SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
Logo
ศาสนาที่ตายแล้ว
(Dead Religions)
ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ สามัญรูปแห่งศรัทธา
 ขอบข่ายเนื้อหาประจาบท
 วิวัฒนาการทางศาสนายุคแรกของมนุษย์
 การยอมรับนับถือธรรมชาติ
 ความเชื่ออานาจลึกลับ
 ความเชื่อมายาศาสตร์
 ข้อห้ามและพิธีกรรม
 การนับถือผี
 การบูชาสัตว์ที่มีคุณลักษณะพิเศษ
 การบูชาบรรพบุรุษ
 ความเชื่อเครื่องรางและเครื่องหมาย
 ลัทธิมานะ (Manaism)
เป็นความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ภูเขา แม่น้า ฯลฯ
 ลัทธิโตเต็ม (Totemism)
เป็นความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์และคน
 วิญญาณนิยม (Animism)
เป็นผีที่มีอานาจลึกลับอาจท่องเที่ยวไปอย่างเสรี อาจสิงสถิตอยู่ ในร่าง
คนสัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ
วิวัฒนาการทางศาสนายุคแรกของมนุษย์
การนับถือธรรมชาติ (Nature Worship)
การนับถือสัตว์ (Animal Worship)
การนับถือบรรพบุรุษ (Ancestor Worship)
ปรัมปรวิทยา (Mythology)
สิ่งต้องห้าม (Taboo)
พิธีกรรม (Ritual)
ไสยศาสตร์ (Magic)
วิวัฒนาการของความเชื่อทางศาสนา
(เสฐียร พันธรังษี)
 การนับถือธรรมชาติ (Nature Worship)
 การนับถือผีสางเทวดา (Animal Worship)
 การนับถือบรรพบุรุษ (Ancestor Worship)
 การนับถือพระเจ้าหลายองค์ (Poly-theism)
 การนับถือพระเจ้าองค์เดียว (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์หนึ่งของชนกลุ่มหนึ่ง (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์เดียว (Meno-theism)
 ขั้นเหตุผล (พระพุทธศาสนา)
 มนุษย์มองเห็นธรรมชาติรอบข้าง ไม่รู้ว่าเป็นสิ่งใดและเพราะ
อะไร เมื่อร่างกายกระทบความหนาว ความร้อน ความหิว
กระหาย พบความมืด ความสว่าง ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ พายุ ฟ้า
ร้อง เกิดความสงสัยและหวาดกลัวภัย เชื่อว่าสิ่งที่เห็นนั้นศักดิ์
บริสุทธิ์ วิเศษกว่าตัวเอง มีอานาจทาให้เกิดได้ ตายได้ ควรแก่
การเคารพบูชาและควรมอบให้ซึ่งเครื่องเซ่นสังเวย
 ธรรมชาติอันศักดิ์ มีฤทธิ์ดังกล่าว
กลายเป็นเทวะ หรือพระเจ้าขึ้นใน
ภายหลัง ซึ่งเรียกสามัญรูปแห่ง
ศรัทธานี้ว่า
“Recognition of the Sacred”
 อานาจลึกลับภายในนั้น เรียบกว่า มนะ = Mana อานาจนั้นสามารถบันดาลให้
สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งได้สามารถถ่ายทอดออกจากสิ่งหนึ่งไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง
 สามัญรูปแห่งศรัทธาอันนี้ ดูลักษณะคล้ายคลึงกับการเชื่อเรื่องอานาจของ
เจตภูต หรือวิญญาณ
 มนุษย์ดึกดาบรรพ์ มีความเชื่อว่า ร่างกายประกอบด้วยธรรมชาติ ๒ ส่วน ส่วน
หนึ่งได้แก่เนื้อ หนัง กระดูก ทีเห็นอยู่ภายนอก และอีกส่วนคือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่
มองไม่เห็นด้วยตา สิ่งนั้นคือ เจตภูต วิญญาณ (Soul)
 ความเชื่ออันนี้ เป็นมูลเหตุของความเชื่อเรื่องผีสางเทวดา
 ในลัทธิลามะของชาวธิเบต สอนให้เชื่อว่าเมื่อ
องค์ดาไลลามะสิ้นชีพดวงวิญญาณจะออกจาก
ร่างไปบังเกิดในร่างเด็กที่เกิดใหม่ทันที
 มายาศาสตร์เป็นผลสืบเนื่องโดยตรงมาจากความเชื่อลึกลับของมนะ แต่ผิดกัน
ตรงที่ มนะเป็นเรื่องภายในเกิดจากอานาจข้างในมองไม่เห็นด้วยนัยน์ตา แต่
มายาศาสตร์เป็นเรื่องภายนอก หรือเกิดจากการกระทาข้างนอกเป็นรูป
มองเห็นได้ด้วยนัยน์ตา ผู้กระทาเรียก มายากร
 มายาศาสตร์เริ่มด้วยกล่าวเวทมนต์คาถา เชื่อกันว่าสามารถบังคับอานาจลึกลับ
ที่มีอยู่ในโลกให้เข้ามาสู่มนุษย์ได้
 ความเชื่อข้อนี้มีรูปแสดงออกให้เห็นว่าศาสนาของมนุษย์นั้นมีทั้งข้อ
อนุญาตให้กระทา อันได้แก่ ธรรม และมีทั้งส่วนที่ห้ามมิให้กระทา (Tabu)
ซึ่งได้แก่ข้อห้ามหรือวินัย คาว่าธรรมวินัยทีใช้ในพุทธศาสนา หมายถึง
ลักษณะปฏิบัติที่กล่าวนี้
 คัมภีร์ใบเบิลเก่า มีบัญญัติของพระเจ้าไว้แต่แรก ห้ามไม่ให้อาดัมและอีวา
กินลูกไม้แห่งสานึก (Tree of Knowledging good and evil)
 ศีล ๕ ศีล ๑๐ ของพุทธศาสนา ก็มีข้อห้ามไว้หลายประการ
 ถ้าผู้ใดละเมิด เชื่อว่ามีบาป สังคมไม่ต้องการ บางทีอาจถึงตาย
 เมื่ออาดัมรับหน้าที่จากพระเจ้าให้
เฝ้าอุทยานของตนอยู่นั้น พระเจ้า
รับสั่งแก่อาดัมว่า
“ถ้าบริโภคผลไม้ที่ทรงห้ามไว้
สูเจ้าจะถึงความพินาศสิ้นเชิง”
การชาระให้บริสุทธิ์ในข้อนี้ ส่วนใหญ่มุ่งถึงการชาระจิตใจ ทาความหมอง
มัวในจิตใจให้สะอาด หรือชาระเพื่อเรียกโชคลางข้างดีเข้ามาสู่ตน บางที
ความหมายของการชาระสูงขึ้นไปถึงการชาระบาปทางใจด้วย
การชาระให้บริสุทธิ์มีหลายอย่าง และยังเชื่อกันอยู่ในปัจจุบัน เช่น การอด
อาหาร ตัดเล็บ โกนหนวด การลุยไฟ การเจาะเลือด เป็นต้น
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
• พิธีปัดรังควาน
คือมีศรัทธาว่าทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ ต้นไม้ ภูเขา แม่น้า เครื่องใช้ อาวุธ
ฯลฯ มีชีวิตกากับอยู่ด้วยทั้งนั้น
ความคิดตกลงมาถึงชั้นนี้ ทาให้มนุษย์กับธรรมชาติมีความสัมพันธ์กันมาก
ขึ้น โดยมนุษย์เชื่อว่า ธรรมชาติทั้งหลายชอบให้รัก ให้อ้อนวอน และสุดแต่
จะเชื่อว่า ธรรมชาติใดมีคุณลักษณะไปในรูปใด มนุษย์ก็กระทาให้ถูกใจไปใน
รูปนั้นๆ
ศรัทธานี้มีทางพาไปให้เกิดเรื่องเครื่องเซ่นสรวงสังเวย เป็นสินบนต่อ
ธรรมชาติและธรรมชาติซึ่งมีอานาจเหล่านั้นเอง ได้กลายเป็นเทพเจ้าไปใน
ภายหลัง
 ศรัทธาของมนุษย์เป็นไปตามสามัญญรูปอีกอย่างหนึ่ง คือการ
เห็นสัตว์ ควรแก่การบูชา
 การนับถือสัตว์ในกลุ่มชาวอียิปต์โบราณ และการเชื่อว่าโคเป็น
พาหนะของพระอิศวร เชื่อว่าลิงเป็นทหารเอกของพระราม เป็น
ตัวอย่างที่ดีที่สุดในศรัทธาประเภทนี้
 ส่วนสามัญญรูปแห่งศรัทธาที่เกิดแก่มนุษย์ยุคดึกดาบรรพ์ตั้งแต่สมัยหิน
คือ เมื่อมองเห็นแผ่นดิน ก็พากันเชื่อว่าเป็นมารดา (แม่พระธรณี) เป็นที่
เกิดของพืชพรรณธัญญชาติ มองเห็นน้าให้มหาสมุทร ทะเลสาบ น้าพุ ก็
เชื่อว่าเป็นผู้ช่วยชีวิตให้ชุ่มชื่น
 เห็นฟ้าอากาศเป็นบ้านของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว และหมู่เมฆทั้ง
ปวง
 การเคารพบูชาบรรพบุรุษเป็นสามัญญรูปแห่งศรัทธาที่เชื่อว่าผู้อยู่ใน
ครอบครัวเดียวกัน เป็นผู้ให้ประโยชน์แก่ตน และช่วยเหลือตนได้มากที่สุด
โดยเฉพาะบิดามารดา
 การมีชีวิตอยู่ของบิดามารดายังความอบอุ่นปลอดภัยมากที่สุด แต่เมื่อ
มนุษย์หมดบิดามารดาความเปล่าเปลี่ยวอ้างว้างก็มีมากที่สุดตามไปด้วย
 เมื่อมนุษย์ไม่ปรารถนาความพลัดพรากจากกัน มนุษย์จึงต้องการและ
พยายามหาทางให้สิ่งนั้นคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นทางใดและมากน้อยเท่าใด
จบบทที่ ๒
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 

What's hot (20)

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 

Viewers also liked

Diapositivas drones completamente autónomos
Diapositivas drones completamente autónomosDiapositivas drones completamente autónomos
Diapositivas drones completamente autónomosEvelyn_10
 
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-final
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-finalAtc eficiência energética em laminadores 3 5-final
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-finalezanghi
 
Tracking tire performance
Tracking tire performanceTracking tire performance
Tracking tire performanceAbby Zapana
 
методический семинар
методический семинарметодический семинар
методический семинарЮлия English
 
объявление 16.02.
объявление 16.02.объявление 16.02.
объявление 16.02.bukish
 
Accredited_MembershipMMollah
Accredited_MembershipMMollahAccredited_MembershipMMollah
Accredited_MembershipMMollahDigital Systems
 
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.net
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.netCricketer february 2016 www.aiourdubooks.net
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.netImran Ahmed Farooq
 
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net new
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net newQalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net new
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net newImran Ahmed Farooq
 
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad new
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad newAshab e kahf by maulana abul kalam azad new
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad newImran Ahmed Farooq
 
Le Cahier de tendances Food is Social N°3
Le Cahier de tendances Food is Social N°3Le Cahier de tendances Food is Social N°3
Le Cahier de tendances Food is Social N°3Agence Kingcom
 
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the Controversy
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the ControversyCloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the Controversy
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the ControversyIES
 
Tendencias de la descripción bibliográfica
Tendencias de la descripción bibliográfica Tendencias de la descripción bibliográfica
Tendencias de la descripción bibliográfica Andres Olaya
 
Tipps zur Verbesserung Speicher
Tipps zur Verbesserung SpeicherTipps zur Verbesserung Speicher
Tipps zur Verbesserung SpeicherClaudemorrison
 
updated CV Celestine Durand
updated CV Celestine Durandupdated CV Celestine Durand
updated CV Celestine DurandCelestine Durand
 

Viewers also liked (20)

Diapositivas drones completamente autónomos
Diapositivas drones completamente autónomosDiapositivas drones completamente autónomos
Diapositivas drones completamente autónomos
 
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-final
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-finalAtc eficiência energética em laminadores 3 5-final
Atc eficiência energética em laminadores 3 5-final
 
Tracking tire performance
Tracking tire performanceTracking tire performance
Tracking tire performance
 
Class 4
Class 4Class 4
Class 4
 
методический семинар
методический семинарметодический семинар
методический семинар
 
объявление 16.02.
объявление 16.02.объявление 16.02.
объявление 16.02.
 
Accredited_MembershipMMollah
Accredited_MembershipMMollahAccredited_MembershipMMollah
Accredited_MembershipMMollah
 
Green IT
Green ITGreen IT
Green IT
 
Deepika_Resume
Deepika_ResumeDeepika_Resume
Deepika_Resume
 
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.net
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.netCricketer february 2016 www.aiourdubooks.net
Cricketer february 2016 www.aiourdubooks.net
 
Us15
Us15Us15
Us15
 
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net new
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net newQalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net new
Qalandar shaoor april 2016 www.aiourdubooks.net new
 
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad new
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad newAshab e kahf by maulana abul kalam azad new
Ashab e kahf by maulana abul kalam azad new
 
Le Cahier de tendances Food is Social N°3
Le Cahier de tendances Food is Social N°3Le Cahier de tendances Food is Social N°3
Le Cahier de tendances Food is Social N°3
 
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the Controversy
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the ControversyCloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the Controversy
Cloud ERP vs. On-Premise ERP: Dissecting the Controversy
 
Tendencias de la descripción bibliográfica
Tendencias de la descripción bibliográfica Tendencias de la descripción bibliográfica
Tendencias de la descripción bibliográfica
 
8
88
8
 
Tipps zur Verbesserung Speicher
Tipps zur Verbesserung SpeicherTipps zur Verbesserung Speicher
Tipps zur Verbesserung Speicher
 
Voleibol pedro alcala
Voleibol pedro alcalaVoleibol pedro alcala
Voleibol pedro alcala
 
updated CV Celestine Durand
updated CV Celestine Durandupdated CV Celestine Durand
updated CV Celestine Durand
 

Similar to บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
การสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยการสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยKunnai- เบ้
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกchaichaichaiyoyoyo
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 

Similar to บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ (10)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
การสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยการสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ