SlideShare a Scribd company logo
27
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3
หัวข้อเนื้อหาประจาบท
โมล
สูตรสัดส่วน
สารกาหนดปริมาณ
ผลผลิตร้อยละ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อเรียนจบบทที่ 3 แล้วให้นักศึกษาสามารถ
1. สามารถคานวณเกี่ยวกับโมลได้
2. สามารถหาสูตรอย่างง่ายได้
3. สามารถคานวณสูตรเคมี เขียนสมการเคมีและหาความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสารที่ทา
ปฏิกิริยาเคมีได้
4. สามารถคานวณสารกาหนดปริมาณ และผลผลิตร้อยละของการผลิตได้
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3
2. ฟังบรรยายประกอบเอกสารการสอนและสื่อการสอน
3. อภิปรายและเปิดโอกาสซักถามในชั้นเรียน
4. ฝึกฝนทักษะการคิดและคานวณ โดยให้ศึกษาจากตัวอย่างในเอกสารประกอบการสอน
และให้แบบฝึกหัดรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน
5. ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมด้วยตนเอง
6. มอบหมายงานให้ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
28
สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมี 1
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. โปรแกรมนาเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ ประจาบทที่ 3 และชุดประกอบในการนาเสนอ
4. หนังสือ ตารา หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การวัดและประเมินผล
การวัดและการประเมินผลบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้
1. สังเกตจากการร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2. ผลของการซักถามความเข้าใจในชั้นเรียน
3. ตรวจแบบฝึกหัดท้ายบท
4. ทาแบบทดสอบตามที่กาหนด
29
บทที่ 3
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์หรือปริมาณสัมพันธ์เคมี มีความสาคัญต่อการหาปริมาณของสารในการ
วิเคราะห์ทางเคมี เช่น การหาความเข้มข้นของสาร การวิเคราะห์หาร้อยละของธาตุในสารต่าง ๆ เช่น
หาปริมาณทองคาจากแร่ หรือการหาสารกาหนดปริมาณและผลผลิตร้อยละ ต่างก็ใช้ปริมาณสาร
สัมพันธ์ทั้งสิ้น
โมล
ก่อนจะเรียนรู้ว่าโมล คืออะไร ต้องทาความรู้จักกับอะตอม มวลโมเลกุล สูตรโมเลกุล และ
น้าหนักโมเลกุลกันเสียก่อน
1. โมล เลขอะตอม มวลอะตอม
โมล คือ หน่วยที่ใช้แทนจานวนอนุภาคของสารจานวน 6.02 x 1023
อนุภาค และเรียก
จานวนนี้ว่า เลขอาโวกาโดร (NA)
อนุภาค คือ โมเลกุล อะตอม ไอออน อิเล็กตรอน ฯลฯ ดังนั้นในการบอกปริมาณของสาร
เป็นโมลจึงต้องระบุชนิดของอนุภาคด้วย
อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุหรือหน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยา
อะตอมประกอบด้วยแก่นกลางเรียกว่า นิวเคลียส (Nucleus) ซึ่งประกอบด้วย โปรตอน (P) และ
นิวตรอน (N) และอิเล็กตรอน (Electron, e-
) วิ่งรอบนิวเคลียส
เลขอะตอม คือ จานวนโปรตอนที่มีอยู่ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ โดยทั่ว ๆ ไปมัก
ใช้ Z เป็นสัญลักษณ์ ดูจากตารางธาตุ (ตัวเลขที่น้อยกว่า) เช่น 1 8 6
1 16 12, ,H O C เลขอะตอม คือ 1, 8, 6
ตามลาดับ
เลขมวลหรือมวลอะตอม คือ ผลรวมของจานวนโปรตอนและนิวตรอน ที่มีอยู่ใน
นิวเคลียสของอะตอมของธาตุ มักใช้ A เป็นสัญลักษณ์ ดูจากตารางธาตุ (ตัวเลขที่มากกว่า) เช่น
1 8 6
1 16 12, ,H O C มวลอะตอม คือ 1, 16, 12 ตามลาดับ
ธาตุ คือ ส่วนที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถแยกลงได้อีก เช่น H He Li C O เป็นต้น ซึ่ง
ประกอบอยู่ในตารางธาตุ
โมเลกุล คือ เกิดจากการรวมกันของอะตอม สามารถแบ่งออกได้เป็น
1. โมเลกุลอะตอมเดี่ยว ได้แก่ พวกแก๊สเฉื่อย He, Ne, Ar , Kr , Xe, Rn
30
2. โมเลกุลอะตอมคู่ เช่น H2, O2, N2, HCl, CO, HF
3. โมเลกุลหลายอะตอม P4, S8, H2O, CH4, C6H12O6
มวลโมเลกุล คือ ผลบวกของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุล หน่วย กรัมต่อโมล
(g/mol) เช่น 1. โมเลกุลอะตอมเดี่ยว เช่น He = 4, Ne = 20.18
2. โมเลกุลอะตอมคู่ เช่น H2 = H x 2 =1 x 2 = 2 , O2 = O + O = 16+16 = 32
3. โมเลกุลหลายอะตอม เช่น P4 = P x 4 =30.1 x 4 = 120.4
H2O = (H x 2) + (O x 1) = (1 x 2) + 16 = 18
CH4 = (C x 1) + (H x 4) = 12 + (1 x4) = 16
2(H2O) = 2 x (18) = 36, (H2O)2 = 2 x (18) = 36
2. ความหมายของสมการเคมี
สมการเคมีเป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น (อาจเป็ น
ปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ โดยเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ ยกตัวอย่างเช่น
22 2Mg O MgO 
หมายถึง 2 อะตอมของ Mg + 2 อะตอมของ O ให้ 1 อะตอม Mg + 1 อะตอม O
หรือ 2 อนุภาคของ Mg + 1 โมเลกุล O2 ให้ 2 โมเลกุล MgO
หรือ 2 โมลของ Mg + 1 โมลของ O2 ให้ 2 โมลของ MgO
หรือ 48.6 (24.3+24.3) กรัมของ Mg + 32 (16+16) กรัมของ O2 ให้ 80.6 [2*(24.3+16)] กรัมของ
MgO
3. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง โมล มวล อะตอม และปริมาตร (ลิตร)
ความสัมพันธ์ระหว่างโมล มวลของสาร จานวนอะตอม และปริมาตร สามารถเขียนในรูป
ของสมการ ดังนี้
โมล =
มวล (g)
มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล
=
ปริมาตร (dm3) ที่ STP
22.4
=
จานวนอนุภาค
6.02×1023
ตัวอย่าง 3.1 1 โมลของ C = 6.02 x 1023
อะตอม = 22.4 ลิตร = 12 g
1 โมลของ CO2 = 6.02 x 1023
โมเลกุล = 22.4 ลิตร = 44 g
1 โมลของ NaCl = 6.02 x 1023
โมเลกุล = 22.4 ลิตร = 58.5 g
31
ตัวอย่าง 3.2 จงคานวณจานวนกรัมของ 0.155 โมลของ CH4
วิธีทา มวลโมเลกุลของ CH4 = (C 1 อะตอม + H 4 อะตอม)
= (12 x 1) + (4 x 1) = 16 g/mol
จากความสัมพันธ์ โมล = มวลหรือน้าหนักของสาร/มวลโมเลกุล
ดังนั้น จานวนกรัมของ CH4 = 16
0.155 2.48
1
g
mol g
mol
 
ตัวอย่าง 3.3 จงคานวณจานวนอะตอมของ 0.155 โมลของ CH4
วิธีทา จากความสัมพันธ์ โมล = จานวนอนุภาคหรือจานวนอะตอม/(6.02 x 1023
)
0.155 โมล = จานวนอนุภาคหรือจานวนอะตอม/(6.02 x 1023
)
0.155 x 6.02 x 1023
= 0.933 x 1023
= 9.33 x 1022
อะตอม
ตัวอย่าง 3.4 จงคานวณปริมตรของ 0.155 โมลของ CH4 ที่ STP
วิธีทา จากความสัมพันธ์ โมล = ปริมาตร/22.4
0.155 โมล = ปริมาตร/22.4
0.155 x 22.4 = 3.47 ลิตร
ตัวอย่าง 3.5 จงคานวณ
1. จานวนกรัมของโซเดียม 1 อะตอม
2. จานวนอะตอมของ Cl ที่พบใน 1.38 กรัมของ MgCl2
3. จานวนลิตรของ O2 1 โมล ที่ STP
วิธีทา
ข้อที่ 1 จากความสัมพันธ์
มวล (g)
มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล
=
จานวนอนุภาค
6.02×1023
ดังนั้นในข้อที่ 1. โจทย์กาหนดโซเดียม 1 อะตอม ถามหาเป็นจานวนกรัม แทนในสูตร
ความสัมพันธ์ เมื่อ มวลอะตอมโซเดียม = 22.99 กรัม/โมล
จะได้ 23
23
22.99 1
3.82 10
1 6.02 10
g molNa g
g of Na
mol Na Naatom Naatom

   

ข้อที่ 2 จานวนอะตอมของ Cl ที่พบใน 1.38 กรัมของ MgCl2
32
ในข้อที่ 2 นักศึกษาหลายคนพอเห็นโมเลกุล MgCl2 ถามว่ามี Cl กี่อะตอมมักจะตอบเลยว่า 2
ซึ่งเป็นคาตอบที่ไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้องเราต้องแปลง 1.38 กรัมของ MgCl2 ให้เป็นจานวนอนุภาค
เสียก่อน
นั่นคือ จานวนกรัมของ MgCl2 จานวนโมลของ MgCl2 จานวนโมเลกุลของ MgCl2
จานวนอะตอมของ Cl
จานวนอะตอมของ 𝐶𝑙 ไอออน
= 1.38 𝑔 𝑀𝑔𝐶𝑙2 ×
1 𝑚𝑜𝑙 𝑀𝑔𝐶𝑙2
95.21 𝑔 𝑀𝑔𝐶𝑙2
×
6.02 × 1023
โมเลกุล
1 𝑚𝑜𝑙 𝑀𝑔𝐶𝑙2
×
2 𝐶𝑙 อะตอม
1 โมเลกุล
= 1.75 × 1022
𝐶𝑙 อะตอม
ในข้อที่ 3 ถามจานวนลิตรของ O2 1 โมล
จากสูตร โมล = ลิตร/22.4 แทนค่า 1 โมล = ลิตร/22.4
ดังนั้น จานวนลิตรของ O2 = 1 x 22.4 = 22.4 ลิตร
สูตรสัดส่วน
สูตรสัดส่วน (Empirical formulas) หรือสูตรเอมพิริกัลหรือสูตรอย่างง่าย คือ อัตราส่วนโดย
โมลอะตอมอย่างต่า เช่น C6H12O6 สูตรเอมพิริกัล คือ CH2O และสูตรโมเลกุลจะหาได้จากสูตร
(สูตรเอมพิริกัล)n = มวลโมเลกุล
เช่น ถ้าน้าหนักโมเลกุลของโมเลกุลสารนี้คือ 180 กรัมต่อโมล จะสามารถหาสูตรโมเลกุลได้คือ
(CH2O)n = 180 (12+2+16)n = 180 30n = 180
ดังนั้น n = 180/30 = 6
จะได้สูตรโมเลกุล คือ (CH2O)6 = C6H12O6
1. การหาสูตรเอมพิริกัล
มีหลักการหาสูตรเอมพิริกัล ดังนี้
1.1 ต้องทราบสารและมวลอะตอมของธาตุที่จะหาสูตรเอมพิริกัล
1.2 ต้องทราบเปอร์เซ็นต์มวลของแต่ละธาตุในสารที่จะหาสูตร
1.3 ให้ข้อมูลจากข้อ 1.1 และ 1.2 นามาหาอัตราส่วนโดยโมล ด้วยการนามวลของแต่ละ
ธาตุหารด้วยมวลอะตอมของธาตุนั้น ๆ มาเข้าอัตราส่วน
1.4 จะได้สูตรเอมพิริกัล
33
แต่ตัวเลขที่ได้อาจไม่ใช่เลขจานวนเต็ม ดังนั้นสาหรับการปัดจุดทศนิยมของตัวเลขในการ
หาอัตราส่วนโดยโมล โดยทาตัวเลขใดตัวเลขหนึ่ง ให้เป็น 1 แล้วจึงปัดจุดทศนิยมด้วยวิธีปัด 0.1 -
0.2 ทิ้ง ถ้าเป็น 0.8 - 0.9 ปัดขึ้นอีก 1 ถ้าเป็น 0.2 - 0.8 ปัดไม่ได้ต้องหาตัวเลขที่ต่าที่สุดมาคูณตัวเลข
ของอัตราส่วนโดยโมลให้มีค่าใกล้กับที่ จะปัดจุดทศนิยมได้ แล้วปัดจุดทศนิยมตัวเลขให้เป็น
จานวนเต็ม อนึ่งการปัดจุดทศนิยม ถ้าตัวเลขปัดจุดทศนิยมไม่ได้ ตัวเลขทุกตัวของอัตราส่วนโดย
โมลนั้นก็จะไม่ปัดจุดทศนิยม หาตัวเลขมาคูณให้ได้ตัวเลขที่จะปัดจุดทศนิยมได้อัตราส่วนโดยโมล
ที่เป็นจานวนเต็มได้สูตรเอมพิริคัล
ตัวอย่าง 3.6 โมเลกุลประกอบด้วย S 32% และ O 32% โดยน้าหนัก จงหาสูตรเอมพิริกัล
วิธีทา ทาตามการหาสูตรเอมพิริกัล
1. ธาตุมี S กับ O
2. มวลอะตอม S = 32, O = 16
3. จากโจทย์ มวล S = 32, O = 32
4. อัตราส่วนโดยน้าหนัก S : O = 32 : 32
อัตราส่วนโดยโมล S : O = 32/32 : 32/16 = 1 : 2
นั่นคือ อัตราส่วนระหว่าง S : O คือ 1 : 2
ดังนั้น สูตรเอมพิริกัล คือ SO2
ตัวอย่าง 3.7 จากโจทย์ข้อ 3.4 ถ้ามวลโมเลกุลเท่ากับ 64 จงหาสูตรโมเลกุล
วิธีทา จากสูตร (สูตรเอมพิริกัล)n = มวลโมเลกุล
(SO2)n = 64
แทนค่า (32+(16x2))n = 64 64n = 64
ดังนั้น n = 1 จะได้สูตรโมเลกุล คือ (SO2)1 = SO2
ตัวอย่าง 3.8 โมเลกุลประกอบด้วย Na 60.8% H 10.7% และ B 28.5% โดยน้าหนัก จงหาสูตร
เอมพิริกัล
วิธีทา ทาตามการหาสูตรเอมพิริกัล
1. ธาตุมี Na, H และ B
2. มวลอะตอม Na = 23, H = 1, B = 10.81
3. จากโจทย์ มวล Na = 60.8, H = 10.7, B = 28.5
34
4. อัตราส่วนโดยน้าหนัก Na : H : B = 60.8 : 10.7 : 28.5
อัตราส่วนโดยโมล Na : H : B = 60.8/23 : 10.7/1 : 28.5/10.81
= 2.64 : 10.7 : 2.64
เศษอยู่ในช่วง 0.2 – 0.8 ปัดทิ้งหรือปัดขึ้นไม่ได้ ต้องเอาตัวเลขน้อยที่สุดหารตลอด
ในที่นี้คือ 2.64
จะได้อัตราส่วนโดยโมล Na : H : B = 2.64/2.64 : 10.7/2.64 : 2.64/2.64
= 1 : 4.05 : 1
4.05 จานวนเศษน้อยกว่า 0.2 ดังนั้นปัดทิ้ง
จะได้อัตราส่วน Na : H : B คือ 1 : 4 : 1
นั่นคือ สูตรเอมพิริกัล คือ Na1H4B1 หรือ NaH4B
ตัวอย่าง 3.9 วิตามินซี (Ascobic acid) ซึ่งสามารถใช้บาบัดโรคลักปิ ดลักเปิ ดได้ ประกอบด้วย
คาร์บอน (C) ร้อยละ 40.92 ไฮโดรเจน (H) ร้อยละ 4.58 และออกซิเจน (O) ร้อยละ 54.50 โดยมวล
จงหาสูตรเอมพิริกัลของ Ascobic acid
วิธีทา อัตราส่วนโดยมวลของ C : H : O = 40.92 : 4.58 : 54.50
อัตราส่วนโดยโมลของ C : H : O = 40.92/12 : 4.58/1 : 54.50/16
= 3.407 : 4.54 : 3.406
(เอา 3.406 หารตลอด) = 1 : 1.33 : 1
(เอา 3 คูณตลอด) = 3 : 4 : 3
ดังนั้นสูตรเอมพิริกัลป์ ของ Ascobic acid คือ C3H4O3
สารกาหนดปริมาณ
เมื่อทราบปริมาณสารสัมพันธ์ในองค์ประกอบหรือความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างธาตุใน
สารประกอบแล้ว นามาสู่การเรียนรู้ถึงปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยา (Reaction Stoichiometry) หรือ
ความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสารที่มีส่วนร่วมในปฏิกิริยา ซึ่งปฏิกิริยาประกอบด้วยสารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์ เขียนอยู่ในรูปสมการเคมี
1. สมการเคมี
35
สมการเคมี คือ กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี ให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทาง
เคมีที่เกิดขึ้นในระบบ สมการเคมีประกอบด้วยสัญลักษณ์ แสดงสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ เงื่อนไข
แสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น พร้อมด้วยลูกศรทิศทางแสดงของปฏิกิริยา
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
Zn (s) + 2HCl (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g)
สารที่เขียนทางซ้ายมือของลูกศร เรียกว่า สารตั้งต้น สารที่เขียนทางขวามือของลูกศร
เรียกว่า สารผลิตภัณฑ์ และ เครื่องหมาย + หมายถึงทาปฏิกิริยากัน ส่วนเครื่องหมาย
แสดงการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็นสารผลิตภัณฑ์
สมการเคมีสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ สมการโมเลกุล (Molecule equation) เป็นสมการ
เคมีของปฏิกิริยาที่มาของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เป็นรูปอะตอม หรือโมเลกุล เช่น
2NaHCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g)
และอีกแบบคือ สมการไอออนิก (Ionic equation) เป็นสมการเคมีของปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์ อย่างน้อง 1 ชนิดเป็นไอออน เช่น
H+
(aq) + OH-
(aq) 2H2O (l)
สมการเคมีที่สมบูรณ์ จะต้องมีจานวนอะตอมของแต่ละธาตุทางซ้ายและขวาเท่ากัน เรียกว่า สมดุล
เคมี ซึ่งวิธีการดุลสมการเคมีทั่วไป ทาได้โดย เขียนสูตรเคมีที่ถูกต้องของสารตั้งต้นและสาร
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งสูตรเคมีนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง จากนั้นดุลสมการโดยหาตัวเลขสัมประสิทธิ์มาเติม
ข้างหน้าสูตรเคมี เพื่อทาให้อะตอมชนิดเดียวกันทั้งซ้ายและขวาของสมการมีจานวนเท่ากัน และให้
คิดไอออนที่เป็นกลุ่มอะตอมเปรียบเสมือนหนึ่งหน่วย ถ้าไอออนนั้นไม่แตกกลุ่มออกมาในปฏิกิริยา
หลังจากเติมเลขสัมประสิทธิ์เรียบร้อย ขั้นสุดท้ายต้องตรวจสอบอีกครั้งว่าถูกต้องโดยมีจานวน
อะตอมชนิดเดียวกันเท่ากันทั้งสองข้าง
36
ตัวอย่าง 3.10 อะลูมิเนียมซึ่งเป็นโลหะที่ว่องไวต่อปฏิกิริยากับกรด เมื่ออะลูมิเนียมทาปฏิกิริยากับ
กรดซัลฟิวริก จะเกิดแก๊สไฮโดรเจนและอะลูมิเนียมซัลเฟต จงเขียนและดุลสมการของปฏิกิริยานี้
วิธีทา (1) เขียนสูตรสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ Al + H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3
นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 1 อะตอม H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม
ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
จะเห็นว่าจานวนอะตอมธาตุซ้ายและขวาไม่เท่ากัน ดังนั้นมาเริ่มดุลสมการโดยเริ่มจาก Al คือ หา
เลขสัมประสิทธิ์มาเติมหน้า Al ด้านซ้าย
(2) ดุลจานวนอะตอม Al 2Al + H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3
นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม
ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
จะเห็นว่า Al มีจานวนเท่ากันแล้วทั้งซ้ายและขวา ขั้นต่อมาคือดุล SO4 โดยนา 3 มาเติมหน้าโมเลกุล
ของ H2SO4
(3) ดุลจานวนกลุ่มไอออน SO4
2-
2Al + 3H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3
นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
จะเห็นว่าทุกตัวมีจานวนอะตอมเท่ากันแล้ว ยกเว้น H ดังนั้นดุล H โดยนาเลขสัมประสิทธิ์มาเติม
(4) ดุลจานวนอะตอม H 2Al + 3H2SO4 3H2(g) + Al2(SO4)3
นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม
จะเห็นว่าจานวนอะตอมทั้งซ้าย (สารตั้งต้น) และขวา (ผลิตภัณฑ์) เท่ากันแล้ว แบบนี้เรียกว่า สมการ
เคมีที่ดุลแล้ว
นอกจากการดุลสมการเคมีแล้ว ในการเขียนสมการเคมี ถ้าให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรบอก
สถานะของสารแต่ล่ะชนิดด้วยคือถ้าเป็นของแข็ง (solid) ใช้ตัวอักษรย่อว่า "s" ถ้าเป็นของเหลว
(liquid) ใช้อักษรย่อว่า "l" เป็นแก๊ส (gas) ใช้อักษรย่อว่า "g" และถ้าเป็นสารละลายในน้า (aqueous)
ใช้อักษรย่อว่า "aq" เช่น
CaC2(s) + 2H2O(g) ----> Ca(OH)2(aq) + C2H2(g)
และ การเขียนสมการบางครั้งจะแสดงพลังงานของปฏิกิริยาเคมีด้วย เช่น
37
2NH3(g) + 93 kJ ----> N2(g) + 3H2(g) ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 93 kJ (สลายสารตั้งต้น)
CH4(g) + 2O2 ----> CO2(g) + 2H2O(l) + 889.5 kJ ป ฏิ กิ ริ ยาคายพ ลังงาน = 889.5
(สร้างสารผลิตภัณฑ์)
2. สารกาหนดปริมาณ (Limiting Reagent)
สารที่เข้าทาปฏิกิริยามีปริมาณไม่พอดีกัน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะสิ้นสุดเมื่อสารใดสารหนึ่ง
หมด สารที่หมดก่อนจะเป็นตัวกาหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเรียกว่า
“สารกาหนดปริมาณ”
สารกาหนดปริมาณในการเกิดปฏิกิริยา เป็นการคานวณสารจากสมการของปฏิกิริยาที่
โจทย์บอกข้อมูลเกี่ยวกับสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด ลักษณะโจทย์มี 2 แบบ คือ
2.1 โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด แต่ไม่บอกข้อมูลเกี่ยวกับสาร
ผลิตภัณฑ์ ในการคานวณต้องพิจารณา ว่าสารใดถูกใช้ทาปฏิกิริยาหมด แล้วจึงใช้สารนั้นเป็นหลัก
ในการคานวณสิ่งที่ต้องการจากสมการได้
2.2 โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด และบอกข้อมูลของสาร
ผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งมาให้ด้วย ในการคานวณให้ใช้ข้อมูลจากสารผลิตภัณฑ์เป็นเกณฑ์ใน
การเทียบหาสิ่งที่ต้องการจากสมการเคมี
ตัวอย่าง 3.11 2H + O = H2O
ถ้ามี H 4 อะตอม + O 4 อะตอม จะผลิตน้าได้ 2H2O และเหลือ H 0 อะตอม O 2 อะตอม จะเห็นว่า
H ใช้หมดก่อน ดังนั้น H เป็นสารกาหนดปริมาณเพื่อผลิตน้า ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์
38
ตัวอย่าง 3.12 ยูเรีย [(NH2)2 CO] เป็นสารที่ใช้สาหรับการทาปุ๋ ย และอุตสาหกรรมโพลิเมอร์ เตรียม
ได้จากปฏิกิริยาระหว่าง แอมโมเนีย กับ คาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ
2NH3 (g) + CO2 (g) (NH2)2 CO (aq) + H2O (l)
ถ้าให้ NH3 637.2 กรัม ทาปฏิกิริยากับ CO2 1,142 กรัม จงหาสารใดเป็นสารกาหนดปริมาณ และ
จงคานวณมวลของ (NH2)2 CO ที่เกิดขึ้น เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดจะมีสารใดเหลือจากปฏิกิริยาและเหลือ
กี่กรัม
วิธีทา ก. จากโจทย์พบว่า สมการได้ผ่านการดุลมาแล้ว หาจานวนโมลของ NH3 และ CO2
มวลโมเลกุลของ NH3 = 17.00, มวลโมเลกุลของ CO2 = 44.00
จานวนโมลของ NH3 = 637.2/17.00 = 37.42 โมล
จานวนโมลของ CO2 = 1,142/44.00 = 25.95 โมล
จากสมการ NH3 2 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 1 โมล
ดังนั้น NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 37.42 x 1 = 18.71 โมล
แต่โจทย์กาหนดสารละลาย CO2 มาถึง 28.95 โมล ดังนั้น NH3 เป็นสารกาหนดปริมาณ
และ CO 2 เป็นสารเกินพอ
หรือ คิดจาก โมล / โมลสัมประสิทธิ์ ของสารตั้งต้น ถ้าตัวไหนมีตัวเลขน้อยกว่าตัวนั้นเป็น
สารกาหนดปริมาณ ซึ่งจะได้โมล/สัมประสิทธิ์โมลของ NH3 = 37.42/2 = 18.71
และ โมล/สัมประสิทธิ์โมลของ CO2 = 25.95/1 = 25.95
จะเป็นว่า 18.71 < 25.95 ดังนั้น NH3 เป็นสารกาหนดปริมาณ
ข. จาก NH3 2 โมลทาปฏิกริยาได้( NH2 )2 CO 1 โมล
ดังนั้น NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาได้ ( NH2 )2 CO (1 x 37.42)/2 = 18.71 โมล
39
มวลโมเลกุลของ ( NH2 )2 CO = 60.00
น้าหนักของ ( NH 2 )2 CO ที่เกิดขึ้น = 18.71 x 60.00 = 1,122.6 กรัม
ค. จาก NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 18.71 โมล
ดังนั้น เหลือ CO2 จากการทาปฏิกริยา = 25.95 – 18.71 = 7.24 โมล
น้าหนักของ CO2 ที่เหลือ = 7.24 x 44.00 = 318.56 กรัม
ตัวอย่าง 3.13 เมื่อผสมสารละลายเฟอริกคลอไรด์ 0.3 โมล/ลิตร จานวน 400 มิลลิลิตร กับสารละลาย
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ 0.5 โมล/ลิตร จานวน 300 มิลลิลิตร จงหาว่า สารใดเป็นสารกาหนดปริมาณสาร
ใดเหลือจากปฏิกิริยาและเหลือกี่กรัม และมีกามะถันเกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้เท่าใด
จากสมการ 2FeCl3 (aq) + H2S (aq) ---> 2FeCl2 (aq) + 2HCl (aq) + S (s)
วิธีทา จากโจทย์พบว่า สมการได้ผ่านการดุลมาแล้ว
สิ่งที่โจทย์ให้มา สารตั้งต้น เฟอริกคลอไรด์ (FeCl3) 0.3 โมลาร์ 400 มิลลิลิตร
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) 0.5 โมลาร์ 300 มิลลิลิตร
สิ่งที่โจทย์ถาม สารที่กาหนดปริมาณ สารที่เหลือจากการทาปฏิกิริยา และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
สิ่งที่ต้องทราบก่อนหาคาตอบ คือ จานวนโมลของสารตั้งต้นที่เข้าทาปฏิกิริยา เปรียบเทียบ
สารใดใช้หมดก่อน สารนั้นเป็นสารกาหนดปริมาณ ทราบสารเหลือและผลิตภัณฑ์
ดังนั้นหาจานวนโมลของ FeCl3 และ H2S จากความเข้มข้นที่โจทย์ให้มา โดยเริ่มจาก
FeCl3 0.3 โมลาร์ 400 มิลลิลิตร หมายถึง
สารละลาย FeCl3 1,000 มิลลิลิตร มี FeCl3 0.3 โมล
ดังนั้น สารละลาย FeCl3 400 มิลลิลิตร มี FeCl3 (0.3 x 400)/1,000 = 0.12 โมล
H2S 0.5 โมลาร์ 300 มิลลิลิตร หมายถึง
สารละลาย H2S 1,000 มิลลิลิตร มี H2S 0.5 โมล
ดังนั้น สารละลาย H2S 300 มิลลิลิตร มี H2S (0.5 x 300)/1,000 = 0.15 โมล
40
จากนั้นทาการหาสารกาหนดปริมาณโดยสมมติให้สารตั้งต้นตัวใดตัวหนึ่งเป็นสารที่ใช้หมดก่อน ถ้า
คานวณแล้วปริมาณของสารตั้งต้นอีกตัวที่ใช้ทาปฏิกิริยาน้อยกว่าจานวนที่มีอยู่ในโจทย์แสดงว่าเรา
สมมติถูกต้อง แต่ถ้าตรงกันข้ามแสดงว่าเราสมมติผิด ต้องทาการสมมติใหม่ ในที่นี้สมมติ FeCl3
เป็นสารกาหนดปริมาณ
จากสมการเคมีถ้าใช้ FeCl3 2 โมล จะทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S 1 โมล
ถ้าใช้ FeCl3 0.12 โมล จะทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S = (0.12 x 1) / 2 = 0.06 โมล
จะเห็นว่าจากการคานวณเมื่อใช้ FeCl3 ทั้งหมด 0.12 โมลต้องใช้ H2S เพียง 0.06 โมล แต่โจทย์
กาหนดสารละลาย H2S มาถึง 0.15 โมล ดังนั้น FeCl3 เป็นสารกาหนดปริมาณและมี H2S เหลือ
หรือ อีกวิธีหนึ่งในการคานวณหาสารกาหนดปริมาณ คือ เปรียบเทียบ โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ
สารตั้งต้น ถ้าอัตราส่วนใดได้ผลลัพธ์น้อยกว่า แสดงว่าสารตั้งต้นตัวนั้นเป็นสารกาหนดปริมาณ
โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ FeCl3 = 0.12/2 = 0.06
โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ H2S = 0.5/1 = 0.5
จะเห็นว่า 0.06 < 0.5 ดังนั้น FeCl3 เป็นสารกาหนดปริมาณ
คาถามที่ 2 หาน้าหนักของสารที่เหลือ
จาก FeCl3 0.12 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S 0.06 โมล
ดังนั้น เหลือ H2S จากการทาปฏิกริยา = 0.15 – 0.06 = 0.09 โมล
จากความสัมพันธ์ โมล =
น้าหนักสาร (กรัม)
มวลโมเลกุล (กรัมต่อโมล)
เมื่อมวลโมเลกุลของ H2S = 34.00 กรัมต่อโมล
แทนค่า น้าหนักของ H2S ที่เหลือ = 0 .09 โมล x 34.00 กรัมต่อโมล = 3.06 กรัม
คาถามข้อที่ 3 หาน้าหนักของกามะถันที่เกิดขึ้น
การหาผลิตภัณฑ์ ต้องเทียบอัตราส่วนหาจากสารกาหนดปริมาณ ในที่นี้คือ FeCl3
จะได้จากสมการเคมีถ้าใช้ FeCl3 2 โมล จะได้ผลิตภัณฑ์ S 1 โมล
ถ้าใช้ FeCl3 0.12 โมล จะได้S = (1 x 0 .12)/2 = 0.06 โมล
เกิดผลิตภัณฑ์กามะถัน (S) 0.06 โมล ใช้ความสัมพันธ์เรื่องโมลและน้าหนักสาร
เมื่อมวลอะตอมของ S = 32.00 กรัมต่อโมล
แทนค่า หนักของ S ที่เกิดขึ้น = 0.06 โมล x 32.00 กรัมต่อโมล = 1.92 กรัม
41
ตัวอย่าง 3.14 ธาตุโมลิบดินัม (Mo) เตรียมได้จากแร่โมลิบไนต์ (MoS2) โดยการเผาเพื่อให้เกิด
ออกไซด์แล้วรีดิวซ์ออกไซด์ที่ได้ด้วยไฮโดรเจน ดังสมการ
2MoS2 + 7O2 2MoO3 + 4SO2
MoO3 + 3H2 Mo + 3H2O
ถ้ามีแก๊สออกซิเจนอยู่ 560 กรัม แก๊สไฮโดรเจน 120 กรัม และ MoS2 1,600 กรัม จงคานวณหา
น้าหนัก Mo ที่เตรียมได้ (Mo = 96.00, S = 32.00, O = 16.00, H = 1.00)
วิธีทา ทาการเชื่อมโยง 2 สมการให้สัมพันธ์กัน
2MoS2 + 7O2 2MoO3 + 4SO2
+ 2MoO3 + 6H2 2Mo + 6H2O
2MoS2 + 7O2 + 6H2 4SO2 + 2Mo + 6H2O
จากสมการรวมจะเห็นว่ามีสารตั้งต้น 3 ตัว คือ MoS2 O2 และ H2 ดังนั้นต้องทาการหาสาร
กาหนดปริมาณก่อน เริ่มจากการหาโมลของสารตั้งต้นเพื่อทาการเปรียบเทียบ โมล / สัมประสิทธ์
โมล
จานวนโมลของ O2 560 กรัม = 560 กรัม / 32.00 กรัมต่อโมล = 17.50 โมล
จานวนโมลของ H2 120 กรัม = 120 / 2.00 = 60.00 โมล
และ จานวนโมลของ MoS2 = 1,600 / 160.00 = 10.00 โมล
หาอัตราส่วน จานวนโมล / สัมประสิทธ์โมล
ของ O2 = 17.50 / 7 = 2.5 H2 = 60.00 / 6 = 10 MoS2 = 10.00 / 2 = 5
จากการคานวณอัตราส่วน โมล / สัมประสิทธ์โมล จะเป็นว่า 2.5 น้อยกว่า 5 น้อยกว่า 10
ดังนั้น จะได้ว่า O2 เป็นสารกาหนดปริมาณ จากนั้นจึงหาผลิตภัณฑ์
จากสมการเคมีถ้าใช้ O2 7 โมล สามารถเตรียม Mo ได้2 โมล
ถ้า O2 17.50 โมล สามารถเตรียม Mo ได้(17.50 x 2)/7 = 5 โมล
และจากความสัมพันธ์ โมล =
น้าหนักสาร (กรัม)
มวลโมเลกุล (กรัมต่อโมล)
แทนค่า น้าหนักของ Mo ที่เกิดขึ้น = 5 โมล x 96.00 กรัมต่อโมล = 480.00 กรัม
42
ผลผลิตร้อยละ
เปอร์เซ็นต์ผลผลิต หรือ ร้อยละของผลได้ของสารผลิตภัณฑ์ ในการคานวณหาปริมาณของ
ผลิตภัณฑ์จากสมการเคมีนั้น ค่าที่ได้เรียกว่า “ผลได้ตามทฤษฎี” (Theoretical yield) แต่ในทาง
ปฏิบัติจะได้ผลิตภัณฑ์น้อยกว่าตามทฤษฎี แต่จะได้มากหรือน้อยแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับวิธีการและ
สารเคมีที่ใช้ เรียกผลที่ได้ว่านี้ “ผลได้จริง” (Actual yield) สาหรับการรายงานผลการทดลองนั้น
จะเปรียบเทียบค่าที่ได้ตามทฤษฎีในรูปร้อยละ ซึ่งจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
ร้อยละของผลได้=
ผลได้จริง
ผลได้ตามทฤษฎี
× 100%
ร้อยละของผลได้จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 100
ตัวอย่าง 3.15 เอทิลอะซีเตตเป็นตัวทาละลายที่ใช้ในการล้างเล็บ ต้องใช้กรดอะซีติกจานวนเท่าไร
ในการเตรียมเอทิลอะซีเตต 252 กรัม จะได้ผลผลิตร้อยละที่ต้องการคือ 85% และสารตั้งต้นตัวอื่น
ได้แก่ เอทานอล และ กรดซัลฟูริก ไม่ได้เป็นสารกาหนดปริมาณ สมการที่เกิดขึ้น คือ
2 4
3 2 5 3 2 3 2
H SO
CH COOH C H OH CH COOCH CH H O
aceticacid ethanal
  
วิธีทา จากโจทย์เรารู้ผลผลิตจริงกับผลผลิตร้อยละของเอทิลอะซีเตด จากสมการ
จาก ผลผลิตร้อยละ =
ผลได้จริง
ผลได้ตามทฤษฎี
×100%
ดังนั้นแทนค่า จะได้ผลได้ตามทฤษฎี 252
100%
85.0%
g ethyl acetate
 
= 296 g ethyl acetate
เราสามารถคานวณกรดอะซีติกที่ใช้ในปฏิกิริยาเพื่อที่จะได้เอทิลอะซีเตด 296 กรัม
43
3
1 1
296
88.11 1
60.05
1
mol ethyl acetate mol aceticacid
g CH COOH g ethyl acetate
g ethyl acetate mol ethyl acetate
g aceticacid
mol aceticacid
  

= 202 g acetic acid
ตัวอย่าง 3.16 ในการผลิตสบู่ของกลุ่มแม่บ้านในโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ได้ทดลองผลิต
โดยใช้ส่วนผสมดังนี้ น้ามันพืช (C17H33COOH) 200 g, potassium hydroxide (KOH) 91.7 g
เติมกลิ่นสังเคราะห์ และได้สบู่จานวน 210 g ในการผลิตจะได้ผลผลิตร้อยละเท่าไร
วิธีทา ในการผลิตสบู่จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
C17H33COOH + KOH C17H33COOK + H2O
1 mol 1mol 1 mol 1 mol
หาสารกาหนดปริมาณ
17 33
202
0.7
282 /
91.7
1.6
56 /
g
mol C H COOH mol
g mol
g
mol KOH mol
g mol
 
 
ดังนั้น C17H33COOH เป็นสารกาหนดปริมาณ เราสามารถคานวณหาน้าหนักของสบู่ซึ่งเป็น
ผลผลิตตามทฤษฎีได้ดังนี้
โมล C17H33COOK = 0.7 mol X 321 g/mol = 224.7 g
ในการทดลองผลิตสบู่ครั้งนี้จะได้ผลผลิตร้อยละ ดังนี้
ผลผลิตร้อยละ =
ผลได้จริง
ผลได้ตามทฤษฎี
×100%
17 33
17 33
210.0
100%
224.7
93.4%
g C H COOK
g C H COOK
 

สรุป
ปริมาณสารสัมพันธ์เป็นเรื่องพื้นฐาน เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสูตรเคมี
หรือสูตรสัดส่วน และปฏิกิริยาเคมี แนวคิดของปริมาณสารสัมพันธ์คือการใช้ โมล มวลอะตอมหรือ
44
มวลโมเลกุล การหาความสัมพันธ์ระหว่างโมล มวล อะตอมและปริมาตร สมการเคมีและการดุล
สมการเคมีซึ่งจานวนอะตอมของสารตั้งต้นต้องเท่ากับจานวนอะตอมของผลิตภัณฑ์ การหาสูตร
สัดส่วน และการคานวณหาสารกาหนดปริมาณของสารตั้งต้น และการเกิดผลิตภัณฑ์หรือผลผลิต
รวมถึงการผลผลิตร้อยละ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบปริมาณผลิตภัณฑ์ระหว่างผลได้จริงกับผลได้ตาม
ทฤษฎี
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. จงคานวณจานวนโมลของปริมาณที่กาหนดให้
6.1 Sn 17.5 g 6.2 H2O 3.6 g 6.3 NaCl 50.0 g 6.4 CCl4 160.0 g
(0.147, 0.2, 0.85, 1.04)
2. จงหาน้าหนักโมเลกุลของสารต่อไปนี้ (ตอบเป็นเลขนัยสาคัญ 3 หรือ 4 ตัว และกาหนด Na =
22.99, S = 32.06, C = 12.01, H = 1.01, O = 16.01 และ Cu = 63.55)
1.1 Na2S 1.2 C6H12O6 1.3 (CuSO4·5H2O)2 (78.04 180.2 499.6)
3. สารชนิดหนึ่งมีธาตุ C และ H เท่านั้น เป็นองค์ประกอบ เมื่อนาสารนี้จานวน 1.20 กรัม มาเผาจน
ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ พบว่า เกิด CO2 3.60 กรัม และ H2O 1.96 กรัม จงหาสูตรอย่างง่ายของ
สารนี้ (C4H32O7)
4. ออกไซด์หนึ่งของไนโตรเจน มีไนโตรเจน 30.4% เป็นองค์ประกอบ จงหาสูตรเอมพิริกัลของ
สารนี้ และถ้าน้าหนักโมเลกุลของสารนี้เท่ากับ 92 จงหาสูตรโมเลกุลของสารนี้ (N = 14, O = 16)
(NO2 2NO2)
5. จงดุลสมการต่อไปนี้
5.1 ZnS + HCl ZnCl2 + H2S
5.2 HCl + Cr CrCl3 + H2
5.3 Al + Fe3O4 Al2O3 + Fe
5.4 H2 + Br2 HBr
5.5 Na2S2O3 + I2 NaI + Na2S4O6
6. สังกะสี (Zn) และกามะถัน (S) ทาปฏิกิริยากันดังสมการ
Zn + S ZnS
45
เมื่อนา Zn 12.0 กรัม มาทาปฏิกิริยากับ S 6.50 กรัม จะได้ ZnS อย่างมากที่สุดกี่กรัม ธาตุใดเป็นสาร
กาหนดปริมาณ ธาตุใดเหลือจากปฏิกิริยา และเหลือกี่กรัม (Zn = 65.4, S = 32)
(Zn, S เหลือ 0.64 กรัม)
7. จากข้อ 6 ถ้าในการผลิตจริงในโรงงาน สามารถผลิตซิงค์ซัลไฟด์ (ZnS) ได้ 16 กรัม จงหา
ผลผลิตร้อยละ (89.52 %)
เอกสารอ้างอิง
ชัยยุทธ ช่างสาร และ เลิศณรงค์ ศรีพนม. (2545). เคมีสาหรับวิศวกร. บริษัทว.เพ็ชรสกุลจากัด :
กรุงเทพมหานคร.
ทบวงมหาวิทยาลัย. (2536). เคมี 1. เล่มที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. บริษัทอักษรเจริญทัศน์ :
กรุงเทพมหานคร.
พินิติ รตะนานุกูล, นัยนา ชวนเกริกกุล, พรพรรณ อุดมกาญจนนันท์, วรวรรณ พันธุมนาวิน, สุชาดา
จูอนุวัฒนกุล, ธีรยุทธ วิไลวัลย์, นัทธมน คูณแสง และอรพินท์เจียรถาวร. (2553). เคมี. พิมพ์
ครั้งที่ 5. บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์จากัด : กรุงเทพมหานคร.
เพิ่มสิน เลิศรัฐการ, โสภิน เลิศรัฐการ, สุรศักดิ์ แก้วมีสุข และ วิมล พรมจันทร์. (2545).
TOP 100 เคมี. สานักพิมพ์PYP : กรุงเทพมหานคร.
สุนันทา วิบูลย์จันทร์. (2545). เคมี : วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์ 1. เล่มที่ 1. บริษัทเพียร์สันเอ็ด
ดูเคชั่นอินโดไชน่าจากัด : กรุงเทพมหานคร.
อัญชุลี ฉวีราช, สมศักดิ์ ศิริไชย และ นิศากร ทองก้อน. (2553). เคมี 1. บริษัทเจเอสทีพับลิชชิ่งจากัด
: กรุงเทพมหานคร.
R.T. Gilbert. (2009). Chemistry : The science in context. W.W. Norton : New York.
Uno Kask and J. David Rawn. (1993). General Chemistry. Wm. C. Brown Communications,
Inc. : United States of America.

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
Srinakharinwirot University
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
Chuanchen Malila
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
Pipat Chooto
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Bios Logos
 
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์natnardtaya
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
ORAWAN SAKULDEE
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)mintwrsr15
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
Tonson Lalitkanjanakul
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
Sircom Smarnbua
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
Kittepot
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์Miewz Tmioewr
 

Viewers also liked (20)

ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์
เฉลยวิชา วิทยาศาสตร์
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะแพทย์ กสพท. (จริยธรรม)
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์
 

Similar to บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
Saipanya school
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
Pipat Chooto
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
อิ๋ว ติวเตอร์
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
Saipanya school
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 

Similar to บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์ (20)

Metal
MetalMetal
Metal
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
5 chem formular
5 chem formular5 chem formular
5 chem formular
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
Gawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์

  • 1. 27 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 หัวข้อเนื้อหาประจาบท โมล สูตรสัดส่วน สารกาหนดปริมาณ ผลผลิตร้อยละ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทที่ 3 แล้วให้นักศึกษาสามารถ 1. สามารถคานวณเกี่ยวกับโมลได้ 2. สามารถหาสูตรอย่างง่ายได้ 3. สามารถคานวณสูตรเคมี เขียนสมการเคมีและหาความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสารที่ทา ปฏิกิริยาเคมีได้ 4. สามารถคานวณสารกาหนดปริมาณ และผลผลิตร้อยละของการผลิตได้ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3 2. ฟังบรรยายประกอบเอกสารการสอนและสื่อการสอน 3. อภิปรายและเปิดโอกาสซักถามในชั้นเรียน 4. ฝึกฝนทักษะการคิดและคานวณ โดยให้ศึกษาจากตัวอย่างในเอกสารประกอบการสอน และให้แบบฝึกหัดรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน 5. ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมด้วยตนเอง 6. มอบหมายงานให้ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
  • 2. 28 สื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้ 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมี 1 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. โปรแกรมนาเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ ประจาบทที่ 3 และชุดประกอบในการนาเสนอ 4. หนังสือ ตารา หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง การวัดและประเมินผล การวัดและการประเมินผลบทที่ 3 มีดังต่อไปนี้ 1. สังเกตจากการร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 2. ผลของการซักถามความเข้าใจในชั้นเรียน 3. ตรวจแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ทาแบบทดสอบตามที่กาหนด
  • 3. 29 บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์ ปริมาณสารสัมพันธ์หรือปริมาณสัมพันธ์เคมี มีความสาคัญต่อการหาปริมาณของสารในการ วิเคราะห์ทางเคมี เช่น การหาความเข้มข้นของสาร การวิเคราะห์หาร้อยละของธาตุในสารต่าง ๆ เช่น หาปริมาณทองคาจากแร่ หรือการหาสารกาหนดปริมาณและผลผลิตร้อยละ ต่างก็ใช้ปริมาณสาร สัมพันธ์ทั้งสิ้น โมล ก่อนจะเรียนรู้ว่าโมล คืออะไร ต้องทาความรู้จักกับอะตอม มวลโมเลกุล สูตรโมเลกุล และ น้าหนักโมเลกุลกันเสียก่อน 1. โมล เลขอะตอม มวลอะตอม โมล คือ หน่วยที่ใช้แทนจานวนอนุภาคของสารจานวน 6.02 x 1023 อนุภาค และเรียก จานวนนี้ว่า เลขอาโวกาโดร (NA) อนุภาค คือ โมเลกุล อะตอม ไอออน อิเล็กตรอน ฯลฯ ดังนั้นในการบอกปริมาณของสาร เป็นโมลจึงต้องระบุชนิดของอนุภาคด้วย อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุหรือหน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยา อะตอมประกอบด้วยแก่นกลางเรียกว่า นิวเคลียส (Nucleus) ซึ่งประกอบด้วย โปรตอน (P) และ นิวตรอน (N) และอิเล็กตรอน (Electron, e- ) วิ่งรอบนิวเคลียส เลขอะตอม คือ จานวนโปรตอนที่มีอยู่ในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ โดยทั่ว ๆ ไปมัก ใช้ Z เป็นสัญลักษณ์ ดูจากตารางธาตุ (ตัวเลขที่น้อยกว่า) เช่น 1 8 6 1 16 12, ,H O C เลขอะตอม คือ 1, 8, 6 ตามลาดับ เลขมวลหรือมวลอะตอม คือ ผลรวมของจานวนโปรตอนและนิวตรอน ที่มีอยู่ใน นิวเคลียสของอะตอมของธาตุ มักใช้ A เป็นสัญลักษณ์ ดูจากตารางธาตุ (ตัวเลขที่มากกว่า) เช่น 1 8 6 1 16 12, ,H O C มวลอะตอม คือ 1, 16, 12 ตามลาดับ ธาตุ คือ ส่วนที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถแยกลงได้อีก เช่น H He Li C O เป็นต้น ซึ่ง ประกอบอยู่ในตารางธาตุ โมเลกุล คือ เกิดจากการรวมกันของอะตอม สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. โมเลกุลอะตอมเดี่ยว ได้แก่ พวกแก๊สเฉื่อย He, Ne, Ar , Kr , Xe, Rn
  • 4. 30 2. โมเลกุลอะตอมคู่ เช่น H2, O2, N2, HCl, CO, HF 3. โมเลกุลหลายอะตอม P4, S8, H2O, CH4, C6H12O6 มวลโมเลกุล คือ ผลบวกของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุล หน่วย กรัมต่อโมล (g/mol) เช่น 1. โมเลกุลอะตอมเดี่ยว เช่น He = 4, Ne = 20.18 2. โมเลกุลอะตอมคู่ เช่น H2 = H x 2 =1 x 2 = 2 , O2 = O + O = 16+16 = 32 3. โมเลกุลหลายอะตอม เช่น P4 = P x 4 =30.1 x 4 = 120.4 H2O = (H x 2) + (O x 1) = (1 x 2) + 16 = 18 CH4 = (C x 1) + (H x 4) = 12 + (1 x4) = 16 2(H2O) = 2 x (18) = 36, (H2O)2 = 2 x (18) = 36 2. ความหมายของสมการเคมี สมการเคมีเป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น (อาจเป็ น ปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ โดยเขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ ยกตัวอย่างเช่น 22 2Mg O MgO  หมายถึง 2 อะตอมของ Mg + 2 อะตอมของ O ให้ 1 อะตอม Mg + 1 อะตอม O หรือ 2 อนุภาคของ Mg + 1 โมเลกุล O2 ให้ 2 โมเลกุล MgO หรือ 2 โมลของ Mg + 1 โมลของ O2 ให้ 2 โมลของ MgO หรือ 48.6 (24.3+24.3) กรัมของ Mg + 32 (16+16) กรัมของ O2 ให้ 80.6 [2*(24.3+16)] กรัมของ MgO 3. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง โมล มวล อะตอม และปริมาตร (ลิตร) ความสัมพันธ์ระหว่างโมล มวลของสาร จานวนอะตอม และปริมาตร สามารถเขียนในรูป ของสมการ ดังนี้ โมล = มวล (g) มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล = ปริมาตร (dm3) ที่ STP 22.4 = จานวนอนุภาค 6.02×1023 ตัวอย่าง 3.1 1 โมลของ C = 6.02 x 1023 อะตอม = 22.4 ลิตร = 12 g 1 โมลของ CO2 = 6.02 x 1023 โมเลกุล = 22.4 ลิตร = 44 g 1 โมลของ NaCl = 6.02 x 1023 โมเลกุล = 22.4 ลิตร = 58.5 g
  • 5. 31 ตัวอย่าง 3.2 จงคานวณจานวนกรัมของ 0.155 โมลของ CH4 วิธีทา มวลโมเลกุลของ CH4 = (C 1 อะตอม + H 4 อะตอม) = (12 x 1) + (4 x 1) = 16 g/mol จากความสัมพันธ์ โมล = มวลหรือน้าหนักของสาร/มวลโมเลกุล ดังนั้น จานวนกรัมของ CH4 = 16 0.155 2.48 1 g mol g mol   ตัวอย่าง 3.3 จงคานวณจานวนอะตอมของ 0.155 โมลของ CH4 วิธีทา จากความสัมพันธ์ โมล = จานวนอนุภาคหรือจานวนอะตอม/(6.02 x 1023 ) 0.155 โมล = จานวนอนุภาคหรือจานวนอะตอม/(6.02 x 1023 ) 0.155 x 6.02 x 1023 = 0.933 x 1023 = 9.33 x 1022 อะตอม ตัวอย่าง 3.4 จงคานวณปริมตรของ 0.155 โมลของ CH4 ที่ STP วิธีทา จากความสัมพันธ์ โมล = ปริมาตร/22.4 0.155 โมล = ปริมาตร/22.4 0.155 x 22.4 = 3.47 ลิตร ตัวอย่าง 3.5 จงคานวณ 1. จานวนกรัมของโซเดียม 1 อะตอม 2. จานวนอะตอมของ Cl ที่พบใน 1.38 กรัมของ MgCl2 3. จานวนลิตรของ O2 1 โมล ที่ STP วิธีทา ข้อที่ 1 จากความสัมพันธ์ มวล (g) มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล = จานวนอนุภาค 6.02×1023 ดังนั้นในข้อที่ 1. โจทย์กาหนดโซเดียม 1 อะตอม ถามหาเป็นจานวนกรัม แทนในสูตร ความสัมพันธ์ เมื่อ มวลอะตอมโซเดียม = 22.99 กรัม/โมล จะได้ 23 23 22.99 1 3.82 10 1 6.02 10 g molNa g g of Na mol Na Naatom Naatom       ข้อที่ 2 จานวนอะตอมของ Cl ที่พบใน 1.38 กรัมของ MgCl2
  • 6. 32 ในข้อที่ 2 นักศึกษาหลายคนพอเห็นโมเลกุล MgCl2 ถามว่ามี Cl กี่อะตอมมักจะตอบเลยว่า 2 ซึ่งเป็นคาตอบที่ไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้องเราต้องแปลง 1.38 กรัมของ MgCl2 ให้เป็นจานวนอนุภาค เสียก่อน นั่นคือ จานวนกรัมของ MgCl2 จานวนโมลของ MgCl2 จานวนโมเลกุลของ MgCl2 จานวนอะตอมของ Cl จานวนอะตอมของ 𝐶𝑙 ไอออน = 1.38 𝑔 𝑀𝑔𝐶𝑙2 × 1 𝑚𝑜𝑙 𝑀𝑔𝐶𝑙2 95.21 𝑔 𝑀𝑔𝐶𝑙2 × 6.02 × 1023 โมเลกุล 1 𝑚𝑜𝑙 𝑀𝑔𝐶𝑙2 × 2 𝐶𝑙 อะตอม 1 โมเลกุล = 1.75 × 1022 𝐶𝑙 อะตอม ในข้อที่ 3 ถามจานวนลิตรของ O2 1 โมล จากสูตร โมล = ลิตร/22.4 แทนค่า 1 โมล = ลิตร/22.4 ดังนั้น จานวนลิตรของ O2 = 1 x 22.4 = 22.4 ลิตร สูตรสัดส่วน สูตรสัดส่วน (Empirical formulas) หรือสูตรเอมพิริกัลหรือสูตรอย่างง่าย คือ อัตราส่วนโดย โมลอะตอมอย่างต่า เช่น C6H12O6 สูตรเอมพิริกัล คือ CH2O และสูตรโมเลกุลจะหาได้จากสูตร (สูตรเอมพิริกัล)n = มวลโมเลกุล เช่น ถ้าน้าหนักโมเลกุลของโมเลกุลสารนี้คือ 180 กรัมต่อโมล จะสามารถหาสูตรโมเลกุลได้คือ (CH2O)n = 180 (12+2+16)n = 180 30n = 180 ดังนั้น n = 180/30 = 6 จะได้สูตรโมเลกุล คือ (CH2O)6 = C6H12O6 1. การหาสูตรเอมพิริกัล มีหลักการหาสูตรเอมพิริกัล ดังนี้ 1.1 ต้องทราบสารและมวลอะตอมของธาตุที่จะหาสูตรเอมพิริกัล 1.2 ต้องทราบเปอร์เซ็นต์มวลของแต่ละธาตุในสารที่จะหาสูตร 1.3 ให้ข้อมูลจากข้อ 1.1 และ 1.2 นามาหาอัตราส่วนโดยโมล ด้วยการนามวลของแต่ละ ธาตุหารด้วยมวลอะตอมของธาตุนั้น ๆ มาเข้าอัตราส่วน 1.4 จะได้สูตรเอมพิริกัล
  • 7. 33 แต่ตัวเลขที่ได้อาจไม่ใช่เลขจานวนเต็ม ดังนั้นสาหรับการปัดจุดทศนิยมของตัวเลขในการ หาอัตราส่วนโดยโมล โดยทาตัวเลขใดตัวเลขหนึ่ง ให้เป็น 1 แล้วจึงปัดจุดทศนิยมด้วยวิธีปัด 0.1 - 0.2 ทิ้ง ถ้าเป็น 0.8 - 0.9 ปัดขึ้นอีก 1 ถ้าเป็น 0.2 - 0.8 ปัดไม่ได้ต้องหาตัวเลขที่ต่าที่สุดมาคูณตัวเลข ของอัตราส่วนโดยโมลให้มีค่าใกล้กับที่ จะปัดจุดทศนิยมได้ แล้วปัดจุดทศนิยมตัวเลขให้เป็น จานวนเต็ม อนึ่งการปัดจุดทศนิยม ถ้าตัวเลขปัดจุดทศนิยมไม่ได้ ตัวเลขทุกตัวของอัตราส่วนโดย โมลนั้นก็จะไม่ปัดจุดทศนิยม หาตัวเลขมาคูณให้ได้ตัวเลขที่จะปัดจุดทศนิยมได้อัตราส่วนโดยโมล ที่เป็นจานวนเต็มได้สูตรเอมพิริคัล ตัวอย่าง 3.6 โมเลกุลประกอบด้วย S 32% และ O 32% โดยน้าหนัก จงหาสูตรเอมพิริกัล วิธีทา ทาตามการหาสูตรเอมพิริกัล 1. ธาตุมี S กับ O 2. มวลอะตอม S = 32, O = 16 3. จากโจทย์ มวล S = 32, O = 32 4. อัตราส่วนโดยน้าหนัก S : O = 32 : 32 อัตราส่วนโดยโมล S : O = 32/32 : 32/16 = 1 : 2 นั่นคือ อัตราส่วนระหว่าง S : O คือ 1 : 2 ดังนั้น สูตรเอมพิริกัล คือ SO2 ตัวอย่าง 3.7 จากโจทย์ข้อ 3.4 ถ้ามวลโมเลกุลเท่ากับ 64 จงหาสูตรโมเลกุล วิธีทา จากสูตร (สูตรเอมพิริกัล)n = มวลโมเลกุล (SO2)n = 64 แทนค่า (32+(16x2))n = 64 64n = 64 ดังนั้น n = 1 จะได้สูตรโมเลกุล คือ (SO2)1 = SO2 ตัวอย่าง 3.8 โมเลกุลประกอบด้วย Na 60.8% H 10.7% และ B 28.5% โดยน้าหนัก จงหาสูตร เอมพิริกัล วิธีทา ทาตามการหาสูตรเอมพิริกัล 1. ธาตุมี Na, H และ B 2. มวลอะตอม Na = 23, H = 1, B = 10.81 3. จากโจทย์ มวล Na = 60.8, H = 10.7, B = 28.5
  • 8. 34 4. อัตราส่วนโดยน้าหนัก Na : H : B = 60.8 : 10.7 : 28.5 อัตราส่วนโดยโมล Na : H : B = 60.8/23 : 10.7/1 : 28.5/10.81 = 2.64 : 10.7 : 2.64 เศษอยู่ในช่วง 0.2 – 0.8 ปัดทิ้งหรือปัดขึ้นไม่ได้ ต้องเอาตัวเลขน้อยที่สุดหารตลอด ในที่นี้คือ 2.64 จะได้อัตราส่วนโดยโมล Na : H : B = 2.64/2.64 : 10.7/2.64 : 2.64/2.64 = 1 : 4.05 : 1 4.05 จานวนเศษน้อยกว่า 0.2 ดังนั้นปัดทิ้ง จะได้อัตราส่วน Na : H : B คือ 1 : 4 : 1 นั่นคือ สูตรเอมพิริกัล คือ Na1H4B1 หรือ NaH4B ตัวอย่าง 3.9 วิตามินซี (Ascobic acid) ซึ่งสามารถใช้บาบัดโรคลักปิ ดลักเปิ ดได้ ประกอบด้วย คาร์บอน (C) ร้อยละ 40.92 ไฮโดรเจน (H) ร้อยละ 4.58 และออกซิเจน (O) ร้อยละ 54.50 โดยมวล จงหาสูตรเอมพิริกัลของ Ascobic acid วิธีทา อัตราส่วนโดยมวลของ C : H : O = 40.92 : 4.58 : 54.50 อัตราส่วนโดยโมลของ C : H : O = 40.92/12 : 4.58/1 : 54.50/16 = 3.407 : 4.54 : 3.406 (เอา 3.406 หารตลอด) = 1 : 1.33 : 1 (เอา 3 คูณตลอด) = 3 : 4 : 3 ดังนั้นสูตรเอมพิริกัลป์ ของ Ascobic acid คือ C3H4O3 สารกาหนดปริมาณ เมื่อทราบปริมาณสารสัมพันธ์ในองค์ประกอบหรือความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างธาตุใน สารประกอบแล้ว นามาสู่การเรียนรู้ถึงปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยา (Reaction Stoichiometry) หรือ ความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสารที่มีส่วนร่วมในปฏิกิริยา ซึ่งปฏิกิริยาประกอบด้วยสารตั้งต้นและ ผลิตภัณฑ์ เขียนอยู่ในรูปสมการเคมี 1. สมการเคมี
  • 9. 35 สมการเคมี คือ กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี ให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทาง เคมีที่เกิดขึ้นในระบบ สมการเคมีประกอบด้วยสัญลักษณ์ แสดงสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ เงื่อนไข แสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น พร้อมด้วยลูกศรทิศทางแสดงของปฏิกิริยา สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ Zn (s) + 2HCl (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g) สารที่เขียนทางซ้ายมือของลูกศร เรียกว่า สารตั้งต้น สารที่เขียนทางขวามือของลูกศร เรียกว่า สารผลิตภัณฑ์ และ เครื่องหมาย + หมายถึงทาปฏิกิริยากัน ส่วนเครื่องหมาย แสดงการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ สมการเคมีสามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ สมการโมเลกุล (Molecule equation) เป็นสมการ เคมีของปฏิกิริยาที่มาของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เป็นรูปอะตอม หรือโมเลกุล เช่น 2NaHCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g) และอีกแบบคือ สมการไอออนิก (Ionic equation) เป็นสมการเคมีของปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นและ ผลิตภัณฑ์ อย่างน้อง 1 ชนิดเป็นไอออน เช่น H+ (aq) + OH- (aq) 2H2O (l) สมการเคมีที่สมบูรณ์ จะต้องมีจานวนอะตอมของแต่ละธาตุทางซ้ายและขวาเท่ากัน เรียกว่า สมดุล เคมี ซึ่งวิธีการดุลสมการเคมีทั่วไป ทาได้โดย เขียนสูตรเคมีที่ถูกต้องของสารตั้งต้นและสาร ผลิตภัณฑ์ ซึ่งสูตรเคมีนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง จากนั้นดุลสมการโดยหาตัวเลขสัมประสิทธิ์มาเติม ข้างหน้าสูตรเคมี เพื่อทาให้อะตอมชนิดเดียวกันทั้งซ้ายและขวาของสมการมีจานวนเท่ากัน และให้ คิดไอออนที่เป็นกลุ่มอะตอมเปรียบเสมือนหนึ่งหน่วย ถ้าไอออนนั้นไม่แตกกลุ่มออกมาในปฏิกิริยา หลังจากเติมเลขสัมประสิทธิ์เรียบร้อย ขั้นสุดท้ายต้องตรวจสอบอีกครั้งว่าถูกต้องโดยมีจานวน อะตอมชนิดเดียวกันเท่ากันทั้งสองข้าง
  • 10. 36 ตัวอย่าง 3.10 อะลูมิเนียมซึ่งเป็นโลหะที่ว่องไวต่อปฏิกิริยากับกรด เมื่ออะลูมิเนียมทาปฏิกิริยากับ กรดซัลฟิวริก จะเกิดแก๊สไฮโดรเจนและอะลูมิเนียมซัลเฟต จงเขียนและดุลสมการของปฏิกิริยานี้ วิธีทา (1) เขียนสูตรสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ Al + H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3 นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 1 อะตอม H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม จะเห็นว่าจานวนอะตอมธาตุซ้ายและขวาไม่เท่ากัน ดังนั้นมาเริ่มดุลสมการโดยเริ่มจาก Al คือ หา เลขสัมประสิทธิ์มาเติมหน้า Al ด้านซ้าย (2) ดุลจานวนอะตอม Al 2Al + H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3 นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม จะเห็นว่า Al มีจานวนเท่ากันแล้วทั้งซ้ายและขวา ขั้นต่อมาคือดุล SO4 โดยนา 3 มาเติมหน้าโมเลกุล ของ H2SO4 (3) ดุลจานวนกลุ่มไอออน SO4 2- 2Al + 3H2SO4 H2(g) + Al2(SO4)3 นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 2 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม จะเห็นว่าทุกตัวมีจานวนอะตอมเท่ากันแล้ว ยกเว้น H ดังนั้นดุล H โดยนาเลขสัมประสิทธิ์มาเติม (4) ดุลจานวนอะตอม H 2Al + 3H2SO4 3H2(g) + Al2(SO4)3 นับจานวนอะตอม ด้านซ้ายประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม ด้านขวาประกอบด้วย Al 2 อะตอม H 6 อะตอม S 3 อะตอม และ O 12 อะตอม จะเห็นว่าจานวนอะตอมทั้งซ้าย (สารตั้งต้น) และขวา (ผลิตภัณฑ์) เท่ากันแล้ว แบบนี้เรียกว่า สมการ เคมีที่ดุลแล้ว นอกจากการดุลสมการเคมีแล้ว ในการเขียนสมการเคมี ถ้าให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรบอก สถานะของสารแต่ล่ะชนิดด้วยคือถ้าเป็นของแข็ง (solid) ใช้ตัวอักษรย่อว่า "s" ถ้าเป็นของเหลว (liquid) ใช้อักษรย่อว่า "l" เป็นแก๊ส (gas) ใช้อักษรย่อว่า "g" และถ้าเป็นสารละลายในน้า (aqueous) ใช้อักษรย่อว่า "aq" เช่น CaC2(s) + 2H2O(g) ----> Ca(OH)2(aq) + C2H2(g) และ การเขียนสมการบางครั้งจะแสดงพลังงานของปฏิกิริยาเคมีด้วย เช่น
  • 11. 37 2NH3(g) + 93 kJ ----> N2(g) + 3H2(g) ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 93 kJ (สลายสารตั้งต้น) CH4(g) + 2O2 ----> CO2(g) + 2H2O(l) + 889.5 kJ ป ฏิ กิ ริ ยาคายพ ลังงาน = 889.5 (สร้างสารผลิตภัณฑ์) 2. สารกาหนดปริมาณ (Limiting Reagent) สารที่เข้าทาปฏิกิริยามีปริมาณไม่พอดีกัน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะสิ้นสุดเมื่อสารใดสารหนึ่ง หมด สารที่หมดก่อนจะเป็นตัวกาหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเรียกว่า “สารกาหนดปริมาณ” สารกาหนดปริมาณในการเกิดปฏิกิริยา เป็นการคานวณสารจากสมการของปฏิกิริยาที่ โจทย์บอกข้อมูลเกี่ยวกับสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด ลักษณะโจทย์มี 2 แบบ คือ 2.1 โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด แต่ไม่บอกข้อมูลเกี่ยวกับสาร ผลิตภัณฑ์ ในการคานวณต้องพิจารณา ว่าสารใดถูกใช้ทาปฏิกิริยาหมด แล้วจึงใช้สารนั้นเป็นหลัก ในการคานวณสิ่งที่ต้องการจากสมการได้ 2.2 โจทย์บอกข้อมูลของสารตั้งต้นมาให้มากกว่าหนึ่งชนิด และบอกข้อมูลของสาร ผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งมาให้ด้วย ในการคานวณให้ใช้ข้อมูลจากสารผลิตภัณฑ์เป็นเกณฑ์ใน การเทียบหาสิ่งที่ต้องการจากสมการเคมี ตัวอย่าง 3.11 2H + O = H2O ถ้ามี H 4 อะตอม + O 4 อะตอม จะผลิตน้าได้ 2H2O และเหลือ H 0 อะตอม O 2 อะตอม จะเห็นว่า H ใช้หมดก่อน ดังนั้น H เป็นสารกาหนดปริมาณเพื่อผลิตน้า ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์
  • 12. 38 ตัวอย่าง 3.12 ยูเรีย [(NH2)2 CO] เป็นสารที่ใช้สาหรับการทาปุ๋ ย และอุตสาหกรรมโพลิเมอร์ เตรียม ได้จากปฏิกิริยาระหว่าง แอมโมเนีย กับ คาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ 2NH3 (g) + CO2 (g) (NH2)2 CO (aq) + H2O (l) ถ้าให้ NH3 637.2 กรัม ทาปฏิกิริยากับ CO2 1,142 กรัม จงหาสารใดเป็นสารกาหนดปริมาณ และ จงคานวณมวลของ (NH2)2 CO ที่เกิดขึ้น เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดจะมีสารใดเหลือจากปฏิกิริยาและเหลือ กี่กรัม วิธีทา ก. จากโจทย์พบว่า สมการได้ผ่านการดุลมาแล้ว หาจานวนโมลของ NH3 และ CO2 มวลโมเลกุลของ NH3 = 17.00, มวลโมเลกุลของ CO2 = 44.00 จานวนโมลของ NH3 = 637.2/17.00 = 37.42 โมล จานวนโมลของ CO2 = 1,142/44.00 = 25.95 โมล จากสมการ NH3 2 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 1 โมล ดังนั้น NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 37.42 x 1 = 18.71 โมล แต่โจทย์กาหนดสารละลาย CO2 มาถึง 28.95 โมล ดังนั้น NH3 เป็นสารกาหนดปริมาณ และ CO 2 เป็นสารเกินพอ หรือ คิดจาก โมล / โมลสัมประสิทธิ์ ของสารตั้งต้น ถ้าตัวไหนมีตัวเลขน้อยกว่าตัวนั้นเป็น สารกาหนดปริมาณ ซึ่งจะได้โมล/สัมประสิทธิ์โมลของ NH3 = 37.42/2 = 18.71 และ โมล/สัมประสิทธิ์โมลของ CO2 = 25.95/1 = 25.95 จะเป็นว่า 18.71 < 25.95 ดังนั้น NH3 เป็นสารกาหนดปริมาณ ข. จาก NH3 2 โมลทาปฏิกริยาได้( NH2 )2 CO 1 โมล ดังนั้น NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาได้ ( NH2 )2 CO (1 x 37.42)/2 = 18.71 โมล
  • 13. 39 มวลโมเลกุลของ ( NH2 )2 CO = 60.00 น้าหนักของ ( NH 2 )2 CO ที่เกิดขึ้น = 18.71 x 60.00 = 1,122.6 กรัม ค. จาก NH3 37.42 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ CO2 18.71 โมล ดังนั้น เหลือ CO2 จากการทาปฏิกริยา = 25.95 – 18.71 = 7.24 โมล น้าหนักของ CO2 ที่เหลือ = 7.24 x 44.00 = 318.56 กรัม ตัวอย่าง 3.13 เมื่อผสมสารละลายเฟอริกคลอไรด์ 0.3 โมล/ลิตร จานวน 400 มิลลิลิตร กับสารละลาย ไฮโดรเจนซัลไฟด์ 0.5 โมล/ลิตร จานวน 300 มิลลิลิตร จงหาว่า สารใดเป็นสารกาหนดปริมาณสาร ใดเหลือจากปฏิกิริยาและเหลือกี่กรัม และมีกามะถันเกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้เท่าใด จากสมการ 2FeCl3 (aq) + H2S (aq) ---> 2FeCl2 (aq) + 2HCl (aq) + S (s) วิธีทา จากโจทย์พบว่า สมการได้ผ่านการดุลมาแล้ว สิ่งที่โจทย์ให้มา สารตั้งต้น เฟอริกคลอไรด์ (FeCl3) 0.3 โมลาร์ 400 มิลลิลิตร ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) 0.5 โมลาร์ 300 มิลลิลิตร สิ่งที่โจทย์ถาม สารที่กาหนดปริมาณ สารที่เหลือจากการทาปฏิกิริยา และผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น สิ่งที่ต้องทราบก่อนหาคาตอบ คือ จานวนโมลของสารตั้งต้นที่เข้าทาปฏิกิริยา เปรียบเทียบ สารใดใช้หมดก่อน สารนั้นเป็นสารกาหนดปริมาณ ทราบสารเหลือและผลิตภัณฑ์ ดังนั้นหาจานวนโมลของ FeCl3 และ H2S จากความเข้มข้นที่โจทย์ให้มา โดยเริ่มจาก FeCl3 0.3 โมลาร์ 400 มิลลิลิตร หมายถึง สารละลาย FeCl3 1,000 มิลลิลิตร มี FeCl3 0.3 โมล ดังนั้น สารละลาย FeCl3 400 มิลลิลิตร มี FeCl3 (0.3 x 400)/1,000 = 0.12 โมล H2S 0.5 โมลาร์ 300 มิลลิลิตร หมายถึง สารละลาย H2S 1,000 มิลลิลิตร มี H2S 0.5 โมล ดังนั้น สารละลาย H2S 300 มิลลิลิตร มี H2S (0.5 x 300)/1,000 = 0.15 โมล
  • 14. 40 จากนั้นทาการหาสารกาหนดปริมาณโดยสมมติให้สารตั้งต้นตัวใดตัวหนึ่งเป็นสารที่ใช้หมดก่อน ถ้า คานวณแล้วปริมาณของสารตั้งต้นอีกตัวที่ใช้ทาปฏิกิริยาน้อยกว่าจานวนที่มีอยู่ในโจทย์แสดงว่าเรา สมมติถูกต้อง แต่ถ้าตรงกันข้ามแสดงว่าเราสมมติผิด ต้องทาการสมมติใหม่ ในที่นี้สมมติ FeCl3 เป็นสารกาหนดปริมาณ จากสมการเคมีถ้าใช้ FeCl3 2 โมล จะทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S 1 โมล ถ้าใช้ FeCl3 0.12 โมล จะทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S = (0.12 x 1) / 2 = 0.06 โมล จะเห็นว่าจากการคานวณเมื่อใช้ FeCl3 ทั้งหมด 0.12 โมลต้องใช้ H2S เพียง 0.06 โมล แต่โจทย์ กาหนดสารละลาย H2S มาถึง 0.15 โมล ดังนั้น FeCl3 เป็นสารกาหนดปริมาณและมี H2S เหลือ หรือ อีกวิธีหนึ่งในการคานวณหาสารกาหนดปริมาณ คือ เปรียบเทียบ โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ สารตั้งต้น ถ้าอัตราส่วนใดได้ผลลัพธ์น้อยกว่า แสดงว่าสารตั้งต้นตัวนั้นเป็นสารกาหนดปริมาณ โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ FeCl3 = 0.12/2 = 0.06 โมล/โมลสัมประสิทธิ์ ของ H2S = 0.5/1 = 0.5 จะเห็นว่า 0.06 < 0.5 ดังนั้น FeCl3 เป็นสารกาหนดปริมาณ คาถามที่ 2 หาน้าหนักของสารที่เหลือ จาก FeCl3 0.12 โมลทาปฏิกริยาพอดีกับ H2S 0.06 โมล ดังนั้น เหลือ H2S จากการทาปฏิกริยา = 0.15 – 0.06 = 0.09 โมล จากความสัมพันธ์ โมล = น้าหนักสาร (กรัม) มวลโมเลกุล (กรัมต่อโมล) เมื่อมวลโมเลกุลของ H2S = 34.00 กรัมต่อโมล แทนค่า น้าหนักของ H2S ที่เหลือ = 0 .09 โมล x 34.00 กรัมต่อโมล = 3.06 กรัม คาถามข้อที่ 3 หาน้าหนักของกามะถันที่เกิดขึ้น การหาผลิตภัณฑ์ ต้องเทียบอัตราส่วนหาจากสารกาหนดปริมาณ ในที่นี้คือ FeCl3 จะได้จากสมการเคมีถ้าใช้ FeCl3 2 โมล จะได้ผลิตภัณฑ์ S 1 โมล ถ้าใช้ FeCl3 0.12 โมล จะได้S = (1 x 0 .12)/2 = 0.06 โมล เกิดผลิตภัณฑ์กามะถัน (S) 0.06 โมล ใช้ความสัมพันธ์เรื่องโมลและน้าหนักสาร เมื่อมวลอะตอมของ S = 32.00 กรัมต่อโมล แทนค่า หนักของ S ที่เกิดขึ้น = 0.06 โมล x 32.00 กรัมต่อโมล = 1.92 กรัม
  • 15. 41 ตัวอย่าง 3.14 ธาตุโมลิบดินัม (Mo) เตรียมได้จากแร่โมลิบไนต์ (MoS2) โดยการเผาเพื่อให้เกิด ออกไซด์แล้วรีดิวซ์ออกไซด์ที่ได้ด้วยไฮโดรเจน ดังสมการ 2MoS2 + 7O2 2MoO3 + 4SO2 MoO3 + 3H2 Mo + 3H2O ถ้ามีแก๊สออกซิเจนอยู่ 560 กรัม แก๊สไฮโดรเจน 120 กรัม และ MoS2 1,600 กรัม จงคานวณหา น้าหนัก Mo ที่เตรียมได้ (Mo = 96.00, S = 32.00, O = 16.00, H = 1.00) วิธีทา ทาการเชื่อมโยง 2 สมการให้สัมพันธ์กัน 2MoS2 + 7O2 2MoO3 + 4SO2 + 2MoO3 + 6H2 2Mo + 6H2O 2MoS2 + 7O2 + 6H2 4SO2 + 2Mo + 6H2O จากสมการรวมจะเห็นว่ามีสารตั้งต้น 3 ตัว คือ MoS2 O2 และ H2 ดังนั้นต้องทาการหาสาร กาหนดปริมาณก่อน เริ่มจากการหาโมลของสารตั้งต้นเพื่อทาการเปรียบเทียบ โมล / สัมประสิทธ์ โมล จานวนโมลของ O2 560 กรัม = 560 กรัม / 32.00 กรัมต่อโมล = 17.50 โมล จานวนโมลของ H2 120 กรัม = 120 / 2.00 = 60.00 โมล และ จานวนโมลของ MoS2 = 1,600 / 160.00 = 10.00 โมล หาอัตราส่วน จานวนโมล / สัมประสิทธ์โมล ของ O2 = 17.50 / 7 = 2.5 H2 = 60.00 / 6 = 10 MoS2 = 10.00 / 2 = 5 จากการคานวณอัตราส่วน โมล / สัมประสิทธ์โมล จะเป็นว่า 2.5 น้อยกว่า 5 น้อยกว่า 10 ดังนั้น จะได้ว่า O2 เป็นสารกาหนดปริมาณ จากนั้นจึงหาผลิตภัณฑ์ จากสมการเคมีถ้าใช้ O2 7 โมล สามารถเตรียม Mo ได้2 โมล ถ้า O2 17.50 โมล สามารถเตรียม Mo ได้(17.50 x 2)/7 = 5 โมล และจากความสัมพันธ์ โมล = น้าหนักสาร (กรัม) มวลโมเลกุล (กรัมต่อโมล) แทนค่า น้าหนักของ Mo ที่เกิดขึ้น = 5 โมล x 96.00 กรัมต่อโมล = 480.00 กรัม
  • 16. 42 ผลผลิตร้อยละ เปอร์เซ็นต์ผลผลิต หรือ ร้อยละของผลได้ของสารผลิตภัณฑ์ ในการคานวณหาปริมาณของ ผลิตภัณฑ์จากสมการเคมีนั้น ค่าที่ได้เรียกว่า “ผลได้ตามทฤษฎี” (Theoretical yield) แต่ในทาง ปฏิบัติจะได้ผลิตภัณฑ์น้อยกว่าตามทฤษฎี แต่จะได้มากหรือน้อยแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับวิธีการและ สารเคมีที่ใช้ เรียกผลที่ได้ว่านี้ “ผลได้จริง” (Actual yield) สาหรับการรายงานผลการทดลองนั้น จะเปรียบเทียบค่าที่ได้ตามทฤษฎีในรูปร้อยละ ซึ่งจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้ ร้อยละของผลได้= ผลได้จริง ผลได้ตามทฤษฎี × 100% ร้อยละของผลได้จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 100 ตัวอย่าง 3.15 เอทิลอะซีเตตเป็นตัวทาละลายที่ใช้ในการล้างเล็บ ต้องใช้กรดอะซีติกจานวนเท่าไร ในการเตรียมเอทิลอะซีเตต 252 กรัม จะได้ผลผลิตร้อยละที่ต้องการคือ 85% และสารตั้งต้นตัวอื่น ได้แก่ เอทานอล และ กรดซัลฟูริก ไม่ได้เป็นสารกาหนดปริมาณ สมการที่เกิดขึ้น คือ 2 4 3 2 5 3 2 3 2 H SO CH COOH C H OH CH COOCH CH H O aceticacid ethanal    วิธีทา จากโจทย์เรารู้ผลผลิตจริงกับผลผลิตร้อยละของเอทิลอะซีเตด จากสมการ จาก ผลผลิตร้อยละ = ผลได้จริง ผลได้ตามทฤษฎี ×100% ดังนั้นแทนค่า จะได้ผลได้ตามทฤษฎี 252 100% 85.0% g ethyl acetate   = 296 g ethyl acetate เราสามารถคานวณกรดอะซีติกที่ใช้ในปฏิกิริยาเพื่อที่จะได้เอทิลอะซีเตด 296 กรัม
  • 17. 43 3 1 1 296 88.11 1 60.05 1 mol ethyl acetate mol aceticacid g CH COOH g ethyl acetate g ethyl acetate mol ethyl acetate g aceticacid mol aceticacid     = 202 g acetic acid ตัวอย่าง 3.16 ในการผลิตสบู่ของกลุ่มแม่บ้านในโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ได้ทดลองผลิต โดยใช้ส่วนผสมดังนี้ น้ามันพืช (C17H33COOH) 200 g, potassium hydroxide (KOH) 91.7 g เติมกลิ่นสังเคราะห์ และได้สบู่จานวน 210 g ในการผลิตจะได้ผลผลิตร้อยละเท่าไร วิธีทา ในการผลิตสบู่จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ C17H33COOH + KOH C17H33COOK + H2O 1 mol 1mol 1 mol 1 mol หาสารกาหนดปริมาณ 17 33 202 0.7 282 / 91.7 1.6 56 / g mol C H COOH mol g mol g mol KOH mol g mol     ดังนั้น C17H33COOH เป็นสารกาหนดปริมาณ เราสามารถคานวณหาน้าหนักของสบู่ซึ่งเป็น ผลผลิตตามทฤษฎีได้ดังนี้ โมล C17H33COOK = 0.7 mol X 321 g/mol = 224.7 g ในการทดลองผลิตสบู่ครั้งนี้จะได้ผลผลิตร้อยละ ดังนี้ ผลผลิตร้อยละ = ผลได้จริง ผลได้ตามทฤษฎี ×100% 17 33 17 33 210.0 100% 224.7 93.4% g C H COOK g C H COOK    สรุป ปริมาณสารสัมพันธ์เป็นเรื่องพื้นฐาน เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสูตรเคมี หรือสูตรสัดส่วน และปฏิกิริยาเคมี แนวคิดของปริมาณสารสัมพันธ์คือการใช้ โมล มวลอะตอมหรือ
  • 18. 44 มวลโมเลกุล การหาความสัมพันธ์ระหว่างโมล มวล อะตอมและปริมาตร สมการเคมีและการดุล สมการเคมีซึ่งจานวนอะตอมของสารตั้งต้นต้องเท่ากับจานวนอะตอมของผลิตภัณฑ์ การหาสูตร สัดส่วน และการคานวณหาสารกาหนดปริมาณของสารตั้งต้น และการเกิดผลิตภัณฑ์หรือผลผลิต รวมถึงการผลผลิตร้อยละ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบปริมาณผลิตภัณฑ์ระหว่างผลได้จริงกับผลได้ตาม ทฤษฎี แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 1. จงคานวณจานวนโมลของปริมาณที่กาหนดให้ 6.1 Sn 17.5 g 6.2 H2O 3.6 g 6.3 NaCl 50.0 g 6.4 CCl4 160.0 g (0.147, 0.2, 0.85, 1.04) 2. จงหาน้าหนักโมเลกุลของสารต่อไปนี้ (ตอบเป็นเลขนัยสาคัญ 3 หรือ 4 ตัว และกาหนด Na = 22.99, S = 32.06, C = 12.01, H = 1.01, O = 16.01 และ Cu = 63.55) 1.1 Na2S 1.2 C6H12O6 1.3 (CuSO4·5H2O)2 (78.04 180.2 499.6) 3. สารชนิดหนึ่งมีธาตุ C และ H เท่านั้น เป็นองค์ประกอบ เมื่อนาสารนี้จานวน 1.20 กรัม มาเผาจน ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ พบว่า เกิด CO2 3.60 กรัม และ H2O 1.96 กรัม จงหาสูตรอย่างง่ายของ สารนี้ (C4H32O7) 4. ออกไซด์หนึ่งของไนโตรเจน มีไนโตรเจน 30.4% เป็นองค์ประกอบ จงหาสูตรเอมพิริกัลของ สารนี้ และถ้าน้าหนักโมเลกุลของสารนี้เท่ากับ 92 จงหาสูตรโมเลกุลของสารนี้ (N = 14, O = 16) (NO2 2NO2) 5. จงดุลสมการต่อไปนี้ 5.1 ZnS + HCl ZnCl2 + H2S 5.2 HCl + Cr CrCl3 + H2 5.3 Al + Fe3O4 Al2O3 + Fe 5.4 H2 + Br2 HBr 5.5 Na2S2O3 + I2 NaI + Na2S4O6 6. สังกะสี (Zn) และกามะถัน (S) ทาปฏิกิริยากันดังสมการ Zn + S ZnS
  • 19. 45 เมื่อนา Zn 12.0 กรัม มาทาปฏิกิริยากับ S 6.50 กรัม จะได้ ZnS อย่างมากที่สุดกี่กรัม ธาตุใดเป็นสาร กาหนดปริมาณ ธาตุใดเหลือจากปฏิกิริยา และเหลือกี่กรัม (Zn = 65.4, S = 32) (Zn, S เหลือ 0.64 กรัม) 7. จากข้อ 6 ถ้าในการผลิตจริงในโรงงาน สามารถผลิตซิงค์ซัลไฟด์ (ZnS) ได้ 16 กรัม จงหา ผลผลิตร้อยละ (89.52 %) เอกสารอ้างอิง ชัยยุทธ ช่างสาร และ เลิศณรงค์ ศรีพนม. (2545). เคมีสาหรับวิศวกร. บริษัทว.เพ็ชรสกุลจากัด : กรุงเทพมหานคร. ทบวงมหาวิทยาลัย. (2536). เคมี 1. เล่มที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. บริษัทอักษรเจริญทัศน์ : กรุงเทพมหานคร. พินิติ รตะนานุกูล, นัยนา ชวนเกริกกุล, พรพรรณ อุดมกาญจนนันท์, วรวรรณ พันธุมนาวิน, สุชาดา จูอนุวัฒนกุล, ธีรยุทธ วิไลวัลย์, นัทธมน คูณแสง และอรพินท์เจียรถาวร. (2553). เคมี. พิมพ์ ครั้งที่ 5. บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์จากัด : กรุงเทพมหานคร. เพิ่มสิน เลิศรัฐการ, โสภิน เลิศรัฐการ, สุรศักดิ์ แก้วมีสุข และ วิมล พรมจันทร์. (2545). TOP 100 เคมี. สานักพิมพ์PYP : กรุงเทพมหานคร. สุนันทา วิบูลย์จันทร์. (2545). เคมี : วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์ 1. เล่มที่ 1. บริษัทเพียร์สันเอ็ด ดูเคชั่นอินโดไชน่าจากัด : กรุงเทพมหานคร. อัญชุลี ฉวีราช, สมศักดิ์ ศิริไชย และ นิศากร ทองก้อน. (2553). เคมี 1. บริษัทเจเอสทีพับลิชชิ่งจากัด : กรุงเทพมหานคร. R.T. Gilbert. (2009). Chemistry : The science in context. W.W. Norton : New York. Uno Kask and J. David Rawn. (1993). General Chemistry. Wm. C. Brown Communications, Inc. : United States of America.