายในของใบพืช C3 : มีเซลล์ในชั้น mesophyll 2 ชนิด คือ palisade
mesophyll และ spongy mesophyll และพบ chloroplast ใน mesophyll ทั้ง
2 ชนิดอย่างชัดเจน และ bundle sheath อาจมีหรือไม่มีก็ได้ หากมี จะไม่พบ
chloroplast ใน bundle sheath
 โครงสร้างภายในของใบพืช C4 : เซลล์ mesophyll ติดกับ bundle sheath มี
plasmodesmata เชื่อมระหว่างเซลล์ทั้ง 2 พบ chloroplast ในเซลล์ mesophyll
และ bundle sheath อย่างชัดเจน
โครงสร้างของใบพืช C3 และพืช C4
 พืช C3 เช่น ข้าวเจ้า ข้าว
สาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าว
เหนียว ถั่ว และพืชในเขต
อบอุ่นทั่วๆ ไป
 มีการตรึง CO2 ด้วยวัฏ
จักรคัลวินเพียงอย่างเดียว
 สารตัวแรกที่เสถียรที่เกิด
จากการตรึง CO2 คือ
PGA เป็นสารที่มี C-3
อะตอม จึงเรียกพืชกลุ่มนี้
ว่า พืช C3
 การตรึง CO2 ด้วยวัฏจักร
คัลวินของพืช C3 เกิดที่
mesophyll
 พบ photorespiration
การตรึง CO2 ของ พืช C3
 ข้าวโพด หญ้าคา หญ้าขน ข้าวฟ่าง อ้อย บานไม่รู้โรย ผักโขมจีน หงอนไก่ ฯลฯ
 โครงสร้างภายในใบพืช C4 ประกอบด้วย Epidermis cell, Mesophyll cell และ
bundle sheath ที่มี Chloroplast ซึ่งส่วนของ Bundle sheath เป็นส่วนที่อยู่
ล้อมรอบมัดท่อลาเลียง เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า Kranz anatomy
การตรึง CO2 ของ พืช C4
การตรึง CO2 ของ พืช C4
 พืช C4 มีกลไกทาให้ความเข้มข้นของ CO2 ใน
เซลล์สูง จึงทาให้พืช C4 ไม่จาเป็นต้องเกิด
กระบวนการหายใจแสง เพราะไม่ขาดแคลน
CO2
 พืช C4 มีการตรึง CO2 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกใน
mesophyll ครั้งที่ 2 ใน bundle sheath
 CO2 ที่ละลายอยู่ในไซโทพลาสซึม จะอยู่ในรูปของ HCO3
- โดยสามารถรวมกับ
Phosphoenol pyruvate (PEP/ c-3 อะตอม) จากการทางานของเอนไซม์ PEP
carboxylase ซึ่งอยู่บริเวณ cytosol ของ mesophyll cell เกิดเป็นสาร
Oxaloacetate (OAA) เป็นสารที่มี C-4 อะตอม จึงเรียกพืชกลุ่มนี้ว่า พืช C4
 OAA รับ e- จาก NADPH และเปลี่ยนเป็น Malate และเคลื่อนย้ายจาก Mesophyll
cell เข้าสู่ Bundle sheath cell โดยแพร่ผ่านทาง Plasmodesmata
 Malate จะสลายตัวเป็น Pyruvate (c-3 อะตอม) และ CO2 ที่จะถูกตรึงเข้าสู่ Calvin
cycle ต่อไป เป็นสาเหตุให้ความเข้มข้นของ CO2 สูง ส่วน Pyruvate จะถูกส่งกลับไป
ที่ mesophyll cell เพื่อเปลี่ยนเป็น PEP สาหรับตรึง CO2 ครั้งต่อไป
กลไกการตรึง CO2 ของ พืช C4 (HATCH SLACK PATHWAY)
เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างพืช C3 และ C4
พืช C3 พืช C4
1. Palisade mesophyll เรียงเป็นแถวอยู่
ใต้ชั้น epidermis ทางด้านหลังใบ และ
Bundle sheath cell ไม่มี Chloroplast
1. Palisade mesophyll อยู่ล้อมรอบมัด
ท่อลาเลียงในใบ และ Bundle sheath
cell มี Chloroplast
2. การตรึง CO2 เกิดขึ้นที่ Mesophyll โดย
RuBP ใน Calvin cycle
2. การตรึง CO2 เกิดขึ้นที่ Mesophyll โดย
PEP ใน Hatch Slack Pathway และเกิดที่
Bundle sheath cell โดย RuBP ใน
Calvin cycle
3. เอนไซม์ที่ใช้ คือ Rubisco 3. เอนไซม์ที่ใช้ 1. PEP carboxylase 2.
Rubisco
4. สารโมเลกุลแรกที่เกิดขึ้นคือ PGA 4. สารโมเลกุลแรกที่เกิดขึ้นคือ OAA
5. พบในพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป 5. อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง บานไม่รู้โรย
 Crassulacean acid Metabolism plant : เมแทบอลิซึมของกรดอินทรีย์ในพืชแค
รสซูลาซี
 กระบองเพชร ว่านหางจระเข้ โคมญี่ปุ่น กล้วยไม้ กุหลาบหิน ฯลฯ
 พบในที่แห้งแล้งมาก
 ปากใบปิดในเวลากลางวัน เพื่อลดการคายน้า และเปิดในเวลากลางคืนเพื่อตรึง CO2
และ สะสมไว้ในแวคิวโอล
พืช CAM
การตรึง CO2 ของ พืช CAM
 เวลากลางคืน : T ต่า ความชื้นสูง ปากใบเปิด ก๊าช CO2 เข้าทางรูปากใบในรูปของ
HCO3
- ไปยังเซลล์ mesophyll สารประกอบ PEP จะตรึง CO2 ไว้โดยเอนไซม์ PEP
carboxylase ได้ oxaloacetate (OAA) ซึ่งเป็นสารตัวกลางที่ไม่เสถียร OAA จึง
เปลี่ยนเป็นสารที่มี C-4 อะตอม คือ malate หรือกรดมาลิก โดยอาศัยการทางาน
ของ malic dehydrogenase และถูกลาเลียงไปเกิดไว้ในแวคิวโอล
 เวลากลางวัน : มีแสง ปากใบปิด เพื่อลดการสูญเสียน้า malate จะถูกแพร่ออกมา
จากแวคิวโอลและเปลี่ยนเป็น pyruvate และ CO2 จากนั้น CO2 จะถูกลาเลียงไปยัง
Chloroplast เพื่อเข้าสู่วัฏจักรคัลวิน และเนื่องจากปากใบปิด CO2 แพร่ออกจาก
ปากใบได้ยาก ความเข้มของ CO2 จึงสูง ทาให้อัตราโฟโตเรสไพเรชันลดลงมาก ส่วน
pyruvate จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็น PEP โดยใช้พลังงาน ATP จากปฏิกิริยาแสง เพื่อ
ทาหน้าที่ตรึง HCO3
- อีก
การตรึง CO2 ของ พืช CAM
ความแตกต่างของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
รายละเอียด พืช C3 พืช C4 พืช Cam
โครงสร้างของ
mesophyll
2 ชั้น : Palisade
Spongy
ไม่แยกเป็นชั้น มี แวคิวโอลใหญ่
Chloroplast ใน bundle
sheath
ไม่พบ พบ ไม่พบ
photorespiration สูง ต่าหรือแทบไม่เกิดเลย
จานวนครั้งการตรึง CO2 1 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง
สารตั้งต้น RuBP PEP และ RuBP PEP และ RuBP
เอนไซม์ Rubisco ครั้งที่ 1 : PEP carboxylase
ครั้งที่ 2 : Rubisco
สารตัวแรกที่เสถียร PGA (C-3 อะตอม) OAA (C-4 อะตอม) OAA (C-4 อะตอม)
บริเวณที่เกิดการตรึง CO2 mesophyll 1. mesophyll
2. Bundle sheath
mesophyll
ช่วงการตรึง CO2 กลางวัน กลางวัน กลางคืน
ความแตกต่างของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
รายละเอียด พืช C3 พืช C4 พืช Cam
เวลาที่สังเคราะห์แสง กลางวัน กลางวัน กลางวัน
การสังเคราะห์แสง ต่า ดีที่สุด ดี
ตัวอย่างพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าว
บาร์เลย์ ข้าวเหนียว
ข้าวโพด หญ้า ข้าวฟ่าง
อ้อย บานไม่รู้โรย ยัก
โขมจีน
กระบองเพชร ว่าน
หางจระเข้ กุหลาบ
หิน กล้วยไม้
ศรนารายณ์
ความแตกต่างของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
1. ความเข้มของแสง
2. คาร์บอนไดออกไซด์
3. อุณหภูมิ
4. อายุใบ
5. ปริมาณน้าที่พืชได้รับ
6. ธาตุอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
 ความเข้มแสงที่เพิ่มสูงขึ้นมีผลทาให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพิ่มสูงขึ้น
1. ความเข้มของแสง
 Light Compensation point : ค่า
ความเข้มแสง ทาให้อัตราการตรึง CO2
สุทธิเป็นศูนย์ คือ จุดที่ปริมาณ CO2 ที่
ตรึงเข้าไปใช้เพื่อสังเคราะห์แสงเท่ากับ
CO2 ที่ปล่อยออกจากการหายใจ
 Light Saturation point : จุดอิ่มแสง
คือ ไม่ว่าจะเพิ่มความเข้มแสงขึ้นไป
มากกว่าจุดนี้เท่าใดก็ตาม อัตราการ
สังเคราะห์แสงก็จะคงที่ และมีแนวโน้ม
ลดลง เนื่องจากใบอาจไหม้ เอนไซม์ในใบ
ไม่สามารถทางานได้
กราฟระหว่างความเข้มแสงกับปริมาณ CO2
 Light Saturation point (จุดอิ่ม
แสง) : ของพืชชอบแดด สูงกว่าพืช
ชอบร่มเงา
 Light Compensation point :
ของพืชชอบแดด สูงกว่าพืชชอบร่ม
เงา เพราะ เมื่อมันมีการหายใจมาก
ทาให้ปล่อย CO2 ได้มาก ส่งผลให้
ต้องตรึง CO2 มากด้วย
กราฟเปรียบเทียบระหว่างพืชชอบแดดและพืชชอบร่มเงา
 ในสภาวะที่มีความเข้มข้นของ CO2
และ O2 ที่ระดับปกติ อุณหภูมิ
พอเหมาะ และความเข้มแสงสูงจนถึง
จุดอิ่มแสง
 พืชมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง C4 >
C3 > CAM
 พืช C4 สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด
photorespiration ได้ดีกว่าพืช C3
ส่วนพืช CAM จะปิดปากใบตอน
กลางวันหลีกเลี่ยงแสง
เปรียบเทียบปริมาณความเข้มแสงต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช C3, C4 และ CAM
 วัดอัตราการสังเคราะห์แสงได้จาก
ปริมาณการตรึง CO2
 CO2 Compensation point : เป็นจุด
ที่ปริมาณ CO2 ในอากาศ ทาให้ค่าอัตรา
การตรึง CO2 สุทธิเป็นศูนย์
 CO2 Saturation point : เป็นจุดอิ่ม
CO2 คือ ไม่ว่าจะเพิ่มปริมาณ CO2 ขึ้น
ไปมากกว่าจุดนี้เท่าใดก็ตาม อัตราการ
สังเคราะห์แสงก็ไม่เพิ่มขึ้นอีก
2. คาร์บอนไดออกไซด์
 CO2 Compensation point และ CO2
Saturation point ของพืช C3 สูงกว่า
พืช C4 มาก เนื่องจากปริมาณ CO2 ใน
อากาศถึงแม้จะมีปริมาณน้อยมากเท่าใดก็
ตาม แต่พืช C4 มีการปรับตัวสามารถตรึง
CO2 ในอากาศได้ถึง 2 ครั้ง มีเอนไซม์จับ
ที่ดีกว่า พืช C3
เปรียบเทียบปริมาณก๊าช CO2 ต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 และ C4
Light Compensation point และ Light
Saturation point ของพืช C4 สูงกว่าพืช
C3 แต่ CO2 Compensation point และ
CO2 Saturation pointของพืช C4 ต่ากว่า
พืช C3
 อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพิ่มขึ้น
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น (0-35 °C หรือ 0-40 °C)
ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้ อัตราการสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืชลดลง เรียกว่า อุณหภูมินั้นได้
เกินค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม (Optimum
Temperature)
 T สูงหรือต่ากว่า Optimum Temperture
ทาให้สมบัติการเป็นเยื่อเลือกผ่าน (semi
permeability) ของเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์
ต่างๆ ที่จาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงสูญเสียความสามารถลง
 T สูงจะทาให้เอนไซม์ในวัฏจักรคัลวินเสีย
สภาพ
 อุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช C3 จะลดลง เนื่องจากการเพิ่มขึ้น
ของการหายใจแสง (Photorespiration)
3. อุณหภูมิ
 ใบพืชที่อ่อนหรือแก่เกินไปจะมีความสามารถในการสังเคราะห์ด้วยแสงต่ากว่าใบพืชที่
เจริญเติบโตเต็มที่เนื่องจากใบอ่อน คลอโรพลาสต์ยังไม่เจริญเต็มที่ ส่วนใบแก่จะมีการ
สลายตัวของกรานุมและคลอโรฟิลล์
4. อายุใบ
 ขาดน้า (แห้งแล้ง): อัตราการสังเคราะห์แสงลดลง เนื่องจากปากใบของพืชจะปิด
เพราะต้องลดการคายน้า ซึ่งทาให้ก๊าช CO2 แพร่เข้าสู่ปากใบได้ยาก
 น้าเกิน (ดินชุ่มน้า/น้าท่วม): รากพืชขาด O2 ที่ใช้ในการหายใจซึ่งมีผลกระทบต่ออัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสง
5. ปริมาณน้าที่พืชได้รับ
 แมกนีเซียม (Mg) + ไนโตรเจน (N): องค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ ถ้าขาดทาให้พืชเกิด
อาการใบเหลืองซีด เป็นอาการใบขาดคลอโรฟิลล์ เรียกว่า คลอโรซิส (Chlorosis)
 เหล็ก (Fe): จาเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และเป็นองค์ประกอบของไซโทโครมซึ่งเป็น
ตัวถ่ายทอด e- ในระบบ
 แมงกานีส (Mn) + คลอรีน (Cl): จาเป็นต่อกระบวนการแตกตัวของน้า (Photolysis)
ในขั้นตอนสังเคราะห์ด้วยแสง
6. ธาตุอาหาร
 1.การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
 2.การควบคุมการรับแสงของใบพืช
 3.การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง
 4.การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันเพื่อรับแสงของพืชในบริเวณเดียวกัน
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 พืชในป่าเขตร้อนมีชั้นเอพิเดอร์มิส ทาหน้าที่คล้ายเลนส์รวมแสง ทาให้แสง
ส่องไปถึงคลอโรพลาสต์
 รอยต่อระหว่างอากาศ และน้าที่เคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้อนไปได้หลาย
ทิศทางและเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ้น
 กรณีมีแสงมากใบพืชจะมีโครงสร้างพิเศษ เช่น มีขน และชั้นคิวทิเคิลที่ผิวใบ
เพื่อช่วยในการสะท้อนแสงและลดการดูดซับแสงของใบ
การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
 การเคลื่อนที่ของคลอโรพลาสต์ในเซลล์ และการเคลื่อนไหวของใบพืช
 พืชหลายชนิดสามารถปรับตาแหน่งของแผ่นใบเพื่อลดการรับแสงอาทิตย์
โดยตรงทาให้การรับแสง และความร้อนลดลง
การควบคุมการรับแสงของพืช
การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง
การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันเพื่อรับแสงของพืชในบริเวณเดียวกัน
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 

Similar to การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)

กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงdnavaroj
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชPawida Chumpurat
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช Jinnipa Taman
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
appseper
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 

Similar to การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t) (20)

กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืช
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2
 

More from Thitaree Samphao

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
Thitaree Samphao
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
Thitaree Samphao
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 

More from Thitaree Samphao (8)

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)

  • 1. เรื่อง PHOTORESPIRATION พืช C4 และพืช CAM รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 2. Q : O2 จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความสาคัญต่อพืชอย่างไร ? A : ส่วนหนึ่งจะถูกนาไปใช้ในในการสลายสารอาหารระดับเซลล์ซึ่งเกิดขึ้นในไมโทคอน เดรีย และอีกส่วนหนึ่งจะแข่งขันกับ CO2 ในการเข้าจับกับเอนไซม์รูบิสโก
  • 3. การหายใจแสงเกิดขึ้นเมื่อ :  พืชอยู่ในสภาวะที่มีแดด แต่ปากใบ ปิด เพื่อลดการสูญเสียน้า ทาให้พืชขาด แคลน CO2  ปฏิกิริยาแสง (สร้าง ATP, NADPH) เกิดได้ดี แต่ปฏิกิริยาการตรึง CO2 เกิด ไม่ได้ หรือเกิดน้อย ทาให้พืชสร้างน้าตาล ไม่ได้  เมื่อพืชตรึง CO2 ไม่ได้อย่างต่อเนื่อง ทาให้ขาด ADP, NADP+ เพื่อนาไปใช้ใน ปฏิกิริยาแสงในการสร้าง ATP และ NADPH สุดท้ายแล้วปฏิกิริยาทั้งสอง กระบวนการจะหยุดชะงัก PHOTORESPIRATION
  • 5. กระบวนการหายใจแสง :  การตรึง O2 โดยใช้พลังงาน ATP เพื่อทาให้เกิด ADP ซึ่งสามารถวนกลับไปใช้ใน ปฏิกิริยาใช้แสงได้ และสร้างสารที่สามารถถูกนาไปใช้สร้างเป็นน้าตาลได้  อาศัยการทางานของ Rubisco ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาได้ทั้ง Carboxylation (RuBP จับกับ CO2) และ Oxygenetion (RuBP จับกับ O2)  ตรึง O2 และปล่อย CO2 โดย O2 รวมตัวกับ RuBP ได้ 3-phosphoglycerate (c-3 อะตอม) และ 2-phosphoglycolate (c-2 อะตอม) สามารถนาไปสร้างน้าตาลได้  2-phosphoglycolate ถูกเปลี่ยนกลับเป็น 3-phosphoglycerate ด้วย กระบวนการทางชีวเคมี ใน peroxisome และ mitochondria  ปกติอัตราการเกิดปฏิกิริยาการตรึง CO2 สูงกว่าการตรึง O2 มาก จึงทาให้ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงดาเนินได้ทั้งที่มีความเข้มข้นของ CO2 ต่ากว่า O2 PHOTORESPIRATION
  • 6.  ช่วยป้องกันความเสียหายให้แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง  กรณีที่ : การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดได้น้อย เช่น แสงแดดจัด อากาศร้อน แห้งแล้ง พืชลด การสูญเสียน้าด้วยการปิดปากใบ ทาให้ CO2 จากอากาศผ่านเข้ามาทางปากใบได้น้อย O2 ที่เกิดจากปฏิกิริยาแสงไม่สามารถปล่อยออกสู่บรรยากาศได้ ก็จะสะสมใน Chloroplast มากขึ้น เมื่อการตรึง CO2 เกิดได้น้อย พืชจะเกิด Photorespiration เพื่อ ตรึง O2 ที่สะสมค้างอยู่แทน สารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นจะถูกขนส่งออกจากคลอโรพลาสต์และ ถูกนาไปสลายโดย mitochondria และ peroxisome ซึ่งจะได้ CO2 และถูกนาไปใช้ สร้างน้าตาลต่อไป ข้อดีของการเกิด PHOTORESPIRATION
  • 8.  กระบวนการ Photorespiration เกี่ยวข้องกับ organelle 3 ชนิด ได้แก่ Chloroplast , Peroxisome และ Mitochondria  ปฏิกิริยาสาคัญ 9 ปฏิกิริยา ดังนี้  ปฏิกิริยาที่ 1 : สาร RuBP รวมตัวกับ O2 โดยมีเอนไซม์ Rubisco เป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยา เกิดสารผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ Phosphoglycerate : PGA ซึ่งเป็น สารประกอบที่มี C-3 อะตอม และ Phosphoglycolate : PG ซึ่งเป็นสารประกอบ ที่ C-2 อะตอม โดย PGA เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยา Carboxylation จะเข้าสู่ ปฏิกิริยา reduction ในวัฏจักรคัลวิน-เบนสัน Rubisco 2RuBP + 2O2 2PGA + 2PG PHOTORESPIRATION
  • 9. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 2 : สาร PG ถูกดึงหมู่ฟอสเฟตออกโดยการเร่งของเอนไซม์ PGP (Phosphoglycolate phosphatase) ได้เป็น Glycolate แล้วลาเลียงออกจาก Chloroplast ไปยัง peroxisome PGP 2PG 2Glycolate + 2Pi
  • 10.  ปฏิกิริยาที่ 3 : สาร Glycolate รวมตัวกับ O2 โดยมีเอนไซม์ GOX (Glycolate oxidase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้สารผลิตภัณฑ์คือ Glyoxylate และมีการสร้าง H2O2 (ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) ร่วมด้วย ซึ่งสารนี้เป็นพิษต่อเซลล์ จึงถูกสลาย ด้วย Catalase ให้เป็น H2O และ O2 ใน peroxisome GOX 2Glycolate + 2O2 2Glyoxylate + 2H2O2 PHOTORESPIRATION
  • 11. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 4 : สาร Glyoxylate 1 โมเลกุล รวมตัวกับ Glutamate โดยมี เอนไซม์ GGT (Glutamate glyoxylate aminotransferase) เป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยาได้สารผลิตภัณฑ์เป็นกรดอะมิโน Glycine แล้วลาเลียงจาก peroxisome ไปยัง mitochondria GGT Glyoxylate + Glutamate Glycine + αKetoglutarate
  • 12.  ปฏิกิริยาที่ 5 : สาร Glyoxylate 1 โมเลกุล รวมตัวกับแอมโมเนีย (NH3) โดยมี เอนไซม์ SGT (Serine glyoxylate transaminase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้สาร ผลิตภัณฑ์คือ กรดอะมิโน Glycine แล้วลาเลียงจาก peroxisome ไปยัง mitochondria SGT Glyoxylate + NH3 Glycine PHOTORESPIRATION
  • 13. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 6 : สาร Glycine ที่ได้จากปฏิกิริยาที่ 4 ถูกเร่งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ GDC (Glycine decarboxylase complex) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 1 อะตอม และปลดปล่อย CO2 และ NH3 จากนั้นสารประกอบที่มีคาร์บอน 1 อะตอม ถูก เร่งให้รวมตัวกับไกลซีนที่ได้จากปฏิกิริยาที่ 5 โดยเอนไซม์ SHMT (Serine hydroxymethyl transferase) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นกรดอะมิโนที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ Serine GDC Glycine + NAD+ สารประกอบที่มี C-3 อะตอม + NADH + CO2 + NH3 SHMT สารประกอบที่มี C-1 อะตอม + Glycine Serine
  • 14. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 7 : สาร Serine ถูกลาเลียงออกจาก mitochondria โดยมีเอนไซม์ SGT (Serine glycoxylase transaminase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้สารผลิตภัณฑ์ คือ Hydroxypyruvate และปลดปล่อยสาร NH3 ออกเพื่อนากลับไปใช้ในปฏิกิริยาที่ 5 อีก ครั้ง SGT Serine Hydroxypyruvate + NH3
  • 15. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 8 : สาร Hydroxypyruvate ถูกเร่งด้วยเอนไซม์ HPR (Hydroxypyruvate reductase) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Glycerate HPR Hydroxypyruvate Glycerate
  • 16. PHOTORESPIRATION  ปฏิกิริยาที่ 9 : สาร Glycerate ถูกลาเลียงออกจาก peroxisome ไปยัง Chlorolast และถูกเร่งด้วยเอนไซม์ GLYK (Glycerate kinase) ได้สารผลิตภัณฑ์เป็น Phosphoglycerate : PGA และเข้าสู่ปฏิกิริยา reduction ในวัฏจักรคัลวิน-เบนสัน ต่อไป GLYK Glycerate + ATP PGA + ADP
  • 18.  โครงสร้างภายในของใบพืช C3 : มีเซลล์ในชั้น mesophyll 2 ชนิด คือ palisade mesophyll และ spongy mesophyll และพบ chloroplast ใน mesophyll ทั้ง 2 ชนิดอย่างชัดเจน และ bundle sheath อาจมีหรือไม่มีก็ได้ หากมี จะไม่พบ chloroplast ใน bundle sheath  โครงสร้างภายในของใบพืช C4 : เซลล์ mesophyll ติดกับ bundle sheath มี plasmodesmata เชื่อมระหว่างเซลล์ทั้ง 2 พบ chloroplast ในเซลล์ mesophyll และ bundle sheath อย่างชัดเจน โครงสร้างของใบพืช C3 และพืช C4
  • 19.  พืช C3 เช่น ข้าวเจ้า ข้าว สาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าว เหนียว ถั่ว และพืชในเขต อบอุ่นทั่วๆ ไป  มีการตรึง CO2 ด้วยวัฏ จักรคัลวินเพียงอย่างเดียว  สารตัวแรกที่เสถียรที่เกิด จากการตรึง CO2 คือ PGA เป็นสารที่มี C-3 อะตอม จึงเรียกพืชกลุ่มนี้ ว่า พืช C3  การตรึง CO2 ด้วยวัฏจักร คัลวินของพืช C3 เกิดที่ mesophyll  พบ photorespiration การตรึง CO2 ของ พืช C3
  • 20.  ข้าวโพด หญ้าคา หญ้าขน ข้าวฟ่าง อ้อย บานไม่รู้โรย ผักโขมจีน หงอนไก่ ฯลฯ  โครงสร้างภายในใบพืช C4 ประกอบด้วย Epidermis cell, Mesophyll cell และ bundle sheath ที่มี Chloroplast ซึ่งส่วนของ Bundle sheath เป็นส่วนที่อยู่ ล้อมรอบมัดท่อลาเลียง เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า Kranz anatomy การตรึง CO2 ของ พืช C4
  • 21. การตรึง CO2 ของ พืช C4  พืช C4 มีกลไกทาให้ความเข้มข้นของ CO2 ใน เซลล์สูง จึงทาให้พืช C4 ไม่จาเป็นต้องเกิด กระบวนการหายใจแสง เพราะไม่ขาดแคลน CO2  พืช C4 มีการตรึง CO2 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกใน mesophyll ครั้งที่ 2 ใน bundle sheath
  • 22.  CO2 ที่ละลายอยู่ในไซโทพลาสซึม จะอยู่ในรูปของ HCO3 - โดยสามารถรวมกับ Phosphoenol pyruvate (PEP/ c-3 อะตอม) จากการทางานของเอนไซม์ PEP carboxylase ซึ่งอยู่บริเวณ cytosol ของ mesophyll cell เกิดเป็นสาร Oxaloacetate (OAA) เป็นสารที่มี C-4 อะตอม จึงเรียกพืชกลุ่มนี้ว่า พืช C4  OAA รับ e- จาก NADPH และเปลี่ยนเป็น Malate และเคลื่อนย้ายจาก Mesophyll cell เข้าสู่ Bundle sheath cell โดยแพร่ผ่านทาง Plasmodesmata  Malate จะสลายตัวเป็น Pyruvate (c-3 อะตอม) และ CO2 ที่จะถูกตรึงเข้าสู่ Calvin cycle ต่อไป เป็นสาเหตุให้ความเข้มข้นของ CO2 สูง ส่วน Pyruvate จะถูกส่งกลับไป ที่ mesophyll cell เพื่อเปลี่ยนเป็น PEP สาหรับตรึง CO2 ครั้งต่อไป กลไกการตรึง CO2 ของ พืช C4 (HATCH SLACK PATHWAY)
  • 23. เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างพืช C3 และ C4 พืช C3 พืช C4 1. Palisade mesophyll เรียงเป็นแถวอยู่ ใต้ชั้น epidermis ทางด้านหลังใบ และ Bundle sheath cell ไม่มี Chloroplast 1. Palisade mesophyll อยู่ล้อมรอบมัด ท่อลาเลียงในใบ และ Bundle sheath cell มี Chloroplast 2. การตรึง CO2 เกิดขึ้นที่ Mesophyll โดย RuBP ใน Calvin cycle 2. การตรึง CO2 เกิดขึ้นที่ Mesophyll โดย PEP ใน Hatch Slack Pathway และเกิดที่ Bundle sheath cell โดย RuBP ใน Calvin cycle 3. เอนไซม์ที่ใช้ คือ Rubisco 3. เอนไซม์ที่ใช้ 1. PEP carboxylase 2. Rubisco 4. สารโมเลกุลแรกที่เกิดขึ้นคือ PGA 4. สารโมเลกุลแรกที่เกิดขึ้นคือ OAA 5. พบในพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป 5. อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง บานไม่รู้โรย
  • 24.  Crassulacean acid Metabolism plant : เมแทบอลิซึมของกรดอินทรีย์ในพืชแค รสซูลาซี  กระบองเพชร ว่านหางจระเข้ โคมญี่ปุ่น กล้วยไม้ กุหลาบหิน ฯลฯ  พบในที่แห้งแล้งมาก  ปากใบปิดในเวลากลางวัน เพื่อลดการคายน้า และเปิดในเวลากลางคืนเพื่อตรึง CO2 และ สะสมไว้ในแวคิวโอล พืช CAM
  • 26.  เวลากลางคืน : T ต่า ความชื้นสูง ปากใบเปิด ก๊าช CO2 เข้าทางรูปากใบในรูปของ HCO3 - ไปยังเซลล์ mesophyll สารประกอบ PEP จะตรึง CO2 ไว้โดยเอนไซม์ PEP carboxylase ได้ oxaloacetate (OAA) ซึ่งเป็นสารตัวกลางที่ไม่เสถียร OAA จึง เปลี่ยนเป็นสารที่มี C-4 อะตอม คือ malate หรือกรดมาลิก โดยอาศัยการทางาน ของ malic dehydrogenase และถูกลาเลียงไปเกิดไว้ในแวคิวโอล  เวลากลางวัน : มีแสง ปากใบปิด เพื่อลดการสูญเสียน้า malate จะถูกแพร่ออกมา จากแวคิวโอลและเปลี่ยนเป็น pyruvate และ CO2 จากนั้น CO2 จะถูกลาเลียงไปยัง Chloroplast เพื่อเข้าสู่วัฏจักรคัลวิน และเนื่องจากปากใบปิด CO2 แพร่ออกจาก ปากใบได้ยาก ความเข้มของ CO2 จึงสูง ทาให้อัตราโฟโตเรสไพเรชันลดลงมาก ส่วน pyruvate จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็น PEP โดยใช้พลังงาน ATP จากปฏิกิริยาแสง เพื่อ ทาหน้าที่ตรึง HCO3 - อีก การตรึง CO2 ของ พืช CAM
  • 27. ความแตกต่างของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM รายละเอียด พืช C3 พืช C4 พืช Cam โครงสร้างของ mesophyll 2 ชั้น : Palisade Spongy ไม่แยกเป็นชั้น มี แวคิวโอลใหญ่ Chloroplast ใน bundle sheath ไม่พบ พบ ไม่พบ photorespiration สูง ต่าหรือแทบไม่เกิดเลย จานวนครั้งการตรึง CO2 1 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง สารตั้งต้น RuBP PEP และ RuBP PEP และ RuBP เอนไซม์ Rubisco ครั้งที่ 1 : PEP carboxylase ครั้งที่ 2 : Rubisco สารตัวแรกที่เสถียร PGA (C-3 อะตอม) OAA (C-4 อะตอม) OAA (C-4 อะตอม) บริเวณที่เกิดการตรึง CO2 mesophyll 1. mesophyll 2. Bundle sheath mesophyll ช่วงการตรึง CO2 กลางวัน กลางวัน กลางคืน
  • 28. ความแตกต่างของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM รายละเอียด พืช C3 พืช C4 พืช Cam เวลาที่สังเคราะห์แสง กลางวัน กลางวัน กลางวัน การสังเคราะห์แสง ต่า ดีที่สุด ดี ตัวอย่างพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าว บาร์เลย์ ข้าวเหนียว ข้าวโพด หญ้า ข้าวฟ่าง อ้อย บานไม่รู้โรย ยัก โขมจีน กระบองเพชร ว่าน หางจระเข้ กุหลาบ หิน กล้วยไม้ ศรนารายณ์
  • 30. 1. ความเข้มของแสง 2. คาร์บอนไดออกไซด์ 3. อุณหภูมิ 4. อายุใบ 5. ปริมาณน้าที่พืชได้รับ 6. ธาตุอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
  • 32.  Light Compensation point : ค่า ความเข้มแสง ทาให้อัตราการตรึง CO2 สุทธิเป็นศูนย์ คือ จุดที่ปริมาณ CO2 ที่ ตรึงเข้าไปใช้เพื่อสังเคราะห์แสงเท่ากับ CO2 ที่ปล่อยออกจากการหายใจ  Light Saturation point : จุดอิ่มแสง คือ ไม่ว่าจะเพิ่มความเข้มแสงขึ้นไป มากกว่าจุดนี้เท่าใดก็ตาม อัตราการ สังเคราะห์แสงก็จะคงที่ และมีแนวโน้ม ลดลง เนื่องจากใบอาจไหม้ เอนไซม์ในใบ ไม่สามารถทางานได้ กราฟระหว่างความเข้มแสงกับปริมาณ CO2
  • 33.  Light Saturation point (จุดอิ่ม แสง) : ของพืชชอบแดด สูงกว่าพืช ชอบร่มเงา  Light Compensation point : ของพืชชอบแดด สูงกว่าพืชชอบร่ม เงา เพราะ เมื่อมันมีการหายใจมาก ทาให้ปล่อย CO2 ได้มาก ส่งผลให้ ต้องตรึง CO2 มากด้วย กราฟเปรียบเทียบระหว่างพืชชอบแดดและพืชชอบร่มเงา
  • 34.  ในสภาวะที่มีความเข้มข้นของ CO2 และ O2 ที่ระดับปกติ อุณหภูมิ พอเหมาะ และความเข้มแสงสูงจนถึง จุดอิ่มแสง  พืชมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง C4 > C3 > CAM  พืช C4 สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด photorespiration ได้ดีกว่าพืช C3 ส่วนพืช CAM จะปิดปากใบตอน กลางวันหลีกเลี่ยงแสง เปรียบเทียบปริมาณความเข้มแสงต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช C3, C4 และ CAM
  • 35.  วัดอัตราการสังเคราะห์แสงได้จาก ปริมาณการตรึง CO2  CO2 Compensation point : เป็นจุด ที่ปริมาณ CO2 ในอากาศ ทาให้ค่าอัตรา การตรึง CO2 สุทธิเป็นศูนย์  CO2 Saturation point : เป็นจุดอิ่ม CO2 คือ ไม่ว่าจะเพิ่มปริมาณ CO2 ขึ้น ไปมากกว่าจุดนี้เท่าใดก็ตาม อัตราการ สังเคราะห์แสงก็ไม่เพิ่มขึ้นอีก 2. คาร์บอนไดออกไซด์
  • 36.  CO2 Compensation point และ CO2 Saturation point ของพืช C3 สูงกว่า พืช C4 มาก เนื่องจากปริมาณ CO2 ใน อากาศถึงแม้จะมีปริมาณน้อยมากเท่าใดก็ ตาม แต่พืช C4 มีการปรับตัวสามารถตรึง CO2 ในอากาศได้ถึง 2 ครั้ง มีเอนไซม์จับ ที่ดีกว่า พืช C3 เปรียบเทียบปริมาณก๊าช CO2 ต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 และ C4 Light Compensation point และ Light Saturation point ของพืช C4 สูงกว่าพืช C3 แต่ CO2 Compensation point และ CO2 Saturation pointของพืช C4 ต่ากว่า พืช C3
  • 37.  อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น (0-35 °C หรือ 0-40 °C) ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้ อัตราการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืชลดลง เรียกว่า อุณหภูมินั้นได้ เกินค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม (Optimum Temperature)  T สูงหรือต่ากว่า Optimum Temperture ทาให้สมบัติการเป็นเยื่อเลือกผ่าน (semi permeability) ของเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ ต่างๆ ที่จาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงสูญเสียความสามารถลง  T สูงจะทาให้เอนไซม์ในวัฏจักรคัลวินเสีย สภาพ  อุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช C3 จะลดลง เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของการหายใจแสง (Photorespiration) 3. อุณหภูมิ
  • 39.  ขาดน้า (แห้งแล้ง): อัตราการสังเคราะห์แสงลดลง เนื่องจากปากใบของพืชจะปิด เพราะต้องลดการคายน้า ซึ่งทาให้ก๊าช CO2 แพร่เข้าสู่ปากใบได้ยาก  น้าเกิน (ดินชุ่มน้า/น้าท่วม): รากพืชขาด O2 ที่ใช้ในการหายใจซึ่งมีผลกระทบต่ออัตรา การสังเคราะห์ด้วยแสง 5. ปริมาณน้าที่พืชได้รับ
  • 40.  แมกนีเซียม (Mg) + ไนโตรเจน (N): องค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ ถ้าขาดทาให้พืชเกิด อาการใบเหลืองซีด เป็นอาการใบขาดคลอโรฟิลล์ เรียกว่า คลอโรซิส (Chlorosis)  เหล็ก (Fe): จาเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และเป็นองค์ประกอบของไซโทโครมซึ่งเป็น ตัวถ่ายทอด e- ในระบบ  แมงกานีส (Mn) + คลอรีน (Cl): จาเป็นต่อกระบวนการแตกตัวของน้า (Photolysis) ในขั้นตอนสังเคราะห์ด้วยแสง 6. ธาตุอาหาร
  • 41.  1.การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง  2.การควบคุมการรับแสงของใบพืช  3.การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง  4.การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันเพื่อรับแสงของพืชในบริเวณเดียวกัน การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
  • 42.  พืชในป่าเขตร้อนมีชั้นเอพิเดอร์มิส ทาหน้าที่คล้ายเลนส์รวมแสง ทาให้แสง ส่องไปถึงคลอโรพลาสต์  รอยต่อระหว่างอากาศ และน้าที่เคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้อนไปได้หลาย ทิศทางและเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ้น  กรณีมีแสงมากใบพืชจะมีโครงสร้างพิเศษ เช่น มีขน และชั้นคิวทิเคิลที่ผิวใบ เพื่อช่วยในการสะท้อนแสงและลดการดูดซับแสงของใบ การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
  • 43.  การเคลื่อนที่ของคลอโรพลาสต์ในเซลล์ และการเคลื่อนไหวของใบพืช  พืชหลายชนิดสามารถปรับตาแหน่งของแผ่นใบเพื่อลดการรับแสงอาทิตย์ โดยตรงทาให้การรับแสง และความร้อนลดลง การควบคุมการรับแสงของพืช