SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
507213
น้ำเคลือบเบื้องต้น
(Basic Glazes)
บทที่ 3 กระบวนกำรผลิตเคลือบ (Glaze
Manufacturing)
ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์
โปรแกรมวิชำเทคโนโลยีเซรำมิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ
outline
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
1. เครื่องชั่ง (Balance) หรือเครื่องตวงวัด (Scale)
2. ถังใส่เคลือบมีฝำปิ ด หรือถุงพลำสติก
3. ตะแกรงกรองน้ำเคลือบ (Sieve)
4. หม้อบดเคลือบ (Pot-mill)
5. โกร่งบดเคลือบปอร์ซเลนและด้ำมบด (Mortar & pestle)
6. ปำกกำเคมี
7. ยำงรัด
8. เครื่องกวนเคลือบไฟฟ้ ำ (Rapid Mixer)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
1. เครื่องชั่ง (Balance) หรือเครื่องตวงวัด (Scale)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
2. ถังใส่เคลือบมีฝำปิ ด หรือถุงพลำสติก
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
3. ตะแกรงกรองน้ำเคลือบ (Sieve)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
4. หม้อบดเคลือบ (Pot-mill)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
5. โกร่งบดเคลือบปอร์ซเลนและด้ำมบด (Mortar & pestle)
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
6. ปำกกำเคมี
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
7. ยำงรัด
เครื่องมือที่ใช้ในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
8. เครื่องกวนเคลือบไฟฟ้ ำ (Rapid Mixer)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
Na2O
• แร่ฟันม้ำ (Soda feldspar) , โซดำแอช (Na2CO3)
• โซเดียมคลอไรด์ (Nacl) , บอแรกซ์ (Borax) , เนฟิลีนไซด์ไนท์ (nepheline
Syenite)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
K2O
• แร่ฟันม้ำ (Potash feldspar) , โปตัสเซียมคำร์บอเนต (K2CO3)
• เนฟิลีนไซไนท์ (nepheline syenite)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
CaO
• ไวติ้ง (Whiting) , หินปูน (limestone) , วอลลัสโตไนท์
(Wollastonite:CaSiO3)
• โดโลไมล์ (Dotomite:CaCO3.MgCO3)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
MgO
• แมกนีเซียมคำร์บอเนต (Magnesium carbonate : MgCO3)
• โดโลไมต์ (dolomite:CaCO3.MgCO3) , ทัลก์ (talc :3MgO.4 SiO2-
H2O)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
ZnO
• ซิงค์ออกไซด์ (Zinc oxide : ZnO)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
BaO
• แบเรียมคำร์บอเนต (Barium carbonate : BaCO3)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
PbO
• ตะกั่วแดง (red lead : Pb3O4) , ตะกั่วขำว (white lead)
• ตะกั่วซิลิเกต (lead silicate)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
AI2O3
• แร่ฟันม้ำ (feldspar) , ดินขำว (clay) , อะลูมินำ (alumina)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
SiO2
• แร่ฟันม้ำ (feldspar) , ดินขำว (clay) , ฟลินต์ (flint) , ฟริต (frit)
วัตถุดิบในกำรเตรียมน้ำเคลือบ
B2O3
• บอแรกซ์ (Borax) , กรดบอริค (Boric acid) , ฟริต (frit)
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรเตรียมเคลือบ
• การเตรียมเคลือบนิยมใช้วิธีบดเปียก
• โดยการนาส่วนผสมและน้าใส่ลงในหม้อบดที่มีลูกบดขนาดต่าง ๆ อยู่ น้าเคลือบต้องการการบดที่
พอเหมาะ เพื่อให้ได้ความละเอียดและความข้นใสที่เหมาะสมกับการใช้งาน
• ดังนั้นการทดลองจึงเป็นสิ่งที่จาเป็น โดยต้องคานึงถึงส่วนสาคัทที่มีอิทธิพลต่อผลของการบด
• ปริมาณของส่วนผสมความแข็งของวัตถุดิบ
• ปริมาณและชนิดของดิน
• ขนาดของหม้อ
• ความเร็ว/รอบของหม้อบด
• ขนาดและปริมาณลูกบด
• ปริมาณน้าที่ใช้
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรเตรียมเคลือบ
• ความเร็ว/รอบของหม้อบด (Speed of the Mill) ทาให้การเคลื่อนตัวของลูกบดแตกต่างกัน ดังนี้
1.1 Slow Speed 1.2 Normal Speed 1.3 Rapid
Speed
ลูกบดจะถูกเหวี่ยงให้เคลื่อน
ตัวขึ้นเพียงเล็กน้อย แล้วจะตก
ลงมา
ลูกบดจะถูกเหวี่ยงให้
เคลื่อนตัวไปมากขึ้น
และจะตกลงมากระทบกัน
ลูกบดจะถูกเหวี่ยงไปรอบๆ หม้อบด
การบดจะมีประสิทธิภาพสูงเมื่อพื้นที่ผิวของลูกบดเกิดการกระทบกันมากขณะที่ทาการบด
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
ขั้นตอนในกำรบด
• เพื่อให้การบดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลดเวลาที่ใช้ในการบด
• ควรบดวัตถุดิบที่มีความแข็งและหยาบก่อน วัตถุดิบเหล่านี้ได้แก่ frit, flint, color oxide เป็นต้น
และเพื่อป้ องกันการจับตัวกัน ควรเติมดินในส่วนผสมเข้าไปบดในเวลาเดียวกันด้วย
• ใช้น้าประมาณ 10 – 30% ของน้าหนักวัตถุดิบในหม้อบด
• เมื่อได้ความละเอียดหรือบดครบชั่วโมงตามที่กาหนดไว้ จึงใส่วัตถุดิบส่วนที่เหลือซึ่งมีความแข็งน้อย
และค่อนข้างละเอียดลงไป
• เวลาที่ใช้ในการบดแต่ละครั้งต้องนานพอที่จะทาให้เกิดการบดอย่างสมบูรณ์
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
ขนำดและจำนวนลูกบด (Size and charge of ball)
• จากการใช้ลูกบดขนาด 1½ นิ้ว และ 3 นิ้ว ทาการบด frit ชนิดเดียวกัน
• พบว่าการใช้ลูกบดขนาด 1½ นิ้ว ใช้เวลาในการบดน้อยกว่าลูกบดขนาด 3 นิ้ว ถึง 67%
โดยที่มี frit ที่ยังบดไม่ละเอียดเหลืออยู่เท่าๆ กัน ประมาณ 1 – 2% ทั้ง 2 ตัวอย่าง
• จานวนลูกบดที่ทาให้การบดมีประสิทธิภาพ จะใช้ประมาณ 55 – 62.5% ของปริมาตร
ของหม้อบด
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
ปริมำณน้ำที่ใช้ (Water content)
• ไม่สามารถกาหนดปริมาณที่แน่นอนได้ ต้องแปรไปตามวัตถุดิบของส่วนผสม ทั้งนี้ต้อง
คานึงว่าจะทาให้การบดมีประสิทธิภาพและใช้เวลาในการบดน้อยที่สุด
• เมื่อผ่านขบวนการบดแล้ว น้าเคลือบจะต้องมีความละเอียดจนสามารถร่อนผ่านแร่ง
ขนาด 200 เมช ได้โดยไม่มีกากค้างบนแร่ง
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรควบคุมน้ำเคลือบ
• น้าเคลือบที่ดีควรมีความข้นใสพอเหมาะ คือ มีปริมาณของส่วนผสมและน้าที่ไม่มากหรือ
น้อยเกินไป
• ไฮโดรมิเตอร์ (Hydrometer) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้เพื่อควบคุมปริมาณของ
ส่วนผสมและน้าให้มีค่าตามที่กาหนดไว้ มีหน่วยวัดคือ Baume (โบเม่)
• เคลือบส่วนใหท่จะกาหนดให้มีความข้นใสประมาณ 40 โบเม่
• หรืออาจใช้การวัด flow rate โดยจับเวลาที่น้าเคลือบจานวน 100 ml. ไหลผ่าน
เครื่องมือสาหรับหา flow rate
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรนำเคลือบไปใช้ (Application)
1. วิธีทาด้วยแปรงหรือพู่กัน (Painting) เป็นวิธีเก่าแก่ แต่ก็ยังใช้กันอยู่ในหมู่นักศิลป
สมัยโบราณ
• นักแกะสลักและนักศิลปกรรมสมัยใหม่ที่ต้องการลักษณะเฉพาะหรือต้องการเทคนิคพิเศษ แปรง
ที่ใช้ควรมีขนยาว นุ่ม จะช่วยอมน้าได้มาก
• ควรทาไปทางหนึ่งทางใด และไม่ควรทาน้าเคลือบซ้า ๆ กันหลายหน
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรนำเคลือบไปใช้ (Application)
2. วิธีเทราด (Pouring) วิธีนี้เป็นวิธีเก่าที่ใช้กับพวกกระเบื้องโดยวางกระเบื้องลงในถาด
ตื้น ๆ และเทน้าเคลือบราดลงบนแผ่นกระเบื้องแล้วนามาตกแต่งขอบทีละแผ่น วิธีนี้ช้าและ
สิ้นเปลืองมาก
• ปัจจุบันการเคลือบกระเบื้องทาโดยให้แผ่นกระเบื้องอยู่บนสายพานแล้วปล่อยน้าเคลือบไหลตก
ลงบนแผ่นกระเบื้องพร้อมกับมีเครื่องมือเช็ดถูขอบกระเบื้องทั้ง 4 โดยอัตโนมัติ
• วิธีเทราดนี้นิยมใช้เคลือบผิวด้านในของผลิตภัณฑ์ใหท่ ๆ เช่น โอ่งราชบุรี และเหมาะสาหรับน้า
เคลือบที่มีประมาณน้อย
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรนำเคลือบไปใช้ (Application)
3. วิธีการจุ่ม (Dipping) วิธีนี้นิยมกันมาก เหมาะกับผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดและรูปร่างที่
สามารถใช้มือจับถนัด และมีน้าเคลือบปริมาณมากพอที่จะจุ่มผลิตภัณฑ์ได้ทั้งใบ
• วิธีนี้ต้องอาศัยความชานาทในการกะระยะเวลาว่าจะจุ่มนานแค่ไหน
• น้าเคลือบข้นไปหรือใสไป
• ผลิตภัณฑ์ผ่านการเผาดิบหรือไม่
• ขนาดและรูปร่างของผลิตภัณฑ์
• ความหนาบางของผลิตภัณฑ์
กระบวนกำรเตรียมน้ำเคลือบ
กำรนำเคลือบไปใช้ (Application)
4. วิธีการพ่น (Spraying) วิธีนี้เหมาะกับผลิตภัณฑ์ขนาดใหท่ หลักการทางานของวิธีนี้
คือ
• ทาให้น้าเคลือบแตกกระจายพ่นออกมาเป็นฝอย และปล่อยให้ฝอยเคลือบตกลงบนผลิตภัณฑ์
• เครื่องมือที่ใช้ในการพ่นประกอบด้วย ตัวพ่น (spray gun) กระบอกใส่เคลือบ (a
reservoirs for glaze slip) ตู้พ่น (spray booth) ที่วางของที่จะพ่น
• นิยมพ่นในตู้พ่นเพื่อป้ องกันการฟุ้ งกระจายของเคลือบ ซึ่งจะมีพัดลมดูดให้ละอองของเคลือบไป
รวมกันด้านหลัง
• ผลิตภัณฑ์ที่นิยมใช้วิธีพ่น ได้แก่ เครื่องสุขภัณฑ์ อ่างล้างหน้า หรือพวกผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ
เคลือบแบบพิเศษ
คำถำม?

More Related Content

More from Gawewat Dechaapinun

บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2 งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

Chapter 3 glaze manufacturing