SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 6)
                   ้
               ความนาจะเปน 1

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                          สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                          - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                                  ่
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                          - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                          - การทดลองสุม
                          - ปริภูมิตัวอยาง
                          - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                          - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                          - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                          - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                          - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้
12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
 ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (ความนาจะเปน 1)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            6 (6/7)

หัวขอยอย       1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                 2. การหาความนาจะเปนแบบงาย



จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจและใชสมบัติพื้นฐานของความนาจะเปนในการแกปญหาได
    2. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมซับซอนได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายสมบัติพื้นฐานของความนาจะเปนได
   2. นําสมบัติของความนาจะเปนไปใชในการแกปญหาได
   3. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมซับซอนได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                  1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน

          ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเกี่ยวกับสมบัตพ้นฐานของความนาจะเปน โดยในสื่อการสอนจะเริ่มดวยการ
                                              ิ ื
ทบทวนนิยามของความนาจะเปนของเหตุการณ พรอมทั้งยกตัวอยางเพื่อเปนแนวคิดไปสูสมบัติของความนาจะ
เปนที่วา สําหรับเหตุการณ A ใด ๆ

                                                P ( A) = 1 − P( A′)




        จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาสมบัติที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน ซึ่งสมบัติดังกลาวจะชวยให
การหาความนาจะเปนของบางเหตุการณทาไดงายและสะดวกยิ่งขึน โดยผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการประยุกตใช
                                        ํ                    ้
สมบัติเหลานี้ในหัวขอที่ 2




                                                         6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        หลังจากผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจเนนย้ําผูเรียนวา การเขียนแผนภาพเวนน-ออย
เลอรจะชวยใหเขาใจและจดจําสมบัติตาง ๆ ของความนาจะเปนไดงายยิ่งขึ้น จากนั้น ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกัน
                                                                 
พิสูจนหมายเหตุที่ไดใหไวในสื่อการสอนกอนที่ผูสอนจะแสดงใหผูเรียนดู ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง ให S เปนปริภูมิตัวอยางและ       A, B, C   เปนเหตุการณใด ๆ จะไดวา
        P ( A ∪ B ∪ C ) = P( A) + P( B) + P(C ) − P( A ∩ B) − P( A ∩ C ) − P( B ∩ C ) + P( A ∩ B ∩ C )
วิธีทา ให
     ํ       A, B, C   เปนเหตุการณใด ๆ จะไดวา
        P( A ∪ B ∪ C ) = P(( A ∪ B) ∪ C )
                            = P( A ∪ B) + P(C ) − P(( A ∪ B) ∩ C )
                            = P( A) + P ( B ) − P( A ∩ B) + P(C ) − P(( A ∩ C ) ∪ ( B ∩ C ))
                            = P( A) + P ( B ) + P (C ) − P ( A ∩ B ) − [ P( A ∩ C ) + P( B ∩ C ) − P( A ∩ B ∩ C )]
                            = P( A) + P ( B ) + P(C ) − P( A ∩ B ) − P( A ∩ C ) − P( B ∩ C ) + P( A ∩ B ∩ C )




                                                             7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           2. การหาความนาจะเปนแบบงาย




                                      8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      2. การหาความนาจะเปนแบบงาย

        ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชสมบัติของความนาจะเปนที่ไดศึกษา
ในหัวขอที่แลวเขาชวย ซึ่งทําใหสามารถหาคาความนาจะเปนไดงายและสะดวกยิ่งขึน
                                                                               ้




                                                         9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        เพื่อใหผูเรียนสามารถประยุกตใชสมบัติของความนาจะเปนไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทํา
ตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอยาง ความนาจะเปนทีนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาคณิตศาสตรเปน 0.4 และสอบผานวิชาภาษาอังกฤษเปน
                         ่
0.5 ความนาจะเปนที่จะสอบผานอยางมากหนึ่งวิชาเปน 0.7 จงหาความนาจะเปนทีนายกฤษฎาจะสอบผาน
                                                                          ่
อยางนอยหนึ่งวิชา
วิธีทํา ให A แทนเหตุการณทนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาคณิตศาสตร และ
                               ่ี
            B แทนเหตุการณทนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาภาษาอังกฤษ
                            ่ี
ดังนั้น
                                      P( A) = 0.4 และ P( B) = 0.5
เนื่องจาก นิเสธของ “เหตุการณที่นายกฤษฎาจะสอบผานอยางมากหนึ่งวิชา”
               คือ “เหตุการณที่นายกฤษฎาจะสอบผานทั้งสองวิชา”
ดังนั้น P( A ∩ B) = 1 − 0.7 = 0.3
ทําใหไดวา             ความนาจะเปนที่นายกฤษฎาจะสอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา
                         = P( A ∪ B)
                         = P( A) + P( B ) − P( A ∩ B)
                         = 0.4 + 0.5 − 0.3
                         = 0.6




                                                         10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 7 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซํากัน เริ่มจาก 1 − 7 สุมหยิบสลาก 2 ใบจาก
                                                                 ้
กลองใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ไมลงตัว
วิธีทา ให A แทนเหตุการณที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ลงตัว
     ํ
        ดังนั้น
                           A = {{1, 2},{1,5},{2, 4},{2, 7},{3, 6},{4,5},{5, 7}}


                                 ผลรวม         ผลรวม           ผลรวมเปน 9 ผลรวมเปน 12
                                 เปน 3        เปน 6
ทําใหไดวา
                ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ไมลงตัว
                                                 7      7 2
                 = P ( A′) = 1 − P( A) = 1 −        = 1− =
                                               7      21 3
                                                
                                                2
       จากนั้น ผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชความรูเรื่องการเรียงสับเปลี่ยน ซึ่งผูเรียน
จะตองระมัดเรื่องลําดับกอนหลังของสิ่งของที่หยิบได




                                                         11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




หมายเหตุ สําหรับตัวอยางขางตน การหาคาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดงกับสีขาว เราอาจ
พิจารณาอีกแบบไดดังนี้                                   สลับตําแหนงลูกบอล
                                         สีแดง สีขาว สีแดงและสีขาว

         P(เหตุการณทไดลูกบอลสีแดงกับสีขาว) = 3 × 2 × 2!
                     ี่
                                                          9×9




       หลังจากที่ผูเรียนไดชมปญหาชวนคิดในสือการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหา
                                             ่
คําตอบ จากนันผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู
            ้

ปญหาชวนคิด กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 4 ลูก สุมหยิบลูกบอลทีละลูก
จํานวน 3 ครั้ง โดยใสลกบอลกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกบอลสีตางกันทั้งหมด
                      ู
วิธีทํา            P(เหตุการณที่ไดลูกบอลสีตางกันทั้งหมด)
                  = P(เหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดง สีขาวและสีน้ําเงิน สีละ 1 ลูก)

                                          สลับตําแหนงลูกบอล
                                         สีแดง สีขาวและสีน้ําเงิน

                      (3 × 2 × 4) × 3! 16
                  =                   =
                         9×9×9          81


                                                        12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 4 ลูก สุมหยิบลูกบอลทีละลูกจํานวน 6
ครั้ง โดยใสลูกบอลกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกบอลครบทุกสี
วิธีทํา P(เหตุการณที่ไดลูกบอลครบทุกสี)
      = 1 − P(เหตุการณที่ไดลูกบอลไมครบทุกสี)

      = 1−  P(เหตุการณที่ไมไดลูกบอลสีแดง หรือ เหตุการณที่ไมไดลูกบอลสีขาว)
      = 1 − P(ไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก หรือ
               ไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีนาเงิน 3 ลูก หรือ
                                       ้ํ
               ไดลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีนาเงิน 4 ลูก)
                                          ้ํ
      = 1− 
           
                P(ไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก)
                + P( ไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีน้ําเงิน 3 ลูก)

                + P(ไดลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก) 
                                                            
               2  4   3  4    3 4
                 6!     6!     6! 
             2 4          3 3         2 4            (1 + 4 + 3)6!     8 × 6!
      = 1 −    6  +    6  +    6   = 1−        6
                                                                    = 1− 6
                  9          9          9                9              9
                                              


หมายเหตุ สําหรับตัวอยางขางตน ถาหาความนาจะเปนของเหตุการณทไดลูกบอลครบทุกสีโดยตรง โดยไมใช
                                                               ่ี
สมบัติของความนาจะเปนเขาชวย จะตองแบงกรณีพจารณา ดังนี้
                                                ิ

                                        จํานวนลูกบอลที่หยิบได(ลูก)
                                      สีแดง       สีขาว       สีน้ําเงิน
                                        3           2              1
                                        3           1              2
                                        2           2              2
                                        2           1              3
                                        1           2              3
                                        1           1              4

ซึ่งผูเรียนตองระมัดระวังวาตองแจกแจงกรณีใหครบทุกกรณี



                                                         13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ ซึ่งมีหมายเลข 0 – 9 กํากับ สุมสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบครั้ง
ละ 1 ใบ และไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนทีหมายเลขบนสลากอยางนอยหนึ่งใบหาร
                                                                 ่
ดวย 3 ลงตัว
วิธีทํา P(เหตุการณที่หมายเลขบนสลากอยางนอยหนึ่งใบหารดวย 3 ลงตัว)
       = 1−      P(เหตุการณที่หมายเลขบนสลากทั้งสองใบหารดวย 3 ไมลงตัว)
               6×5       1 2
       = 1−          = 1− =
              10 × 9     3 3


        สําหรับตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางการหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชสมบัติความนาจะเปน
แตเนนการเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรเขาชวย




ปญหาชวนคิด ให      A   และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 3 , P( B ∩ A′) = 1 และ P( B) = 2
                                                                        5                   5           5
จงหา P( A′ ∩ B′)
วิธทํา เนื่องจาก B = ( B ∩ A′) ∪ ( A ∩ B) และ ( B ∩ A′) ∩ ( A ∩ B) = ∅
   ี
       โดยสมบัติของความนาจะเปน จะไดวา
       P ( B ) = P ( B ∩ A′) + P( A ∩ B)
       ดังนั้น                                                          A                               B
                                               2 1 1
      P ( A ∩ B) = P( B) − P( B ∩ A′) =         − =                            A− B      A ∩ B B ∩ A′
                                               5 5 5




                                                                                      2 1 1                 1
                                                                                       − =
                                                                                      5 5 5                 5

                                                           14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


       ในทํานองเดียวกัน เนื่องจาก A = ( A − B) ∪ ( A ∩ B) และ ( A − B) ∩ ( A ∩ B) = ∅
       ดังนั้น                 P( A) = P( A − B) + P( A ∩ B)
                                                            3 1 2
      นั่นคือ               P ( A − B) = P( A) − P( A ∩ B) = − =
                                                            5 5 5
      จากนั้นนํามาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดดังนี้




                                                                        2 1 1 1
         ดังนัน
              ้       P ( A′ ∩ B′) = P(( A ∪ B)′) = 1 − P( A ∪ B) = 1 −  + +  =
                                                                        5 5 5 5




ขอสังเกต การใสคาความนาจะเปนลงในบริเวณตาง ๆ ของแผนภาพเวนน-ออยเลอร เราไดใชสมบัติที่วา
                 
สําหรับเหตุการณ A1 , A2 ใด ๆ ถา A1 ∩ A2 = ∅ แลว P( A1 ∪ A2 ) = P( A1 ) + P( A2 )

ตัวอยาง ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 0.3, P( B) = 0.5 และ P( A′ ∩ B′) = 0.4
จงหา P( A ∩ B)
วิธีทํา แบบที่ 1
        เนื่องจาก 0.4 = P( A′ ∩ B′) = P(( A ∪ B)′) = 1 − P( A ∪ B) ดังนั้น P( A ∪ B) = 1 − 0.4 = 0.6
        ทําใหไดวา P( A ∪ B) = P( A) + P( B) − P( A ∩ B)
                  
                          0.6 = 0.3 + 0.5 − P( A ∩ B)
                  P ( A ∩ B) = 0.8 − 0.6 = 0.2




                                                         15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


แบบที่ 2 วาดแผนภาพเวนน-ออยเลอรเขาชวย



                                      A                   B


                                0.3 − x        x 0.5 − x

                          0.4

         จากแผนภาพเวนน-ออยเลอรและสมบัติของความนาจะเปน จะไดวา
                                                                
                      (0.3 − x) + x + (0.5 − x) + 0.4 = 1
                                                        x = 0.2




                                                 16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                       แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                              เรื่อง การหาความนาจะเปนแบบงาย

                                                                                     2
1. ความนาจะเปนที่นายวิรัชจะสอบผานวิชาคณิตศาสตรและวิชาเคมีเทากับ                     และ 1 ตามลําดับ
                                                                                     5        3
                                                               1
     ถาความนาจะเปนที่เขาจะสอบผานทั้งสองวิชานี้เปน             จงหาความนาจะเปนที่เขาจะสอบไมผานทั้งสอง
                                                               4
     วิชา
2.   สุมจํานวนเต็ม 1 จํานวนจากจํานวนเต็ม 10 – 59 จงหาความนาจะเปนทีจํานวนที่สุมไดหารดวย 7 ลงตัว
                                                                      ่
     หรือเปนจํานวนคี่
3.   กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 5 ลูกและสีแดง 4 ลูก สุมหยิบลูกบอล 3 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน
     จงหาความนาจะเปนที่สุมไดลูกบอลทั้งสองสี
4.   กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง
     ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่
     4.1 ผลรวมของแตมมากกวา 8
     4.2 ผลรวมของแตมหารดวย 3 หรือหารดวย 7 ลงตัว
5.   ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ จงแสดงวา
     5.1 ถา A ⊆ B แลว P( B − A) = P( B) − P( A)
     5.2 P( A ∪ B) = P( A ∩ B) + P( A ∩ B′) + P( A′ ∩ B)
     5.3 P( A ∪ B) = P( A) + P( B − A)
6.   ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 3 , P( A − B) = 1 และ P( A ∪ B) = 4
                                                           5                  3                           5
   จงหา P( B)
7. ให A เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ 2 P( A) = 5P( A′) จงหา P( A)
8. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A ∩ B) = P( A ∩ B′) = P( A′ ∩ B) = 0.1 จงหา
     P( A ∪ B)
9. ให A และ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน โดยที่           P( A) = 0.2    และ    P( B′) = 0.6     จงหา
   9.1 P( A′ ∪ B)
   9.2 P( A′ ∩ B)
   9.3 P( A′ ∪ B′)
   9.4 P( A′ ∩ B′)



                                                      17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                   สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                      แบบฝกหัดระคน

1. ในการสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย ความนาจะเปนที่นายมานะจะสอบเขามหาวิทยาลัยไดเปน 0.6
   ความนาจะเปนที่นายอดทนจะสอบเขามหาวิทยาลัยไดเปน 0.5 และความนาจะเปนที่จะสอบเขามหาวิทยาลัย
   ไดทั้งสองคนเปน 0.3 ความนาจะเปนที่จะสอบเขามหาวิทยาลัยไมไดทั้งสองคนมีคาเทากับขอใดตอไปนี้
          1.    0.2                                   2.      0.3
          3.    0.7                                   4.      0.8

2. กําหนดให A = { 2,3, 4,… ,10} , B = {0, 2, 4, 6,8,10} และ C = {1,3,5, 7,9} สุมตัวเลขจากเซต B มา
   1 จํานวน และสุมตัวเลขจากเซต C มา 1 จํานวน ความนาจะเปนที่ผลบวกของตัวเลขทั้งสองจะไมอยูใน
   เซต A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
                 13                                                         7
         1.                                                      2.
                 30                                                        15
                  8                                                        17
         3.                                                      4.
                 15                                                        30


3. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ ถา           P ( A − B ) = P ( B − A) = P( A ∩ B) = c        แลวจะไดวา   P ( A′ ∩ B′)
   เทากับขอใดตอไปนี้
        1.      c                                                2.        3c
        3.     1− c                                              4.        1 − 3c


4. ให   A และ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
          1.    ถา P( A) = 0.2 = P( B) แลว P( A′ ∪ B) = 0.6
         2.     ถา P( A) = 0.3 = P( B) แลว P( A − B′) = 0.3
         3.     ถา P( A) = 0.1 และ P( B) = 0.3 แลว P( A′ ∩ B′) = 0.6
         4.     ถา P( A) = 0.2 และ P( B) = 0.3 แลว P( A′ ∩ B) = 0.2




                                                           22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. สุมจํานวนเต็ม 1 จํานวนจากจํานวนเต็ม 1 − 200 ความนาจะเปนทีจํานวนที่สุมไดหารดวย 3 หรือ 7 ลงตัว
                                                               ่
   เทากับ ขอใดตอไปนี้
                17                                                         47
        1.                                                      2.
                40                                                        100
                13                                                         53
        3.                                                      4.
                40                                                        100


6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ลูกเตาทั้งสองลูกขึ้นแตมเทากันหรือผลรวมของแตมหารดวย 5 ไม
   ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้
                 7                                                          8
        1.                                                      2.
                36                                                         36
                29                                                         30
        3.                                                      4.
                36                                                         36


7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ
       ํ
   สุมหยิบไพ 4 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะไดไพไมครบทุกหนาเทากับขอใดตอไปนี้
                 134                                                        134
        1.                                                      2.
                   52                                                     52 
                4!                                                        
                  4                                                      4
                      134                                                        134
        3.      1−                                              4.        1−
                      52                                                         52 
                                                                              4! 
                     4                                                          4


8. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา
   3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีตางกันเทากับ
   ขอใดตอไปนี้
                 3                                                         1
        1.                                                      2.
                14                                                         4
                 7                                                         3
        3.                                                      4.
                14                                                         4




                                                          23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



9. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้นทอด
   ลูกเตา 1 ลูก ความนาจะเปนที่หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ข้นมีคาตางกันเทากับขอใด
                                                                            ึ 
   ตอไปนี้
                 1                                                         2
        1.                                                      2.
                10                                                         5
                3                                                          9
        3.                                                      4.
                5                                                         10


10. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกว 8 ลูก เปนลูกแกวสีแดง 5 ลูก และสีขาว 3 ลูก สุมหยิบลูกแกว 4 ลูกจากกลอง
    ใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนทีจะไดลูกแกวสีแดงอยางนอยสองลูกเทากับขอใดตอไปนี้
                                 ่
                 2                                                         1
        1.                                                      2.
                35                                                        14
                13                                                         33
        3.                                                      4.
                14                                                         35




                                                          24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                              เฉลยแบบฝกหัด
                                 เรื่อง การหาความนาจะเปนแบบงาย
     31                     29                       5
1.                       2.                     3.
     60                     50                       6
          3
4. 4.1                  4.2 1
          5                  2
      7
6.                        7. 5                   8. 0.3
     15                      7
9. 9.1 0.8               9.2 0.4               9.3 1                   9.4 0.4


                                          เฉลยแบบฝกหัดระคน
 1. 1                     2. 3                    3. 4                       4. 3
 5. 1                     6. 4                    7. 3                       8. 4
9. 4                     10. 3




                                                     26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                  29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                  ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                    30

More Related Content

What's hot

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 krurutsamee
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรWichai Likitponrak
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 

What's hot (20)

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
56 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่1_การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3 ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
งานมิ้นปอง
งานมิ้นปองงานมิ้นปอง
งานมิ้นปอง
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 

Similar to 71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 

Similar to 71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1 (20)

84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 6) ้ ความนาจะเปน 1 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (ความนาจะเปน 1) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 6 (6/7) หัวขอยอย 1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน 2. การหาความนาจะเปนแบบงาย จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจและใชสมบัติพื้นฐานของความนาจะเปนในการแกปญหาได 2. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมซับซอนได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายสมบัติพื้นฐานของความนาจะเปนได 2. นําสมบัติของความนาจะเปนไปใชในการแกปญหาได 3. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมซับซอนได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเกี่ยวกับสมบัตพ้นฐานของความนาจะเปน โดยในสื่อการสอนจะเริ่มดวยการ ิ ื ทบทวนนิยามของความนาจะเปนของเหตุการณ พรอมทั้งยกตัวอยางเพื่อเปนแนวคิดไปสูสมบัติของความนาจะ เปนที่วา สําหรับเหตุการณ A ใด ๆ P ( A) = 1 − P( A′) จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาสมบัติที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน ซึ่งสมบัติดังกลาวจะชวยให การหาความนาจะเปนของบางเหตุการณทาไดงายและสะดวกยิ่งขึน โดยผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการประยุกตใช ํ ้ สมบัติเหลานี้ในหัวขอที่ 2 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลังจากผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจเนนย้ําผูเรียนวา การเขียนแผนภาพเวนน-ออย เลอรจะชวยใหเขาใจและจดจําสมบัติตาง ๆ ของความนาจะเปนไดงายยิ่งขึ้น จากนั้น ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกัน  พิสูจนหมายเหตุที่ไดใหไวในสื่อการสอนกอนที่ผูสอนจะแสดงใหผูเรียนดู ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง ให S เปนปริภูมิตัวอยางและ A, B, C เปนเหตุการณใด ๆ จะไดวา P ( A ∪ B ∪ C ) = P( A) + P( B) + P(C ) − P( A ∩ B) − P( A ∩ C ) − P( B ∩ C ) + P( A ∩ B ∩ C ) วิธีทา ให ํ A, B, C เปนเหตุการณใด ๆ จะไดวา P( A ∪ B ∪ C ) = P(( A ∪ B) ∪ C ) = P( A ∪ B) + P(C ) − P(( A ∪ B) ∩ C ) = P( A) + P ( B ) − P( A ∩ B) + P(C ) − P(( A ∩ C ) ∪ ( B ∩ C )) = P( A) + P ( B ) + P (C ) − P ( A ∩ B ) − [ P( A ∩ C ) + P( B ∩ C ) − P( A ∩ B ∩ C )] = P( A) + P ( B ) + P(C ) − P( A ∩ B ) − P( A ∩ C ) − P( B ∩ C ) + P( A ∩ B ∩ C ) 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. การหาความนาจะเปนแบบงาย 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. การหาความนาจะเปนแบบงาย ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชสมบัติของความนาจะเปนที่ไดศึกษา ในหัวขอที่แลวเขาชวย ซึ่งทําใหสามารถหาคาความนาจะเปนไดงายและสะดวกยิ่งขึน ้ 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนสามารถประยุกตใชสมบัติของความนาจะเปนไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทํา ตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม ตัวอยาง ความนาจะเปนทีนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาคณิตศาสตรเปน 0.4 และสอบผานวิชาภาษาอังกฤษเปน ่ 0.5 ความนาจะเปนที่จะสอบผานอยางมากหนึ่งวิชาเปน 0.7 จงหาความนาจะเปนทีนายกฤษฎาจะสอบผาน ่ อยางนอยหนึ่งวิชา วิธีทํา ให A แทนเหตุการณทนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาคณิตศาสตร และ ่ี B แทนเหตุการณทนายกฤษฎาจะสอบผานวิชาภาษาอังกฤษ ่ี ดังนั้น P( A) = 0.4 และ P( B) = 0.5 เนื่องจาก นิเสธของ “เหตุการณที่นายกฤษฎาจะสอบผานอยางมากหนึ่งวิชา” คือ “เหตุการณที่นายกฤษฎาจะสอบผานทั้งสองวิชา” ดังนั้น P( A ∩ B) = 1 − 0.7 = 0.3 ทําใหไดวา ความนาจะเปนที่นายกฤษฎาจะสอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา = P( A ∪ B) = P( A) + P( B ) − P( A ∩ B) = 0.4 + 0.5 − 0.3 = 0.6 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 7 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซํากัน เริ่มจาก 1 − 7 สุมหยิบสลาก 2 ใบจาก ้ กลองใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ไมลงตัว วิธีทา ให A แทนเหตุการณที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ลงตัว ํ ดังนั้น A = {{1, 2},{1,5},{2, 4},{2, 7},{3, 6},{4,5},{5, 7}} ผลรวม ผลรวม ผลรวมเปน 9 ผลรวมเปน 12 เปน 3 เปน 6 ทําใหไดวา ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขที่ไดหารดวย 3 ไมลงตัว 7 7 2 = P ( A′) = 1 − P( A) = 1 − = 1− = 7 21 3    2 จากนั้น ผูเรียนจะไดเห็นตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชความรูเรื่องการเรียงสับเปลี่ยน ซึ่งผูเรียน จะตองระมัดเรื่องลําดับกอนหลังของสิ่งของที่หยิบได 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หมายเหตุ สําหรับตัวอยางขางตน การหาคาความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดงกับสีขาว เราอาจ พิจารณาอีกแบบไดดังนี้ สลับตําแหนงลูกบอล สีแดง สีขาว สีแดงและสีขาว P(เหตุการณทไดลูกบอลสีแดงกับสีขาว) = 3 × 2 × 2! ี่ 9×9 หลังจากที่ผูเรียนไดชมปญหาชวนคิดในสือการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหา ่ คําตอบ จากนันผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู ้ ปญหาชวนคิด กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 4 ลูก สุมหยิบลูกบอลทีละลูก จํานวน 3 ครั้ง โดยใสลกบอลกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกบอลสีตางกันทั้งหมด ู วิธีทํา P(เหตุการณที่ไดลูกบอลสีตางกันทั้งหมด) = P(เหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดง สีขาวและสีน้ําเงิน สีละ 1 ลูก) สลับตําแหนงลูกบอล สีแดง สีขาวและสีน้ําเงิน (3 × 2 × 4) × 3! 16 = = 9×9×9 81 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 4 ลูก สุมหยิบลูกบอลทีละลูกจํานวน 6 ครั้ง โดยใสลูกบอลกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกบอลครบทุกสี วิธีทํา P(เหตุการณที่ไดลูกบอลครบทุกสี) = 1 − P(เหตุการณที่ไดลูกบอลไมครบทุกสี) = 1− P(เหตุการณที่ไมไดลูกบอลสีแดง หรือ เหตุการณที่ไมไดลูกบอลสีขาว) = 1 − P(ไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก หรือ ไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีนาเงิน 3 ลูก หรือ ้ํ ไดลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีนาเงิน 4 ลูก) ้ํ = 1−   P(ไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก) + P( ไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีน้ําเงิน 3 ลูก) + P(ไดลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีน้ําเงิน 4 ลูก)    2  4   3  4   3 4    6!     6!     6!   2 4 3 3 2 4 (1 + 4 + 3)6! 8 × 6! = 1 −    6  +    6  +    6   = 1− 6 = 1− 6  9 9 9  9 9   หมายเหตุ สําหรับตัวอยางขางตน ถาหาความนาจะเปนของเหตุการณทไดลูกบอลครบทุกสีโดยตรง โดยไมใช ่ี สมบัติของความนาจะเปนเขาชวย จะตองแบงกรณีพจารณา ดังนี้ ิ จํานวนลูกบอลที่หยิบได(ลูก) สีแดง สีขาว สีน้ําเงิน 3 2 1 3 1 2 2 2 2 2 1 3 1 2 3 1 1 4 ซึ่งผูเรียนตองระมัดระวังวาตองแจกแจงกรณีใหครบทุกกรณี 13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ ซึ่งมีหมายเลข 0 – 9 กํากับ สุมสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบครั้ง ละ 1 ใบ และไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป จงหาความนาจะเปนทีหมายเลขบนสลากอยางนอยหนึ่งใบหาร ่ ดวย 3 ลงตัว วิธีทํา P(เหตุการณที่หมายเลขบนสลากอยางนอยหนึ่งใบหารดวย 3 ลงตัว) = 1− P(เหตุการณที่หมายเลขบนสลากทั้งสองใบหารดวย 3 ไมลงตัว) 6×5 1 2 = 1− = 1− = 10 × 9 3 3 สําหรับตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางการหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชสมบัติความนาจะเปน แตเนนการเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรเขาชวย ปญหาชวนคิด ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 3 , P( B ∩ A′) = 1 และ P( B) = 2 5 5 5 จงหา P( A′ ∩ B′) วิธทํา เนื่องจาก B = ( B ∩ A′) ∪ ( A ∩ B) และ ( B ∩ A′) ∩ ( A ∩ B) = ∅ ี โดยสมบัติของความนาจะเปน จะไดวา P ( B ) = P ( B ∩ A′) + P( A ∩ B) ดังนั้น A B 2 1 1 P ( A ∩ B) = P( B) − P( B ∩ A′) = − = A− B A ∩ B B ∩ A′ 5 5 5 2 1 1 1 − = 5 5 5 5 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในทํานองเดียวกัน เนื่องจาก A = ( A − B) ∪ ( A ∩ B) และ ( A − B) ∩ ( A ∩ B) = ∅ ดังนั้น P( A) = P( A − B) + P( A ∩ B) 3 1 2 นั่นคือ P ( A − B) = P( A) − P( A ∩ B) = − = 5 5 5 จากนั้นนํามาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดดังนี้ 2 1 1 1 ดังนัน ้ P ( A′ ∩ B′) = P(( A ∪ B)′) = 1 − P( A ∪ B) = 1 −  + +  = 5 5 5 5 ขอสังเกต การใสคาความนาจะเปนลงในบริเวณตาง ๆ ของแผนภาพเวนน-ออยเลอร เราไดใชสมบัติที่วา  สําหรับเหตุการณ A1 , A2 ใด ๆ ถา A1 ∩ A2 = ∅ แลว P( A1 ∪ A2 ) = P( A1 ) + P( A2 ) ตัวอยาง ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 0.3, P( B) = 0.5 และ P( A′ ∩ B′) = 0.4 จงหา P( A ∩ B) วิธีทํา แบบที่ 1 เนื่องจาก 0.4 = P( A′ ∩ B′) = P(( A ∪ B)′) = 1 − P( A ∪ B) ดังนั้น P( A ∪ B) = 1 − 0.4 = 0.6 ทําใหไดวา P( A ∪ B) = P( A) + P( B) − P( A ∩ B)  0.6 = 0.3 + 0.5 − P( A ∩ B) P ( A ∩ B) = 0.8 − 0.6 = 0.2 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบที่ 2 วาดแผนภาพเวนน-ออยเลอรเขาชวย A B 0.3 − x x 0.5 − x 0.4 จากแผนภาพเวนน-ออยเลอรและสมบัติของความนาจะเปน จะไดวา  (0.3 − x) + x + (0.5 − x) + 0.4 = 1 x = 0.2 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การหาความนาจะเปนแบบงาย 2 1. ความนาจะเปนที่นายวิรัชจะสอบผานวิชาคณิตศาสตรและวิชาเคมีเทากับ และ 1 ตามลําดับ 5 3 1 ถาความนาจะเปนที่เขาจะสอบผานทั้งสองวิชานี้เปน จงหาความนาจะเปนที่เขาจะสอบไมผานทั้งสอง 4 วิชา 2. สุมจํานวนเต็ม 1 จํานวนจากจํานวนเต็ม 10 – 59 จงหาความนาจะเปนทีจํานวนที่สุมไดหารดวย 7 ลงตัว ่ หรือเปนจํานวนคี่ 3. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 5 ลูกและสีแดง 4 ลูก สุมหยิบลูกบอล 3 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่สุมไดลูกบอลทั้งสองสี 4. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ 4.1 ผลรวมของแตมมากกวา 8 4.2 ผลรวมของแตมหารดวย 3 หรือหารดวย 7 ลงตัว 5. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ จงแสดงวา 5.1 ถา A ⊆ B แลว P( B − A) = P( B) − P( A) 5.2 P( A ∪ B) = P( A ∩ B) + P( A ∩ B′) + P( A′ ∩ B) 5.3 P( A ∪ B) = P( A) + P( B − A) 6. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 3 , P( A − B) = 1 และ P( A ∪ B) = 4 5 3 5 จงหา P( B) 7. ให A เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ 2 P( A) = 5P( A′) จงหา P( A) 8. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A ∩ B) = P( A ∩ B′) = P( A′ ∩ B) = 0.1 จงหา P( A ∪ B) 9. ให A และ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน โดยที่ P( A) = 0.2 และ P( B′) = 0.6 จงหา 9.1 P( A′ ∪ B) 9.2 P( A′ ∩ B) 9.3 P( A′ ∪ B′) 9.4 P( A′ ∩ B′) 17
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 20
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. ในการสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย ความนาจะเปนที่นายมานะจะสอบเขามหาวิทยาลัยไดเปน 0.6 ความนาจะเปนที่นายอดทนจะสอบเขามหาวิทยาลัยไดเปน 0.5 และความนาจะเปนที่จะสอบเขามหาวิทยาลัย ไดทั้งสองคนเปน 0.3 ความนาจะเปนที่จะสอบเขามหาวิทยาลัยไมไดทั้งสองคนมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 0.2 2. 0.3 3. 0.7 4. 0.8 2. กําหนดให A = { 2,3, 4,… ,10} , B = {0, 2, 4, 6,8,10} และ C = {1,3,5, 7,9} สุมตัวเลขจากเซต B มา 1 จํานวน และสุมตัวเลขจากเซต C มา 1 จํานวน ความนาจะเปนที่ผลบวกของตัวเลขทั้งสองจะไมอยูใน เซต A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 13 7 1. 2. 30 15 8 17 3. 4. 15 30 3. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ ถา P ( A − B ) = P ( B − A) = P( A ∩ B) = c แลวจะไดวา P ( A′ ∩ B′) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. c 2. 3c 3. 1− c 4. 1 − 3c 4. ให A และ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. ถา P( A) = 0.2 = P( B) แลว P( A′ ∪ B) = 0.6 2. ถา P( A) = 0.3 = P( B) แลว P( A − B′) = 0.3 3. ถา P( A) = 0.1 และ P( B) = 0.3 แลว P( A′ ∩ B′) = 0.6 4. ถา P( A) = 0.2 และ P( B) = 0.3 แลว P( A′ ∩ B) = 0.2 22
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. สุมจํานวนเต็ม 1 จํานวนจากจํานวนเต็ม 1 − 200 ความนาจะเปนทีจํานวนที่สุมไดหารดวย 3 หรือ 7 ลงตัว ่ เทากับ ขอใดตอไปนี้ 17 47 1. 2. 40 100 13 53 3. 4. 40 100 6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ลูกเตาทั้งสองลูกขึ้นแตมเทากันหรือผลรวมของแตมหารดวย 5 ไม ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้ 7 8 1. 2. 36 36 29 30 3. 4. 36 36 7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ ํ สุมหยิบไพ 4 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะไดไพไมครบทุกหนาเทากับขอใดตอไปนี้ 134 134 1. 2.  52   52  4!    4 4 134 134 3. 1− 4. 1−  52   52    4!  4 4 8. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา 3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีตางกันเทากับ ขอใดตอไปนี้ 3 1 1. 2. 14 4 7 3 3. 4. 14 4 23
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้นทอด ลูกเตา 1 ลูก ความนาจะเปนที่หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ข้นมีคาตางกันเทากับขอใด ึ  ตอไปนี้ 1 2 1. 2. 10 5 3 9 3. 4. 5 10 10. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกว 8 ลูก เปนลูกแกวสีแดง 5 ลูก และสีขาว 3 ลูก สุมหยิบลูกแกว 4 ลูกจากกลอง ใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนทีจะไดลูกแกวสีแดงอยางนอยสองลูกเทากับขอใดตอไปนี้ ่ 2 1 1. 2. 35 14 13 33 3. 4. 14 35 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 25
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การหาความนาจะเปนแบบงาย 31 29 5 1. 2. 3. 60 50 6 3 4. 4.1 4.2 1 5 2 7 6. 7. 5 8. 0.3 15 7 9. 9.1 0.8 9.2 0.4 9.3 1 9.4 0.4 เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 1 2. 3 3. 4 4. 3 5. 1 6. 4 7. 3 8. 4 9. 4 10. 3 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 30