SlideShare a Scribd company logo
พันธะเคมี
Chemical bonding
สารต่างๆ ในธรรมชาติอาจอยู่เป็น
โมเลกุลหรือผลึก เกิดจากอะตอม 2 อะตอม
ขึ้นไปนาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาสร้างพันธะเคมี
ร่วมกันจึงเกิดเป็นแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน
ทาให้สารมีความเสถียรมากขึ้น




    H2       H2O        NH3       CH4
นิยามพันธะเคมี

            แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารเพื่อให้อะตอม
          รวมกันเป็นโมเลกุลหรือให้โมเลกุลรวมกันเป็นกลุ่มก้อน




ไอออน-ไอออน            อะตอม-อะตอม                 โมเลกุล-โมเลกุล
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท


แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือ
                                 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
        ไอออนของธาตุ

        พันธะโคเวเลนต์                 พันธะไฮโดรเจน
     (covalent bonds)               (hydrogen bonds)
        พันธะไอออนิก                  แรงแวนเดอร์วาลส์
       (ionic bonds)             (Van der Waals forces)
         พันธะโลหะ               แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล-ไอออน
     ( metallic bonds)          (molecule-ion attractions)
พันธะไอออนิก (Ionic bond)




พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนียวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ
                                 ่
ที่เกิดจากอะตอมให้และรับอิเล็กตรอนกันเพือให้มีเวเลนต์อเิ ล็กตรอน
                                        ่
เท่ากับ 8
พันธะไอออนิก (Ionic bond)
     คือแรงที่เกิดจากประจุไฟฟ้าบวก (+) และลบ (-) ดึงดูดเข้าหากันและ
เรียกสารที่เกิดขึ้นว่าสารไอออนิก (Ionic Compound) สารไอออนิกเกิด
จากโลหะให้ Valence - electron แก่อโลหะทั้งนีเ้ พราะโลหะมีค่า
IE1 ต่่า แต่อโลหะมีคา EN สูง เช่น
                       ่
   atom ที่สูญเสี ย e- จะกลายเป็ น       ไอออนบวก (Cation)
   atom ที่รับ      e- จะกลายเป็ น       ไอออนลบ (Anion)
เช่ น NaCl
        Na11
                  1s 2s    2p     3s       3p       3d
         Cl9
                  1s 2s    2p     3s       3p       3d

อาจกล่าวได้ว่ากลไกการเกิดพันธะไอออนิกเกิดผ่านปฏิกริยา 2 ขั้นตอนดังนี้
                                                 ิ
     1. ขั้นการแตกไอออนของ Na และการรับอิเล็กตรอนของ Cl
                    Na .               Na+ + e-
                 .. .
               ..Cl + e-                 ..
                                       ..Cl ..-
                 ..                      ..
2. ไอออนที่เกิดขึ้นมารวมกัน
    +
 Na + ..
             ..
           ..Cl ..-                     ..
                                      ..Cl ..-
                                Na+     ..
กรณีอื่นทีสามารถเกิดพันธะไอออนิกได้
          ่
เช่น การเผาแคลเซียมในบรรยากาศออกซิเจน
  2Ca(s)    +     O2(g)           2CaO
    การเผาลิเทียมในอากาศ
  4Li(s) + O2(g)                  2Li2O
โลหะ (IE ต่ากว่ า)   อโลหะ (IE สู งกว่ า)
ลักษณะส่าคัญของสารประกอบไอออนิก
1. พันธะไอออนิกเป็นพันธะทีเ่ กิดจาก ไอออนของโลหะ + ไอออนของอโลหะ เช่น NaCl, MgO, KI
2. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะเคมีทเี่ กิดจากธาตุทมีคาพลังงานไอออไนเซชันต่ากับธาตุทมีคาพลังงาน
                                                ี่ ่                    ่        ี่ ่
    ไอออไนเซชันสูง
3. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะทีเ่ กิดจากไอออนบวกทีเ่ ป็นกลุมอะตอมของอโลหะ เช่น
                                                          ่




4. สารประกอบไอออนิกไม่มีสตรโมเลกุล มีแต่สูตรเอมพิรคล ( สูตรอย่างง่าย )
                               ู                        ิ ั
5.สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
6. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง ประกอบไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนเหล่านีไม่         ้
   เคลื่อนที่ ดังนั้นจึงไม่นาไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้า จะแตกตัวเป็นไอออนและเคลือนทีได้
                            ่                                 ่                         ่ ่
   เกิดเป็นสารอิเล็กโทรไลต์จึงน่าไฟฟ้าได้
ตัวอย่ าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกต่ อไปนี้
   ก. Na+ กับ O2- ข. Ca2+ กับ Cl-    ค. NH4+ กับ SO42-
จงเขียนสู ตรอย่ างง่ ายของสารประกอบไอออนิกต่ อไปนี้
   1. Na กับ Cl NaCl           2. Mg กับ P Mg3P2
   3. Mg กับ O MgO             4. Mg กับ N Mg3N2
   5. Na+ กับ CO32- Na2CO3 6. Ca2+ กับ PO43- Ca3(PO4)2
   7. Na กับ S Na2S            8. Mg กับ Cl MgCl2
   9. Al กับ O Al2O3           10. PO43- กับ Na+ Na PO
                                                 3   4
การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก

   อ่ านชื่อไอออนบวกก่ อน หรื อกลุ่มโลหะ


          อ่ านชื่อไอออนลบ ตามหลัง

  ไม่ ต้องอ่ า่อไอออนบวกเป็ นโลหะทรานซิ ช(ที่ อยู่
        * เมื นเลขที่แสดงจานวนอะตอม น     ั
          ให้บอกเลขโรมันงขวา) บ ( ) ด้วย
                    ด้ านล่ า ในวงเล็

   ชื่อโลหะให้ ลงท้ ายด้ วยไอด์ (-ide) เช่ น oxide,
chloride, sulphide ถ้ าเป็ นพวกอนุมูลกรด ให้ อ่าน
  ตามชื่อ เช่ น ซัลเฟต ฟอตเฟต คาร์ บอเนต
เช่ น ไฮโดรเจน เป็ น ไฮไดรด์ (hydride)
      คลอรีน เป็ น คลอไรด์ (chloride)
      โบรมีน เป็ น โบรไมด์ (bromide)
การเรียกชื่อทางเคมี
BaCl2            barium chloride

K2O              potassium oxide

Mg(OH)2          magnesium hydroxide
KNO3             potassium nitrate
FeCl2             iron (II) chloride
Cr2S3             chromium (III) sulfide
Cu(NO3)2         copper (II) nitrate
NH4ClO3          ammonium chlorate
สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
    สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็ง
    หรือผลึก ที่อุณหภูมิหอง และเปราะ
                         ้
    โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะเป็นผลึก

       ผลึกสารประกอบไอออนิกมีรปทรง
                                ู
เป็นรูปลูกบาศก์ ประกอบ ด้วยไอออนบวก
และไอออนลบเรียงสลับกันเป็นสามมิตแบบิ
ต่างๆ ไม่สามารถแยกเป็น โมเลกุลเดี่ยวๆ ได้
สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
      2. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง
ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนเหล่านี้ไม่เคลือนที่ จึง
                                                     ่
ไม่น่าไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้่า จะแตกตัวเป็นไอออน
และเคลื่อนทีได้ จึงน่าไฟฟ้าได้
            ่
สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก

    3. สารประกอบไอออนิกมีจุดดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก
    4. สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้าได้ดีและบางชนิด
                                     ่
        ไม่ละลายน้า
                  ่

       การที่สารประกอบไอออนิกละลายน้าได้เนื่องจากแรงดึงดูด
                                      ่
ระหว่างโมเลกุลของน้่ากับไอออนมีคามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
                                ่
ไอออนบวกกับไอออนลบ
การพิจารณาความเป็นไอออนิกหรือโควาเลนต์


   ถ้ามีค่า EN ต่างกันมากๆ จะมีสมบัติความเป็น ไอออนิกมาก
  แต่ถ้ามีค่า EN ต่างกันน้อย จะมีสมบัติความเป็นโควาเลนต์มาก

   * โดยทั่วไปถ้าธาตุคู่ร่วมพันธะมีค่า EN ต่างกันมากกว่า 1.8
       ขึ้นไป                     จัดเป็น “พันธะไอออนิก”
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก

  การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก
วิธีการทีพจารณาการเปลี่ยนแปลงของพลังงานที่เกิดขึน พิจารณาจาก
         ่ ิ                                    ้
                    วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์
พลังงานแลตทิซของสารประกอบไอออนิก (Lattice Energy of Ionic Compound)
         ปกติค่าพลังงาน IE, EA จะแสดงถึงความเป็ นไปได้ ที่จะเกิดสารประกอบ
ไอออนิก โดยความเสถียรของสารประกอบไอออนิกวัดได้ จาก พลังงานแลตทิซ
(LatticeงEnergy)
 ** พลั งานที่คายออกมา เมื่อไอออนในภาวะแก๊ส ทาปฏิกิริยากัน
 เกิดเป็ นสารประกอบไอออนิกสารประกอบไอออนิกา ่เป็“พลังงานโครงผลึก/
  นิยาม “ พลังงานที่ใช้ ทาให้ ที่เป็ นของแข็ง เรี ยกว่ ที นของแข็ง 1 mole
 พลังงานแลตทิซ”(U)
            กลายเป็ นไอออนของก๊าซ ”

                            Lattice energy (kJ/mol)           m.p. (oC)
             LiF                    1,017                         845
             LiCl                    828                          610
             LiBr                    787                          550
             LiI                     732                          450
การค่านวณค่าพลังงานแลตทิซโดยใช้ Born – Habor Cycle
    พลังงานแลตทิซวัดโดยตรงไม่ได้ ต้องค่านวณทางอ้อมโดยใช้ Born–Habor
cycle ซึ่งแบ่งออกเป็นขันตอนย่อย ๆ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Lattice energy
                       ้
กับ IE, EA และ คุณสมบัติของไอออนหรือโมเลกุลนันๆ
                                             ้


  ตัวอย่าง จงค่านวณค่าพลังงานแลตทิซของสมการ
  LiF (s)  Li + (g) + F – (g) ,                       H = ?
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
               E การระเหิด
1   Na(s)                     Na(g)          ∆ H1 = +107 kJ/mol
                    E การสลายพันธะ
2   ½ Cl2(g)                         Cl(g)   ∆H2 = +122 kJ/mol
                     IE
3   Na (g)                    Na+ (g) + e- ∆H3 = +496 kJ/mol
                       EA
4   Cl (g)   + e-             Cl- (g)        ∆H4 = - 349 kJ/mol
5 Na +(g) + Cl-(g) E แลตทิซ             NaCl(s) ∆H5 = - 787 kJ/mol
Na+ (g) + e - + Cl(g)
                                                              4
∆H3 = +496 kJ             3                                        ∆H4 = -349 kJ
                Na(g) + Cl(g)                              Na+(g) + Cl-(g)
∆H2 = +122 kJ ∆Hf = (+107)+(+122)+(+496)+(-349)+(-787) = - 411 kJ/mol
                2

               Na(g) + 1/2Cl2(g)
                                     วัฏจักรบอร์น –∆Hฮาเบอร์
                                                      = -787 kJ
                                                               5
∆H1 = +107 kJ            1                                             5

เริ่มต้ น      Na(s) + 1/2Cl2(g)       ∆Hf คือ พลังงานรวมของปฏิกิริยา
                              ∆Hf = -411 kJ/mol
   สุ ดท้ าย                           NaCl (s)
?




จะเขียนได้ วา Hof = Ho1 + Ho2 + Ho3 + Ho4 + Ho5
            ่
              -594.1 kJ = 155.2 kJ + 75.3 kJ + 520 kJ - 328 kJ + Ho5
               ดังนัน H05 = - 1,017 kJ
                    ้
พลังงานแลตทิซของ LiF เท่ากับ -1,017 kJ
เราสามารถอธิบายการเกิด LiF (s) ออกเป็ นขั้นตอนย่ อย 5 ขั้นตอนคือ
 1.     Li (s)         Li (g)         Ho1 = 155.2 kJ (Sublimation)
 2. ½ F2 (g)           F (g)          Ho2 = 75.3 kJ (Dissociation)
 3. Li (g)             Li+ (g) + e- Ho3 = 520 kJ (IE)
 4. F (g) + e-  F – (g)               Ho4 = - 328 kJ (EA)
 5. Li+ (g) + F – (g)  LiF (s)        Ho5 = ?

   Li (s) + ½ F2 (g)  LiF (s)       Hof = - 594.1 kJ

จะเขียนได้วา Hof = Ho1 + Ho2 + Ho3 + Ho4 + Ho5
           ่
             -594.1 kJ = 155.2 kJ + 75.3 kJ + 520 kJ - 328 kJ + Ho5
              ดังนั้น H05 = - 1,017 kJ
พลังงานแลตทิซของ LiF เท่ากับ -1,017 kJ
การละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก
                                                           O H
                                      O H                  H
                                  H
 Cl- ไอออน
 Na+ ไอออน
 โมเลกุลนา
         ้    NaCl
                                           H       H
                                  H            o           H
                             H
                                  o                        o   H

                              H
                                  o
                                  H
                                                       o       H

                                       H
                                            o          H
                                                   H
ขั้นตอนการละลายน้่า
1. ท่าให้อนุภาคของของแข็งแยกออกจากกัน เป็นการท่าลายแรงยึดเหนียวระหว่างอนุภาค ขั้นตอนนีต้องใช้
                                                               ่                      ้
พลังงานซึงมีคาเท่ากับพลังงานโครงร่างผลึก (พลังงานโครงร่างผลึก Lattice energy คือ พลังงานที่
          ่ ่
ใช้แยกอนุภาคของของแข็งออกจากกันในภาวะแก๊ส) จะได้
       NaCl(s) + พลังงานโครงร่างผลึก               Na+(g) + Cl-(g) : ดูดพลังงาน  H1
           ขั้นตอนนีเ้ ป็นการดูดพลังงานเพือสลายพันธะเดิมของ NaCl
                                          ่


2. อนุภาคทีถูกแยกออกมาจากขันตอนแรกจะไปจับกับอนุภาคน้า อนุภาคของน้าจะคายพลังงาน
            ่                 ้                           ่            ่
ออกมาจ่านวนหนึง เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy)
                  ่                                                       
Na+(g) + Cl-(g)                   Na+(aq) + Cl-(aq) : คายพลังงาน         H2
     ขั้นตอนนีเ้ ป็นการคายพลังงานเพือสร้างพันธะกับน้า โดย aq มาจาก aqueous หมายถึง
                                    ่               ่
สารละลายทีมีนาเป็นตัวท่าละลาย
           ่ ้่
ขั้นตอนการละลายน้่า
ถ้ าเรารวมขันตอนทัง 2 เข้ าด้ วยกันจะได้
            ้     ้
                                                                       
NaCl(s) + พลังงานโครงร่ างผลึก             Na+(aq)   +   Cl-(aq)   :       H3
   โดย    :  H3 =  H1               -     H2

       ถ้ า  H3       เป็ นค่ าบวกแสดงว่ าดูดความร้ อน
       ถ้ า  H3       เป็ นค่ าลบแสดงว่ าคายความร้ อน
       ถ้ า  H3       แสดงว่ าไม่ ดูดไม่ คายความร้ อน
พลังงานไฮเดรชัน (hydration energy) เป็นพลังงานที่ปล่อย (คาย) ออกมา เมื่อ
ไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊สที่หลุดออกมาจากโครงผลึก
ของสารประกอบไอออนิกถูกโมเลกุลน้่าล้อมรอบ เกิดเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลของน้่ากับไอออนบวกและลบ ดังสมการ

      Na+(g) + Cl-(g)         H2O          Na+ (aq) + Cl-(aq) + 764 kJ/mol
                ## สารใดมีพลังงานไฮเดรชันมากจะยิงละลายน้ าได้ดี
                                                ่
   พลังงานแลตทิช (Lattice energy) เป็ นพลังงานที่ใช้ในการสลายโครงผลึกของ
   สารประกอบไอออนิกเป็ นไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊ส(หรื อ เป็ น
   พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊สรวมตัวกันเกิด
   เป็ นโครงผลึกของสารประกอบไอออนิก
                              คายพลังงาน
       Na+(g)   + Cl-(g)                     NaCl(s) + 768.3 kJ/mol
                       ดูดพลังงาน
            NaCl(s)                 Na+(g) + Cl-(g) ; = +768.3 kJ/mol
พลังงานกับการละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก

                      Na+(g) + Cl-(g)
                                                 2
       1                                 ∆Hhyd = -771 kJ
∆Hlatt = +776 kJ
                            Na+(aq) + Cl-(aq)
                               ∆Hsoln = +5 kJ (พลังงานของการละลาย)
            NaCl(s)
สรุปการละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก

∆Hlattice > ∆Hhydration แสดงว่ ามีการดูดพลังงาน
∆Hhydration   >   ∆Hlatticeแสดงว่ ามีการคายพลังงาน
∆Hlattice >>> ∆Hhydration แสดงว่าสารไอออนิกนั้นไม่ ค่อยละลาย


สารที่ละลายน้ าได้ < 0.1 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าไม่ละลาย
สารที่ละลายน้ าได้ 0.1-1.0 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าละลายได้บางส่ วน
สารที่ละลายน้ าได้ > 1.0 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าละลายได้ดี
การทดลองที่ 2.2 การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้่า
อภิปรายผลการทดลอง
สารทั้ง 3 ชนิดละลายในน้าได้แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้
                         ่
        NH4Cl ละลายในน้่าได้อย่างรวดเร็ว
                การเปลียนแปลงประเภทดูดความร้อน
                       ่

      NaCl ละลายในน้าได้ดี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานน้อยมาก
                    ่
           เพราะอุณหภูมของสารละลายเกือบคงที่
                       ิ

      CuSO4 ละลายในน้่าได้ช้า
            การเปลียนแปลงประเภทคายความร้อน
                   ่
อภิปรายผลการทดลอง (ต่อ)
       อุณหภูมิเป็นป―จจัยส่าคัญอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการละลายของสาร
สารที่ละลายในตัวท่าละลายได้มากขึ้น เมื่ออุณหภูมของสารละลายสูงขึน
                                                    ิ             ้
จะมีขั้นตอนในการละลายเป็นแบบดูดพลังงาน เช่น NH4NO3

         ส่วนสารละลายในตัวท่าละลายได้น้อยลง เมื่ออุณหภูมของสารละลาย
                                                        ิ
เพิ่มขึน จะมีขั้นตอนในการละลายเป็นแบบคายพลังงาน เช่น Ce2(SO4)3
       ้
ผลการทดลอง
                       การเปลี่ยนแปลงเมื่อเติมสารละลาย
สารละลาย             Na2CO3               NH4Cl          Pb(NO3)2
 Ca(OH)2         เกิดตะกอนสีขาว       ไม่ เกิดตะกอน    เกิดตะกอนสีขาว
 Na2SO4           ไม่ เกิดตะกอน       ไม่ เกิดตะกอน    เกิดตะกอนสีขาว
    KI            ไม่ เกิดตะกอน       ไม่ เกิดตะกอน เกิดตะกอนสีเหลือง

1. เมื่อผสมสารละลาย 2 ชนิดเข้าด้วยกันแล้วไม่มตะกอนเกิดขึน แสดงว่า
                                             ี          ้
   ไอออนในสารละลายไม่รวมตัวกัน จึงไม่มีปฏิกรยาเคมีเกิดขึ้น
                                               ิิ
2. เมื่อผสมสารละลาย 2 ชนิด เข้าด้วยกันแล้ว มีตะกอนเกิดขึ้น แสดงว่า
   ไอออนในสารละลายรวมตัวกันเกิดเป็นสารใหม่ที่ไม่ละลายในน้า หรือมี
                                                           ่
   ปฏิกิรยาเคมีเกิดขึ้น
          ิ
เกลือชนิดที่ไม่ละลายน้าและละลายน้่าได้มดังนี้
                            ่                ี
• เกลือของโลหะไอออนหมู่ 1A และ NH4+ ละลายน้่าได้หมด
• เกลือของไอออนลบของไนเตรด (NO3-) อะซีเตต (CH3COO-) คลอเรต
  (ClO3-) และเปอร์คลอเรต(ClO4-) ละลายได้หมด
• เกลือคลอไรด์ โบรไมด์ และไอโอไดด์ ละลายน้่าได้ ยกเว้นเกลือคลอไรด์ โบรไมด์
  และไอโอไดด์ของ Ag+, Pb2+ , Hg2+ , Hg22+ ไม่ละลายน้า      ่
• เกลือซัลเฟต(SO42-) คาร์บอเนต(CO32-) ซัลไฟด์(S2-) ฟอสเฟต(PO43-)
  และอาร์เซเนต(AsO43-) ของโลหะไอออนหมู่ 2A และ Ag+, Pb2+ , Hg2+
  ไม่ละลายน้่า ยกเว้นเกลือดังกล่าวของหมู่ 1A , NH4+ และ MgSO4 ละลายน้่า
• เกลือไฮดรอกไซด์ (OH-) ไม่ละลายน้่า ยกเว้น OH- ของโลหะไอออนหมู่ 1A ,
  NH4+ ละลายน้่าได้
พลังงานของการละลายนั้นนิยมวัดในรูปของความร้อน
                  Q = mc t

    เมื่อ   Q = ปริมาณความร้อน หน่วยเป็น (J)
            m = มวลของน้า หน่วยเป็น กรัม (g)
                          ่
            c = ความจุความร้อนของน้่า มีค่าเป็น 4.2 J/goC
             t = อุณหภูมที่เปลี่ยนแปลงไป หน่วยเป็น oC
                        ิ
ตัวอย่าง น่าคอปเปอร์(II)โบรไมด์ จ่านวน 0.860 กรัม มาละลายในน้่า 100 cm3
    พบว่าอุณหภูมของน้าเปลียนจาก 23.10 oC เป็น 23.41 oC จงค่านวณหาปริมาณ
                  ิ    ่ ่
    ความร้อนที่เกิดขึน และความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานแลตทิช และพลังงาน
                     ้
    ไฮเดรชันเป็นอย่างไร

 จากอุณหภูมเิ พิมขึ้น 23.10 oC เป็น 23.41 oC แสดงว่าการละลายของ CuBr2
                ่
 เป็นการคายความร้อน ดังนั้น พลังงานแลตทิชน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน


                            Q = mc t
                                 = (100)(4.2)(23.41-23.10)
                                 = 130.2 J
          ข้ อสั งเกต - ถ้ าเกลือทีละลายนาเป็ นกระบวนการดูดความร้ อน เมือเพิมอุณหภูมให้ กบ
                                   ่      ้                             ่ ่         ิ ั
                         สารละลายการละลายจะเพิมขึน ่ ้
                       - ถ้ าเกลือทีละลายนาเป็ นกระบวนการคายความร้ อน เมือเพิมอุณหภูมให้ กบ
                                     ่      ้                            ่ ่         ิ ั
                         สารละลายการละลายจะลดลง
ปฏิกิรยาของสารประกอบไอออนิก
          ิ


 Cl-                                                            Ag+

 Na+                                                            NO3-
        สารละลาย NaCl                          สารละลาย AgNO3
 NaCl      Na+(aq) + Cl-(aq)                AgNO3 Ag+(aq) + NO3-(aq)


                                 AgCl (s)
Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq)      Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s)
                               สมการไอออนิก
สมการไอออนิก

เมื่อสารประกอบไอออนิกในสถานะของแข็งมาละลายนาก็จะแตกตัวเป็ น
                                           ้
ไอออน

       NaCl (s)             Na+(aq) + Cl- (aq)
       AgNO3(s)             Ag+(aq) + NO3-(aq)
       K2SO4(s)             2K+(aq) + SO42-(aq)
การเขียนสมการไอออนิก
       จากที่ทราบแล้วว่า เมื่อสารประกอบไอออนิกละลายในน้่า ไอออนบวก และ
 ไอออนลบจะแยกออกจากกันและถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้่าหลายโมเลกุล
 เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) กับสารละลาย
โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) แล้วพบว่ามีตะกอนสีขาวเกิดขึน ตะกอนนี้ไม่ควร
                                                         ้
เป็นโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เพราะว่า NaOH ละลายได้ในน้าและแตกตัว
                                                              ่
เป็นไอออนอยู่ในของเหลว ดังนั้นจึงเป็นตะกอนของแคลเซียมคาร์บอเนต
 (CaCO3) สามารถเขียนสมการได้ดังนี้

  Ca2+(aq) + 2OH- (aq) + 2Na+(aq) + CO32-(aq) ---------> CaCO3(s) + 2OH-(aq) + 2Na+(aq)
สมการที่แสดงไอออนอิสระของสารประกอบไอออนิกในสารละลายครบทุกชนิด
เช่นนี้เรียกว่า "สมการไอออนิก" เนื่องจากปฏิกิริยานี้มี OH- และ Na+
ปรากฏอยู่ทั้ง 2 ด้าน และไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาจึงตัดออกไปได้

 Ca2+(aq) + 2OH-(aq) + 2Na+(aq) + CO32-(aq)---------> CaCO3(s) + 2OH - (aq)
 + 2Na+(aq)

                    Ca2+ + CO32-(aq) ---------> CaCO3(s)
                 สมการข้างต้นเรียกว่า "สมการไอออนิกสุทธิ"
NaCl (s)                 Na+ (aq) + Cl- (aq)
         AgNO3 (s)                Ag+ (aq) + NO3- (aq)


Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq)      Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s)

                            สมการไอออนิก


             Cl-(aq) + Ag+(aq)                AgCl(s)
                           สมการไอออนิกสุ ทธิ
หลักการเขียนสมการไอออนิก

1. เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลที่ท่าปฏิกิริยากัน
2. ถ้าสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นสารที่ไม่ละลายน้่าหรือไม่แตกตัว
เป็นไอออน ให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้ เช่น H2              NH3
CO2
3. ดุลสมการไอออนิก โดยท่าให้จ่านวนอะตอม และจ่านวนไอออน ของทุก
ธาตุเท่ากัน รวมทั้งประจุรวมทั้งซ้ายและขวาต้องเท่ากันด้วย
แบบฝึกหัด


จงเขียนสมการไอออนิกทีเ่ กิดจากการผสมสารคูต่อไปนี้
                                         ่
1. AgNO3 (aq) กับ CaBr2(aq)
2. CuSO4 (aq) กับ K2S (aq)
3. NaOH (s) กับ HCl (l)
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
โคออร์ดิเนชันนัมเบอร์ คือ จ่านวนไอออนที่หอมล้อมและสัมผัสกับไอออนอืน
                                         ้                        ่


 โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์



                                     1) โครงสร้างผลึกของ NaCl
                                          Na+ จะมี Cl- ห้อมล้อมและ
                                     สัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน
                                          Cl- จะมี Na+ ห้อมล้อมและ
                                     สัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน
Cl-
                   Cs+


                    2) โครงสร้ างผลึกของ CsCl
                    Cs+ มี Cl- ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน Cl-
                    มี Cs+ ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน

                       3) โครงสร้ างผลึกของ CaF2
F-         Ca 2+
                   Ca2+ มี F- ห้ อมล้ อมและสัมผัส 8 ไอออน
                   แต่ F- มี Ca2+ ห้ อมล้ อมและสัมผัสเพียง 4
                   ไอออนเท่านัน  ้
                    การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกจะแสดง
                   อัตราส่วนอย่างต่าของไอออนที่มารวมตัว
                   กันนเท่านัน Ca 2+ : F- = 4:8 = 1:2
                               ้
                   สูตรจึงเป็ น CaF2
พลังงานพันธะ (Bond Energy)
พลังงานพันธะ หรือ พลังงานสลายพันธะ (Bond dissociation energy, D)
   คือ พลังงานที่ต้องใช้ในการสลายพันธะเคมีแต่ละพันธะในโมเลกุล
    (มีค่าเป็นบวก) เช่น
                H2(g) 2H(g) D(H—H) = 436 kJ/mol
• พันธะเคมีชนิดเดียวกันในโมเลกุลที่ต่างกันอาจมีค่าพลังงานสลายพันธะต่างกัน
   เช่น C-H
    –   CH4(g)  CH3(g) + H(g)          D(H-C)CH4 = 436 kJ/mol
    –   CH3(g)  CH2(g) + H(g)          D(H-C)CH3 = 368 kJ/mol
    –   CH2(g)  CH(g) + H(g)           D(H-C)CH2 = 519 kJ/mol
    –   CH(g)  C(g) + H(g)             D(H-C)CH = 335 kJ/mol
พลังงานพันธะเฉลี่ย (Average Bond Energy)
พลังงานพันธะเฉลีย เป็นค่าเฉลียของพลังงานสลายพันธะส่าหรับพันธะแต่
                ่            ่
   ละชนิดในโมเลกุลต่าง ๆ (เป็นค่าโดยประมาณ)
ความร้อนของปฏิกิรยา (Heat of Reaction)
                    ิ
การเกิดปฏิกรยาเคมี คือกระบวนการที่มีการท่าลายพันธะเดิม (สารตั้งต้น)
           ิิ
  และสร้างพันธะใหม่ (สารผลิตภัณฑ์)
ความร้อนของปฏิกรยา (
                ิิ           Hrxn) คือพลังงานเอนทาลปีของระบบที่
                     เปลี่ยนแปลงไปในรูปความร้อนเมื่อเกิดปฏิกิริยา
  สามารถหาได้จาก
                   H rxn       D D
                               reactants   products

                       พลังงานพันธะรวม       พลังงานพันธะรวม
                        ของสารตั้งต้ น        ของผลิตภัณฑ์

   – DHrxn เป็นลบ ปฏิกิริยาคายพลังงาน
   – DHrxn เป็นบวก ต้องใช้พลังงานเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา (ดูดพลังงาน)
การค่านวณหาค่าความร้อนของปฏิกรยา
                                                ิิ
ตัวอย่ าง จงหาพลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาต่อไปนี ้
               CH4(g) + Cl2(g)  CH3Cl (g) + HCl(g)




      –  D (พลังงานพันธะสารตังต้ น) = 4D(C-H) + D(Cl-Cl)
                              ้
       reactants
      –  D (พลังงานพันธะผลิตภัณฑ์ ) = D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H)
       products

• Hrxn = 4D(C-H) + D(Cl-Cl) – [D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H)]
            = (4414 + 243) – (339 + 3414 + 431) kJ/mol = –113 kJ/mol
                  ปฏิกิริยานี ้จะคายความร้ อนออกมา 113 kJ/mol
ความยาวพันธะ (Bond Length)
ความยาวพันธะ        คือระยะห่างระหว่างอะตอมคู่ที่สร้างพันธะ
  โดยเป็นต่าแหน่งที่อะตอมทั้งสองดึงดูดกันได้ดีที่สุด มี
  พลังงานต่่าสุดหรือมีเสถียรภาพที่สุด
• ความยาวของพันธะโควาเลนต์สัมพันธ์กับพลังงาน
  พันธะ
   – ความยาวพันธะเดี่ยว  พันธะคู่  พันธะสาม
   – พลังงานพันธะเดี่ยว  พันธะคู่  พันธะสาม
                                                              Bond     Bond
                                                              Length   Energy
ความยาวพันธะเฉลียของโมเลกุลต่างๆ
                ่
มุมพันธะ
มุมพันธะ คือมุมที่เกิดขึ้น เมื่อลาก             106.0


   เส้นผ่านพันธะ 2 พันธะมาตัดที่
   นิวเคลียสของอะตอมกลาง                     104.0




• โมเลกุลที่มีสูตรเคมีคล้ายกัน มุมพันธะอาจไม่เท่ากัน
   – H2O = 104.5                        H2S = 92


• การท่านายโครงสร้างของโมเลกุลเช่น มุมพันธะ จ่าเป็นต้องอาศัยข้อมูล
  เกี่ยวกับอิเล็กตรอนในโมเลกุล
สภาพขัวของพันธะ (Bond Polarity)
                   ้

สภาพขัวของพันธะ คือ การอธิบายการกระจายตัวของอิเล็กตรอนที่ใช้ในการ
      ้
  สร้างพันธะระหว่างอะตอม
• สภาพขั้วของพันธะโควาเลนต์ขึ้นอยู่กับ ค่า EN ของอะตอมทั้งสอง ถ้าค่า
  EN ของอะตอมทั้งสองต่างกัน การกระจายตัวของอิเล็กตรอนในบริเวณ
  ระหว่างอะตอมทั้งสองจะไม่สม่่าเสมอ ซึ่งจะเรียกว่า พันธะโควาเลนต์แบบมีขว
                                                                       ั้
                 X+Y- เมื่อ EN ของ Y  X


                   H    +    F             H        F


                                      +                -
สภาพขัวของโมเลกุล (Polarity of Molecule)
             ้
สภาพขัวของโมเลกุลคือสภาพขั้วสุทธิ (net dipole )ของพันธะทุกพันธะใน
      ้
  โมเลกุล



• สภาพขั้วของโมเลกุลหาได้โดยการรวมสภาพขั้วของพันธะทุกพันธะแบบเวคเตอร์
ตัวอย่างสภาพขัวของโมเลกุล
                        ้

• BCl3

• NH3

• CHCl3

• SF5

• HCN
โมเมนต์ขวคู่
        ั้        (Dipole Moments)
     ภายในโมเลกุลของสารประกอบ ถ้าอะตอมมีคา EN ต่างกัน มีการดึง
                                         ่
อิเล็กตรอนท่าให้เกิดขัวขึน
                      ้ ้
  ตัวอย่าง     แสดงทิศทางการดึงของ e-

                                    H          F
     แสดงขัว (polar bond)
           ้                        2.1       4.0
                                                 -
                                    
                                          +
                                               
                 H      F           H          F
dipole moment สุ ทธิ  = 1. 87
โมเลกุล H2O           ...
                      O                          (เป็ น polar molecule)
                  H         H

     ขั้วของโมเลกุล คานวณจากผลรวมแบบ vector ของขั้วของพันธะ

โมเลกุล CO2            O        C O             เป็ น non-polar molecule
                                =0

โมเลกุล C2H2Cl2       Cl              Cl                 H           Cl
                            C     C                          C   C
                                                       Cl            H
                       H              H
                            Cis (polar)                  Trans  = 0
                             = 1. 89

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
oraneehussem
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
Pat Jitta
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 

Viewers also liked

06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
Dr.Woravith Chansuvarn
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
BELL N JOYE
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
Pat Jitta
 
9789740333166
97897403331669789740333166
9789740333166CUPress
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889CUPress
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุบทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุ
Gawewat Dechaapinun
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
megi38
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (20)

06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
9789740333166
97897403331669789740333166
9789740333166
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
 
บทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุบทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุ
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
 

Similar to Ch 02 ionic bond

Atom
AtomAtom
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdfพันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
saichon1308
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
ssuserb3caf5
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
Tutor Ferry
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
Ajchariya Sitthikaew
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
9GATPAT1
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
sensei48
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
Tutor Ferry
 

Similar to Ch 02 ionic bond (20)

Atom
AtomAtom
Atom
 
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdfพันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
พันธะเคมี-(Chemical Bonding)มทร.ล้านนา.pdf
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Bond
BondBond
Bond
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
Electric chem
Electric chemElectric chem
Electric chem
 

More from kruannchem

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

More from kruannchem (6)

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 

Ch 02 ionic bond

  • 2. สารต่างๆ ในธรรมชาติอาจอยู่เป็น โมเลกุลหรือผลึก เกิดจากอะตอม 2 อะตอม ขึ้นไปนาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาสร้างพันธะเคมี ร่วมกันจึงเกิดเป็นแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน ทาให้สารมีความเสถียรมากขึ้น H2 H2O NH3 CH4
  • 3. นิยามพันธะเคมี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารเพื่อให้อะตอม รวมกันเป็นโมเลกุลหรือให้โมเลกุลรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ไอออน-ไอออน อะตอม-อะตอม โมเลกุล-โมเลกุล
  • 4. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ไอออนของธาตุ พันธะโคเวเลนต์ พันธะไฮโดรเจน (covalent bonds) (hydrogen bonds) พันธะไอออนิก แรงแวนเดอร์วาลส์ (ionic bonds) (Van der Waals forces) พันธะโลหะ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล-ไอออน ( metallic bonds) (molecule-ion attractions)
  • 5. พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนียวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ ่ ที่เกิดจากอะตอมให้และรับอิเล็กตรอนกันเพือให้มีเวเลนต์อเิ ล็กตรอน ่ เท่ากับ 8
  • 6. พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือแรงที่เกิดจากประจุไฟฟ้าบวก (+) และลบ (-) ดึงดูดเข้าหากันและ เรียกสารที่เกิดขึ้นว่าสารไอออนิก (Ionic Compound) สารไอออนิกเกิด จากโลหะให้ Valence - electron แก่อโลหะทั้งนีเ้ พราะโลหะมีค่า IE1 ต่่า แต่อโลหะมีคา EN สูง เช่น ่ atom ที่สูญเสี ย e- จะกลายเป็ น ไอออนบวก (Cation) atom ที่รับ e- จะกลายเป็ น ไอออนลบ (Anion)
  • 7. เช่ น NaCl Na11 1s 2s 2p 3s 3p 3d Cl9 1s 2s 2p 3s 3p 3d อาจกล่าวได้ว่ากลไกการเกิดพันธะไอออนิกเกิดผ่านปฏิกริยา 2 ขั้นตอนดังนี้ ิ 1. ขั้นการแตกไอออนของ Na และการรับอิเล็กตรอนของ Cl Na . Na+ + e- .. . ..Cl + e- .. ..Cl ..- .. ..
  • 8. 2. ไอออนที่เกิดขึ้นมารวมกัน + Na + .. .. ..Cl ..- .. ..Cl ..- Na+ .. กรณีอื่นทีสามารถเกิดพันธะไอออนิกได้ ่ เช่น การเผาแคลเซียมในบรรยากาศออกซิเจน 2Ca(s) + O2(g) 2CaO การเผาลิเทียมในอากาศ 4Li(s) + O2(g) 2Li2O
  • 9. โลหะ (IE ต่ากว่ า) อโลหะ (IE สู งกว่ า)
  • 10.
  • 11.
  • 12. ลักษณะส่าคัญของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิกเป็นพันธะทีเ่ กิดจาก ไอออนของโลหะ + ไอออนของอโลหะ เช่น NaCl, MgO, KI 2. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะเคมีทเี่ กิดจากธาตุทมีคาพลังงานไอออไนเซชันต่ากับธาตุทมีคาพลังงาน ี่ ่ ่ ี่ ่ ไอออไนเซชันสูง 3. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะทีเ่ กิดจากไอออนบวกทีเ่ ป็นกลุมอะตอมของอโลหะ เช่น ่ 4. สารประกอบไอออนิกไม่มีสตรโมเลกุล มีแต่สูตรเอมพิรคล ( สูตรอย่างง่าย ) ู ิ ั 5.สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง 6. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง ประกอบไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนเหล่านีไม่ ้ เคลื่อนที่ ดังนั้นจึงไม่นาไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้า จะแตกตัวเป็นไอออนและเคลือนทีได้ ่ ่ ่ ่ เกิดเป็นสารอิเล็กโทรไลต์จึงน่าไฟฟ้าได้
  • 13.
  • 14.
  • 15. ตัวอย่ าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกต่ อไปนี้ ก. Na+ กับ O2- ข. Ca2+ กับ Cl- ค. NH4+ กับ SO42-
  • 16.
  • 17. จงเขียนสู ตรอย่ างง่ ายของสารประกอบไอออนิกต่ อไปนี้ 1. Na กับ Cl NaCl 2. Mg กับ P Mg3P2 3. Mg กับ O MgO 4. Mg กับ N Mg3N2 5. Na+ กับ CO32- Na2CO3 6. Ca2+ กับ PO43- Ca3(PO4)2 7. Na กับ S Na2S 8. Mg กับ Cl MgCl2 9. Al กับ O Al2O3 10. PO43- กับ Na+ Na PO 3 4
  • 18. การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก อ่ านชื่อไอออนบวกก่ อน หรื อกลุ่มโลหะ อ่ านชื่อไอออนลบ ตามหลัง ไม่ ต้องอ่ า่อไอออนบวกเป็ นโลหะทรานซิ ช(ที่ อยู่ * เมื นเลขที่แสดงจานวนอะตอม น ั ให้บอกเลขโรมันงขวา) บ ( ) ด้วย ด้ านล่ า ในวงเล็ ชื่อโลหะให้ ลงท้ ายด้ วยไอด์ (-ide) เช่ น oxide, chloride, sulphide ถ้ าเป็ นพวกอนุมูลกรด ให้ อ่าน ตามชื่อ เช่ น ซัลเฟต ฟอตเฟต คาร์ บอเนต
  • 19. เช่ น ไฮโดรเจน เป็ น ไฮไดรด์ (hydride) คลอรีน เป็ น คลอไรด์ (chloride) โบรมีน เป็ น โบรไมด์ (bromide)
  • 20.
  • 21.
  • 22. การเรียกชื่อทางเคมี BaCl2 barium chloride K2O potassium oxide Mg(OH)2 magnesium hydroxide KNO3 potassium nitrate FeCl2 iron (II) chloride Cr2S3 chromium (III) sulfide Cu(NO3)2 copper (II) nitrate NH4ClO3 ammonium chlorate
  • 23. สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็ง หรือผลึก ที่อุณหภูมิหอง และเปราะ ้ โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะเป็นผลึก ผลึกสารประกอบไอออนิกมีรปทรง ู เป็นรูปลูกบาศก์ ประกอบ ด้วยไอออนบวก และไอออนลบเรียงสลับกันเป็นสามมิตแบบิ ต่างๆ ไม่สามารถแยกเป็น โมเลกุลเดี่ยวๆ ได้
  • 24. สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก 2. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ ไอออนเหล่านี้ไม่เคลือนที่ จึง ่ ไม่น่าไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้่า จะแตกตัวเป็นไอออน และเคลื่อนทีได้ จึงน่าไฟฟ้าได้ ่
  • 25. สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก 3. สารประกอบไอออนิกมีจุดดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก 4. สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้าได้ดีและบางชนิด ่ ไม่ละลายน้า ่ การที่สารประกอบไอออนิกละลายน้าได้เนื่องจากแรงดึงดูด ่ ระหว่างโมเลกุลของน้่ากับไอออนมีคามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง ่ ไอออนบวกกับไอออนลบ
  • 26. การพิจารณาความเป็นไอออนิกหรือโควาเลนต์ ถ้ามีค่า EN ต่างกันมากๆ จะมีสมบัติความเป็น ไอออนิกมาก แต่ถ้ามีค่า EN ต่างกันน้อย จะมีสมบัติความเป็นโควาเลนต์มาก * โดยทั่วไปถ้าธาตุคู่ร่วมพันธะมีค่า EN ต่างกันมากกว่า 1.8 ขึ้นไป จัดเป็น “พันธะไอออนิก”
  • 28.
  • 29. พลังงานแลตทิซของสารประกอบไอออนิก (Lattice Energy of Ionic Compound) ปกติค่าพลังงาน IE, EA จะแสดงถึงความเป็ นไปได้ ที่จะเกิดสารประกอบ ไอออนิก โดยความเสถียรของสารประกอบไอออนิกวัดได้ จาก พลังงานแลตทิซ (LatticeงEnergy) ** พลั งานที่คายออกมา เมื่อไอออนในภาวะแก๊ส ทาปฏิกิริยากัน เกิดเป็ นสารประกอบไอออนิกสารประกอบไอออนิกา ่เป็“พลังงานโครงผลึก/ นิยาม “ พลังงานที่ใช้ ทาให้ ที่เป็ นของแข็ง เรี ยกว่ ที นของแข็ง 1 mole พลังงานแลตทิซ”(U) กลายเป็ นไอออนของก๊าซ ” Lattice energy (kJ/mol) m.p. (oC) LiF 1,017 845 LiCl 828 610 LiBr 787 550 LiI 732 450
  • 30. การค่านวณค่าพลังงานแลตทิซโดยใช้ Born – Habor Cycle พลังงานแลตทิซวัดโดยตรงไม่ได้ ต้องค่านวณทางอ้อมโดยใช้ Born–Habor cycle ซึ่งแบ่งออกเป็นขันตอนย่อย ๆ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Lattice energy ้ กับ IE, EA และ คุณสมบัติของไอออนหรือโมเลกุลนันๆ ้ ตัวอย่าง จงค่านวณค่าพลังงานแลตทิซของสมการ LiF (s)  Li + (g) + F – (g) , H = ?
  • 31. พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก E การระเหิด 1 Na(s) Na(g) ∆ H1 = +107 kJ/mol E การสลายพันธะ 2 ½ Cl2(g) Cl(g) ∆H2 = +122 kJ/mol IE 3 Na (g) Na+ (g) + e- ∆H3 = +496 kJ/mol EA 4 Cl (g) + e- Cl- (g) ∆H4 = - 349 kJ/mol 5 Na +(g) + Cl-(g) E แลตทิซ NaCl(s) ∆H5 = - 787 kJ/mol
  • 32. Na+ (g) + e - + Cl(g) 4 ∆H3 = +496 kJ 3 ∆H4 = -349 kJ Na(g) + Cl(g) Na+(g) + Cl-(g) ∆H2 = +122 kJ ∆Hf = (+107)+(+122)+(+496)+(-349)+(-787) = - 411 kJ/mol 2 Na(g) + 1/2Cl2(g) วัฏจักรบอร์น –∆Hฮาเบอร์ = -787 kJ 5 ∆H1 = +107 kJ 1 5 เริ่มต้ น Na(s) + 1/2Cl2(g) ∆Hf คือ พลังงานรวมของปฏิกิริยา ∆Hf = -411 kJ/mol สุ ดท้ าย NaCl (s)
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36. ? จะเขียนได้ วา Hof = Ho1 + Ho2 + Ho3 + Ho4 + Ho5 ่ -594.1 kJ = 155.2 kJ + 75.3 kJ + 520 kJ - 328 kJ + Ho5 ดังนัน H05 = - 1,017 kJ ้ พลังงานแลตทิซของ LiF เท่ากับ -1,017 kJ
  • 37. เราสามารถอธิบายการเกิด LiF (s) ออกเป็ นขั้นตอนย่ อย 5 ขั้นตอนคือ 1. Li (s)  Li (g) Ho1 = 155.2 kJ (Sublimation) 2. ½ F2 (g)  F (g) Ho2 = 75.3 kJ (Dissociation) 3. Li (g)  Li+ (g) + e- Ho3 = 520 kJ (IE) 4. F (g) + e-  F – (g) Ho4 = - 328 kJ (EA) 5. Li+ (g) + F – (g)  LiF (s) Ho5 = ? Li (s) + ½ F2 (g)  LiF (s) Hof = - 594.1 kJ จะเขียนได้วา Hof = Ho1 + Ho2 + Ho3 + Ho4 + Ho5 ่ -594.1 kJ = 155.2 kJ + 75.3 kJ + 520 kJ - 328 kJ + Ho5 ดังนั้น H05 = - 1,017 kJ พลังงานแลตทิซของ LiF เท่ากับ -1,017 kJ
  • 38. การละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก O H O H H H Cl- ไอออน Na+ ไอออน โมเลกุลนา ้ NaCl H H H o H H o o H H o H o H H o H H
  • 39. ขั้นตอนการละลายน้่า 1. ท่าให้อนุภาคของของแข็งแยกออกจากกัน เป็นการท่าลายแรงยึดเหนียวระหว่างอนุภาค ขั้นตอนนีต้องใช้ ่ ้ พลังงานซึงมีคาเท่ากับพลังงานโครงร่างผลึก (พลังงานโครงร่างผลึก Lattice energy คือ พลังงานที่ ่ ่ ใช้แยกอนุภาคของของแข็งออกจากกันในภาวะแก๊ส) จะได้ NaCl(s) + พลังงานโครงร่างผลึก Na+(g) + Cl-(g) : ดูดพลังงาน  H1 ขั้นตอนนีเ้ ป็นการดูดพลังงานเพือสลายพันธะเดิมของ NaCl ่ 2. อนุภาคทีถูกแยกออกมาจากขันตอนแรกจะไปจับกับอนุภาคน้า อนุภาคของน้าจะคายพลังงาน ่ ้ ่ ่ ออกมาจ่านวนหนึง เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) ่  Na+(g) + Cl-(g) Na+(aq) + Cl-(aq) : คายพลังงาน H2 ขั้นตอนนีเ้ ป็นการคายพลังงานเพือสร้างพันธะกับน้า โดย aq มาจาก aqueous หมายถึง ่ ่ สารละลายทีมีนาเป็นตัวท่าละลาย ่ ้่
  • 40. ขั้นตอนการละลายน้่า ถ้ าเรารวมขันตอนทัง 2 เข้ าด้ วยกันจะได้ ้ ้  NaCl(s) + พลังงานโครงร่ างผลึก Na+(aq) + Cl-(aq) : H3 โดย :  H3 =  H1 -  H2 ถ้ า  H3 เป็ นค่ าบวกแสดงว่ าดูดความร้ อน ถ้ า  H3 เป็ นค่ าลบแสดงว่ าคายความร้ อน ถ้ า  H3 แสดงว่ าไม่ ดูดไม่ คายความร้ อน
  • 41. พลังงานไฮเดรชัน (hydration energy) เป็นพลังงานที่ปล่อย (คาย) ออกมา เมื่อ ไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊สที่หลุดออกมาจากโครงผลึก ของสารประกอบไอออนิกถูกโมเลกุลน้่าล้อมรอบ เกิดเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลของน้่ากับไอออนบวกและลบ ดังสมการ Na+(g) + Cl-(g) H2O Na+ (aq) + Cl-(aq) + 764 kJ/mol ## สารใดมีพลังงานไฮเดรชันมากจะยิงละลายน้ าได้ดี ่ พลังงานแลตทิช (Lattice energy) เป็ นพลังงานที่ใช้ในการสลายโครงผลึกของ สารประกอบไอออนิกเป็ นไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊ส(หรื อ เป็ น พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนบวกและไอออนลบในสถานะแก๊สรวมตัวกันเกิด เป็ นโครงผลึกของสารประกอบไอออนิก คายพลังงาน Na+(g) + Cl-(g) NaCl(s) + 768.3 kJ/mol ดูดพลังงาน NaCl(s) Na+(g) + Cl-(g) ; = +768.3 kJ/mol
  • 42. พลังงานกับการละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก Na+(g) + Cl-(g) 2 1 ∆Hhyd = -771 kJ ∆Hlatt = +776 kJ Na+(aq) + Cl-(aq) ∆Hsoln = +5 kJ (พลังงานของการละลาย) NaCl(s)
  • 43. สรุปการละลายน้่าของสารประกอบไอออนิก ∆Hlattice > ∆Hhydration แสดงว่ ามีการดูดพลังงาน ∆Hhydration > ∆Hlatticeแสดงว่ ามีการคายพลังงาน ∆Hlattice >>> ∆Hhydration แสดงว่าสารไอออนิกนั้นไม่ ค่อยละลาย สารที่ละลายน้ าได้ < 0.1 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าไม่ละลาย สารที่ละลายน้ าได้ 0.1-1.0 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าละลายได้บางส่ วน สารที่ละลายน้ าได้ > 1.0 g/H2O 100 cm3 ที่ 25 0C แสดงว่าละลายได้ดี
  • 44.
  • 46.
  • 47. อภิปรายผลการทดลอง สารทั้ง 3 ชนิดละลายในน้าได้แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ ่ NH4Cl ละลายในน้่าได้อย่างรวดเร็ว การเปลียนแปลงประเภทดูดความร้อน ่ NaCl ละลายในน้าได้ดี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานน้อยมาก ่ เพราะอุณหภูมของสารละลายเกือบคงที่ ิ CuSO4 ละลายในน้่าได้ช้า การเปลียนแปลงประเภทคายความร้อน ่
  • 48. อภิปรายผลการทดลอง (ต่อ) อุณหภูมิเป็นป―จจัยส่าคัญอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการละลายของสาร สารที่ละลายในตัวท่าละลายได้มากขึ้น เมื่ออุณหภูมของสารละลายสูงขึน ิ ้ จะมีขั้นตอนในการละลายเป็นแบบดูดพลังงาน เช่น NH4NO3 ส่วนสารละลายในตัวท่าละลายได้น้อยลง เมื่ออุณหภูมของสารละลาย ิ เพิ่มขึน จะมีขั้นตอนในการละลายเป็นแบบคายพลังงาน เช่น Ce2(SO4)3 ้
  • 49.
  • 50. ผลการทดลอง การเปลี่ยนแปลงเมื่อเติมสารละลาย สารละลาย Na2CO3 NH4Cl Pb(NO3)2 Ca(OH)2 เกิดตะกอนสีขาว ไม่ เกิดตะกอน เกิดตะกอนสีขาว Na2SO4 ไม่ เกิดตะกอน ไม่ เกิดตะกอน เกิดตะกอนสีขาว KI ไม่ เกิดตะกอน ไม่ เกิดตะกอน เกิดตะกอนสีเหลือง 1. เมื่อผสมสารละลาย 2 ชนิดเข้าด้วยกันแล้วไม่มตะกอนเกิดขึน แสดงว่า ี ้ ไอออนในสารละลายไม่รวมตัวกัน จึงไม่มีปฏิกรยาเคมีเกิดขึ้น ิิ 2. เมื่อผสมสารละลาย 2 ชนิด เข้าด้วยกันแล้ว มีตะกอนเกิดขึ้น แสดงว่า ไอออนในสารละลายรวมตัวกันเกิดเป็นสารใหม่ที่ไม่ละลายในน้า หรือมี ่ ปฏิกิรยาเคมีเกิดขึ้น ิ
  • 51.
  • 52. เกลือชนิดที่ไม่ละลายน้าและละลายน้่าได้มดังนี้ ่ ี • เกลือของโลหะไอออนหมู่ 1A และ NH4+ ละลายน้่าได้หมด • เกลือของไอออนลบของไนเตรด (NO3-) อะซีเตต (CH3COO-) คลอเรต (ClO3-) และเปอร์คลอเรต(ClO4-) ละลายได้หมด • เกลือคลอไรด์ โบรไมด์ และไอโอไดด์ ละลายน้่าได้ ยกเว้นเกลือคลอไรด์ โบรไมด์ และไอโอไดด์ของ Ag+, Pb2+ , Hg2+ , Hg22+ ไม่ละลายน้า ่ • เกลือซัลเฟต(SO42-) คาร์บอเนต(CO32-) ซัลไฟด์(S2-) ฟอสเฟต(PO43-) และอาร์เซเนต(AsO43-) ของโลหะไอออนหมู่ 2A และ Ag+, Pb2+ , Hg2+ ไม่ละลายน้่า ยกเว้นเกลือดังกล่าวของหมู่ 1A , NH4+ และ MgSO4 ละลายน้่า • เกลือไฮดรอกไซด์ (OH-) ไม่ละลายน้่า ยกเว้น OH- ของโลหะไอออนหมู่ 1A , NH4+ ละลายน้่าได้
  • 53. พลังงานของการละลายนั้นนิยมวัดในรูปของความร้อน Q = mc t เมื่อ Q = ปริมาณความร้อน หน่วยเป็น (J) m = มวลของน้า หน่วยเป็น กรัม (g) ่ c = ความจุความร้อนของน้่า มีค่าเป็น 4.2 J/goC t = อุณหภูมที่เปลี่ยนแปลงไป หน่วยเป็น oC ิ
  • 54. ตัวอย่าง น่าคอปเปอร์(II)โบรไมด์ จ่านวน 0.860 กรัม มาละลายในน้่า 100 cm3 พบว่าอุณหภูมของน้าเปลียนจาก 23.10 oC เป็น 23.41 oC จงค่านวณหาปริมาณ ิ ่ ่ ความร้อนที่เกิดขึน และความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานแลตทิช และพลังงาน ้ ไฮเดรชันเป็นอย่างไร จากอุณหภูมเิ พิมขึ้น 23.10 oC เป็น 23.41 oC แสดงว่าการละลายของ CuBr2 ่ เป็นการคายความร้อน ดังนั้น พลังงานแลตทิชน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน Q = mc t = (100)(4.2)(23.41-23.10) = 130.2 J ข้ อสั งเกต - ถ้ าเกลือทีละลายนาเป็ นกระบวนการดูดความร้ อน เมือเพิมอุณหภูมให้ กบ ่ ้ ่ ่ ิ ั สารละลายการละลายจะเพิมขึน ่ ้ - ถ้ าเกลือทีละลายนาเป็ นกระบวนการคายความร้ อน เมือเพิมอุณหภูมให้ กบ ่ ้ ่ ่ ิ ั สารละลายการละลายจะลดลง
  • 55. ปฏิกิรยาของสารประกอบไอออนิก ิ Cl- Ag+ Na+ NO3- สารละลาย NaCl สารละลาย AgNO3 NaCl Na+(aq) + Cl-(aq) AgNO3 Ag+(aq) + NO3-(aq) AgCl (s) Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq) Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s) สมการไอออนิก
  • 57. การเขียนสมการไอออนิก จากที่ทราบแล้วว่า เมื่อสารประกอบไอออนิกละลายในน้่า ไอออนบวก และ ไอออนลบจะแยกออกจากกันและถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้่าหลายโมเลกุล เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) กับสารละลาย โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) แล้วพบว่ามีตะกอนสีขาวเกิดขึน ตะกอนนี้ไม่ควร ้ เป็นโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เพราะว่า NaOH ละลายได้ในน้าและแตกตัว ่ เป็นไอออนอยู่ในของเหลว ดังนั้นจึงเป็นตะกอนของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) สามารถเขียนสมการได้ดังนี้ Ca2+(aq) + 2OH- (aq) + 2Na+(aq) + CO32-(aq) ---------> CaCO3(s) + 2OH-(aq) + 2Na+(aq)
  • 58. สมการที่แสดงไอออนอิสระของสารประกอบไอออนิกในสารละลายครบทุกชนิด เช่นนี้เรียกว่า "สมการไอออนิก" เนื่องจากปฏิกิริยานี้มี OH- และ Na+ ปรากฏอยู่ทั้ง 2 ด้าน และไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาจึงตัดออกไปได้ Ca2+(aq) + 2OH-(aq) + 2Na+(aq) + CO32-(aq)---------> CaCO3(s) + 2OH - (aq) + 2Na+(aq) Ca2+ + CO32-(aq) ---------> CaCO3(s) สมการข้างต้นเรียกว่า "สมการไอออนิกสุทธิ"
  • 59. NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq) AgNO3 (s) Ag+ (aq) + NO3- (aq) Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq) Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s) สมการไอออนิก Cl-(aq) + Ag+(aq) AgCl(s) สมการไอออนิกสุ ทธิ
  • 60. หลักการเขียนสมการไอออนิก 1. เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลที่ท่าปฏิกิริยากัน 2. ถ้าสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นสารที่ไม่ละลายน้่าหรือไม่แตกตัว เป็นไอออน ให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้ เช่น H2 NH3 CO2 3. ดุลสมการไอออนิก โดยท่าให้จ่านวนอะตอม และจ่านวนไอออน ของทุก ธาตุเท่ากัน รวมทั้งประจุรวมทั้งซ้ายและขวาต้องเท่ากันด้วย
  • 62. โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก โคออร์ดิเนชันนัมเบอร์ คือ จ่านวนไอออนที่หอมล้อมและสัมผัสกับไอออนอืน ้ ่ โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์ 1) โครงสร้างผลึกของ NaCl Na+ จะมี Cl- ห้อมล้อมและ สัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน Cl- จะมี Na+ ห้อมล้อมและ สัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน
  • 63. Cl- Cs+ 2) โครงสร้ างผลึกของ CsCl Cs+ มี Cl- ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน Cl- มี Cs+ ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน 3) โครงสร้ างผลึกของ CaF2 F- Ca 2+ Ca2+ มี F- ห้ อมล้ อมและสัมผัส 8 ไอออน แต่ F- มี Ca2+ ห้ อมล้ อมและสัมผัสเพียง 4 ไอออนเท่านัน ้ การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกจะแสดง อัตราส่วนอย่างต่าของไอออนที่มารวมตัว กันนเท่านัน Ca 2+ : F- = 4:8 = 1:2 ้ สูตรจึงเป็ น CaF2
  • 64. พลังงานพันธะ (Bond Energy) พลังงานพันธะ หรือ พลังงานสลายพันธะ (Bond dissociation energy, D) คือ พลังงานที่ต้องใช้ในการสลายพันธะเคมีแต่ละพันธะในโมเลกุล (มีค่าเป็นบวก) เช่น H2(g) 2H(g) D(H—H) = 436 kJ/mol • พันธะเคมีชนิดเดียวกันในโมเลกุลที่ต่างกันอาจมีค่าพลังงานสลายพันธะต่างกัน เช่น C-H – CH4(g)  CH3(g) + H(g) D(H-C)CH4 = 436 kJ/mol – CH3(g)  CH2(g) + H(g) D(H-C)CH3 = 368 kJ/mol – CH2(g)  CH(g) + H(g) D(H-C)CH2 = 519 kJ/mol – CH(g)  C(g) + H(g) D(H-C)CH = 335 kJ/mol
  • 65. พลังงานพันธะเฉลี่ย (Average Bond Energy) พลังงานพันธะเฉลีย เป็นค่าเฉลียของพลังงานสลายพันธะส่าหรับพันธะแต่ ่ ่ ละชนิดในโมเลกุลต่าง ๆ (เป็นค่าโดยประมาณ)
  • 66. ความร้อนของปฏิกิรยา (Heat of Reaction) ิ การเกิดปฏิกรยาเคมี คือกระบวนการที่มีการท่าลายพันธะเดิม (สารตั้งต้น) ิิ และสร้างพันธะใหม่ (สารผลิตภัณฑ์) ความร้อนของปฏิกรยา ( ิิ Hrxn) คือพลังงานเอนทาลปีของระบบที่ เปลี่ยนแปลงไปในรูปความร้อนเมื่อเกิดปฏิกิริยา สามารถหาได้จาก H rxn  D D reactants products พลังงานพันธะรวม พลังงานพันธะรวม ของสารตั้งต้ น ของผลิตภัณฑ์ – DHrxn เป็นลบ ปฏิกิริยาคายพลังงาน – DHrxn เป็นบวก ต้องใช้พลังงานเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา (ดูดพลังงาน)
  • 67. การค่านวณหาค่าความร้อนของปฏิกรยา ิิ ตัวอย่ าง จงหาพลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาต่อไปนี ้ CH4(g) + Cl2(g)  CH3Cl (g) + HCl(g) –  D (พลังงานพันธะสารตังต้ น) = 4D(C-H) + D(Cl-Cl) ้ reactants –  D (พลังงานพันธะผลิตภัณฑ์ ) = D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H) products • Hrxn = 4D(C-H) + D(Cl-Cl) – [D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H)] = (4414 + 243) – (339 + 3414 + 431) kJ/mol = –113 kJ/mol ปฏิกิริยานี ้จะคายความร้ อนออกมา 113 kJ/mol
  • 68. ความยาวพันธะ (Bond Length) ความยาวพันธะ คือระยะห่างระหว่างอะตอมคู่ที่สร้างพันธะ โดยเป็นต่าแหน่งที่อะตอมทั้งสองดึงดูดกันได้ดีที่สุด มี พลังงานต่่าสุดหรือมีเสถียรภาพที่สุด • ความยาวของพันธะโควาเลนต์สัมพันธ์กับพลังงาน พันธะ – ความยาวพันธะเดี่ยว  พันธะคู่  พันธะสาม – พลังงานพันธะเดี่ยว  พันธะคู่  พันธะสาม Bond Bond Length Energy
  • 70. มุมพันธะ มุมพันธะ คือมุมที่เกิดขึ้น เมื่อลาก 106.0 เส้นผ่านพันธะ 2 พันธะมาตัดที่ นิวเคลียสของอะตอมกลาง 104.0 • โมเลกุลที่มีสูตรเคมีคล้ายกัน มุมพันธะอาจไม่เท่ากัน – H2O = 104.5  H2S = 92 • การท่านายโครงสร้างของโมเลกุลเช่น มุมพันธะ จ่าเป็นต้องอาศัยข้อมูล เกี่ยวกับอิเล็กตรอนในโมเลกุล
  • 71. สภาพขัวของพันธะ (Bond Polarity) ้ สภาพขัวของพันธะ คือ การอธิบายการกระจายตัวของอิเล็กตรอนที่ใช้ในการ ้ สร้างพันธะระหว่างอะตอม • สภาพขั้วของพันธะโควาเลนต์ขึ้นอยู่กับ ค่า EN ของอะตอมทั้งสอง ถ้าค่า EN ของอะตอมทั้งสองต่างกัน การกระจายตัวของอิเล็กตรอนในบริเวณ ระหว่างอะตอมทั้งสองจะไม่สม่่าเสมอ ซึ่งจะเรียกว่า พันธะโควาเลนต์แบบมีขว ั้ X+Y- เมื่อ EN ของ Y  X H + F H F + -
  • 72. สภาพขัวของโมเลกุล (Polarity of Molecule) ้ สภาพขัวของโมเลกุลคือสภาพขั้วสุทธิ (net dipole )ของพันธะทุกพันธะใน ้ โมเลกุล • สภาพขั้วของโมเลกุลหาได้โดยการรวมสภาพขั้วของพันธะทุกพันธะแบบเวคเตอร์
  • 73. ตัวอย่างสภาพขัวของโมเลกุล ้ • BCl3 • NH3 • CHCl3 • SF5 • HCN
  • 74. โมเมนต์ขวคู่ ั้ (Dipole Moments) ภายในโมเลกุลของสารประกอบ ถ้าอะตอมมีคา EN ต่างกัน มีการดึง ่ อิเล็กตรอนท่าให้เกิดขัวขึน ้ ้ ตัวอย่าง แสดงทิศทางการดึงของ e- H F แสดงขัว (polar bond) ้ 2.1 4.0 -  +  H F H F
  • 75.
  • 76. dipole moment สุ ทธิ  = 1. 87 โมเลกุล H2O ... O (เป็ น polar molecule) H H ขั้วของโมเลกุล คานวณจากผลรวมแบบ vector ของขั้วของพันธะ โมเลกุล CO2 O C O เป็ น non-polar molecule =0 โมเลกุล C2H2Cl2 Cl Cl H Cl C C C C Cl H H H Cis (polar) Trans  = 0  = 1. 89