SlideShare a Scribd company logo
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                     เรื่อง
             โครงงานคณิตศาสตร
                   (ตอนที่ 4)
              เสนตรงลอมเสนโคง
                     โดย
 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ


      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร
              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย

       1. SET50
       2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
       3. การถอดรากที่สาม
       4. เสนตรงลอมเสนโคง
       5. กระเบื้องที่ยืดหดได

               คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู
       และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ
       สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ
       ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                         1	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       เรื่อง          โครงงานคณิตศาสตร
       หมวด            โครงงานคณิตศาสตร
       ตอนที่          4 (4/5)

       หัวขอยอย      -

       จุดประสงคการเรียนรู
           เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่เห็นภาพไดชัดเจน ในที่นี้คือการ
       จําแนกแยกแยะเสนโคงที่สรางจากชุดของเสนตรงที่มีสมบัติตาง ๆ กัน รวมทั้งบทพิสูจนของการจําแนก
       ดังกลาวดวย ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียน
       ตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะหนึ่งทีชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของปญหาการจําแนก
                                                            ่
       แยกแยะเทานั้น




                                                          2	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                           โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร

       โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย
       หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ
       ปญหาทางคณิตศาสตร


                                      สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร

       สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม
       ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต
       ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ
       และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร    ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต-
       ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง


                                             วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้

       สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาเสนโคงที่สรางจากชุดของเสน-
                        ้
       ตรง และแสดงวาชุดของเสนตรงที่มีสมบัติบางประการจะกอใหเกิดเสนโคงพาราโบลา แตสําหรับชุด
       ของเสนตรงทีมสมบัติที่เปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดอาจเปนเสนโคง astroid วงกลม หรืออื่น ๆ ได
                   ่ ี
       สื่อการสอนจะปูพื้นฐานที่จําเปนเพื่อนําไปสูบทพิสูจนของบางความสัมพันธขางตน




                                                         3	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                          เนื้อหาในสื่อการสอน
       สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย

1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42)
2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59)
3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49)




                                                        4	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                  1. ชวงเปดตอน




                                           5	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                         1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42)

       ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายยกตัวอยางความยาวดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม 6 รูป
       จากขอมูลความยาวดานนี้ เราอาจจําแนกแยกแยะชนิดของสามเหลี่ยมออกเปน 2 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยม
       มุมฉาก และสามเหลี่ยมอื่น ๆ หรืออาจจําแนกแยกแยะออกไดเปน 3 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยมมุมฉาก
       สามเหลี่ยมมุมแหลม และสามเหลี่ยมมุมปาน สังเกตวาวิธีการจําแนกแยกแยะสามเหลี่ยมเหลานี้นั้นขึ้นกับ
       ขอสังเกตและเหตุผลของผูจําแนก

       ตัวอยางนี้ชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา ปญหาประเภทหนึ่งที่สามารถนํามาปรับเปนโจทยสําหรับ
       โครงงานคณิตศาสตรไดคือ ปญหาที่ตองการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่สนใจบางชนิด

       สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาคําถามที่วาเสนโคงที่สรางจากชุดของ
                  ้
       เสนตรงที่มีระยะหางระหวางเสนบนแกน x และแกน y เทา ๆ กัน คือเสนโคงอะไร พรอมนําเสนอขั้นตอน
       การหาสมการของเสนโคงนั้น รวมทั้งยังพาดพิงถึงเสนโคงที่สรางจากชุดเสนตรงประเภทอื่น ๆ ดวย




                                                รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน



                                                            6	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                    2. ชวงสารคดี




                                           7	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                          2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59)

       ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน   ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ
       โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                            (ก)                                                               (ข)




                            (ค)                                                               (ง)




                           (จ)                                                 (ฉ)
            รูปที่ 2 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องหมาปากับกระตายเพื่อโยงเขาเรื่องเสนตรงลอมเสนโคง




                                                            8	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           (ก) ผูหนึ่งที่คิดคนแนวคิดของวิชาแคลคูลัส               (ข) เสนสัมผัสของเสนโคง
                    รูปที่ 3 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องกําเนิดแคลคูลัสและเสนสัมผัสเสนโคง

       2.1. หมาปากับกระตาย (เริ่ม ณ 1:59)
        เปนภาพเคลื่อนไหวที่เลาสถานการณหมาปาไลลากระตาย (รูปที่ 2(ก-ค)) และพิจารณาเสนทางการวิ่งของ
        หมาปาที่แสดงดวยเสนโคงสีแดง ในรูปที่ 2(ค) หลังจากนั้นจึงวิเคราะหหาสมการของเสนโคงนี้ โดยการ
        สมมติวาหมาปาเปลี่ยนทิศทางการวิ่งเปนชวง ๆ จนเกิดเปนเสนตรงตอกันหลาย ๆ เสน ในรูปที่ 2(ง) แลว
        จึงใชแกน XY เพื่อหาสมการของเสนโคงที่ลอมดวยชุดของเสนตรง ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่
        2(จ-ฉ)

       2.2. เสนโคง เสนตรง แคลคูลัส (เริ่ม ณ 6:44)
       จากแนวคิดของการสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรงที่ถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ขางตน เราสามารถคิดในมุมกลับได
       เชนกัน กลาวคือ หากเริ่มดวยเสนโคง ชุดของเสนตรงที่ลอมเสนโคงก็คือเสนสัมผัสของเสนโคง ณ จุดตาง ๆ
       นั่นเอง ซึ่งก็คือแนวคิดเริ่มตนของวิชาแคลคูลัสดังเปนที่ทราบโดยทั่วไป ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวใน
       รูปที่ 3 การสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรง นี้จึงเปนกิจกรรมที่กอใหเกิดภาพที่สวยงามแตกลับซอนแนวคิด
       เรื่องความชันและเสนสัมผัสไดอยางแยบยล

       2.3. ศิลปะเสนเชือกตรึง (เริ่ม ณ 8:16)
       ศิลปะเสนเชือกตรึง หรือ string art คือกิจกรรมทางคณิตศาสตรที่สรางเสนโคงโดยใชเชือกขึงตรึงหลายเสน
       และเปนกิจกรรมที่ไดรับความนิยมอยางสูงในยุคหนึ่ง (รูปที่ 4 (ก),(ค)) แตผูที่มีสวนสําคัญในการผลักดันใหใช
       ศิลปะเสนเชือกตรึงในการสอนเรขาคณิตแกเด็ก ๆ เปนคนแรกคือนาง Mary Everest Boole เมื่อรอยกวาป
       ที่แลว (รูปที่ 4 (ข)) และดวยคุณสมบัติพิเศษและความสวยงามของมัน ศิลปะเสนเชือกตรึงยังปรากฏ
       ใหเห็นในของใชในชีวิตประจําวันและสถาปตยกรรม เชน เกาอี้สาน และสะพาน Calatrava ในเมือง Petah
       Tikva ประเทศอิสราเอล (รูปที่ 4 (ง))




                                                               9	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รูปที่ 4 คุณพร อัศวพิทยา กรุณาสระเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับศิลปะเสนเชือกตรึง




                  (ก)                                                                (ข)




                  (ค)                                                 (ง)
                รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องศิลปะเสนเชือกตรึง

                                                  10	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       2.4. ปญหาบันได (เริ่ม ณ 12:30)
       ปญหาหนึ่งที่สามารถประยุกตใชเทคนิคการหาเสนโคงที่เกิดจากชุดของเสนตรงในการหาคําตอบ คือปญหา
       การขนบันไดที่มีความยาว L ผานทางเดินมุมฉากที่มีความกวางเปน w1 และ w2 โดยบันไดตองอยูในแนว
       ขนานกับพื้นตลอดเวลา แนนอนวาหากบันไดยาวเกินไปยอมไมสามารถผานมุมทางเดินนี้ไปได ดังรูปที่ 6(ก)
       จะเห็นวาการขนโดยใหปลายบันไดทั้งสองขางชิดขอบทางเดินดานนอกตลอดเวลา เปนวิธีที่ทําใหบันไดอยู
       หางจากมุมทางเดินมากที่สุดตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงพิจารณาชุดของเสนตรงความยาว L ที่มีจุดปลายทั้งสอง
       อยูบนแกน X และแกน Y และหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงนี้ และไดสมการของเสน
       โคง astroid ดังแสดงในรูปที่ 6(ง)




                              (ก)                                                             (ข)




                              (ค)                                              (ง)
                              รูปที่ 6 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาบันได




                                                            11	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                      3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา




                                          12	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                  3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49)

       ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร                         ตั้งแตที่มาและความสําคัญ
       จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้




                รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้

       3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 13:49)
                โครงงานคณิตศาสตร เรื่องการศึกษาความสัมพันธของชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกัน
            เปนพาราโบลา         ที่ยกมาเปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานที่จัดทําโดย นายกิตติ ไกรเทพ
            นายสุทธิพงศ จันทภาโส นางสาวธรัญญา จารจิต และ นางสาววันวิสา เพ็ชรเรือง นักเรียนระดับ
            มัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 และมีอาจารย
            ที่ปรึกษาคือ ครูสิทธิโชค พรผล และ ครูถนอมเกียรติ งานสกุล ดังแสดงในรูปที่ 7

       3.2. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:16)
               ความรูทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการทําความเขาใจเนื้อหาของสื่อการสอนตอนนี้ไดแก
            1. เสนตรง ไดแก เรื่องสมการของเสนตรง และการหาสมการของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ก))
            2. พาราโบลา ไดแก เรื่องสมการของเสนโคงพาราโบลา (รูปที่ 8 (ข))


                                                            13	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           3. ลิมิต อนุพันธ ไดแก การหาลิมิตของฟงกชันเมื่อตัวแปรลูเขาสูศูนย และการหาอนุพันธของฟงกชัน
              งาย ๆ และอันที่จริงแลว ยังจําเปนตองใชการหาอนุพันธยอยดวย (รูปที่ 8 (ค))
           4. สมการอิงตัวแปรเสริม ไดแก การหาสมการอิงตัวแปรเสริมของสวนของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด
              (รูปที่ 8 (ง))




                               (ก)                                                             (ข)




                               (ค)                                                (ง)
                    รูปที่ 8 ภาพสื่อฯขณะกลาวถึงความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของอยางพอสังเขป

       3.3. การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม (เริ่ม ณ 17:00)
                 การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากเสนตรงที่มีผลบวกของจุดตัดแกน X และ Y เปนคาคงที่
             1. หาสมการของเสนตรงแตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ก)
             2. หาจุดตัดของเสนตรงทีมจุดตัดแกน X เปน α และ β (รูปที่ 9(ข))
                                           ่ ี
             3. หาลิมิตของพิกัดจุดตัดนี้ เมื่อ β ลูเขาสู α (รูปที่ 9(ค))
             4. หาความสัมพันธระหวางพิกัดทั้งสองของลิมิตนี้ (รูปที่ 9(ง))
                 ถึงแมจะหาสมการของเสนโคงไดแลวก็ตาม เราก็ยังไมสามารถบอกไดทันทีวาเสนโคงที่ไดเปนเสน-
                                                    
             โคงใด แตหากหมุนแกนไป 45 องศา เพื่อใหเสนโคงสมมาตรกับแกน Y สมการของเสนโคงใหมนี้
             จะเปนสมการของเสนโคงพาราโบลานั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 9(จ) แตเนื่องจากการหมุนแกนอาจเปน
                                                                                        
             หัวขอที่ยากเกินไปในระดับนี้ เราจึงเลือกที่จะนําเสนอวิธีการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีนี้โดย
             อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีแนวคิดที่รองรับดังไดแสดงไวในสื่อฯ (รูปที่ 9(ช-ซ)) วิธีนี้เริ่มจากหาสมการของเสนตรง

                                                             14	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           (ก)                                                               (ข)




           (ค)                                                               (ง)




           (จ)                                                               (ฉ)




           (ช)                                              (ซ)
           รูปที่ 9 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม

                                          15	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           แตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ฉ) แลวจึงหาคาสูงสุดของ y โดยการหาอนุพันธของสมการเสนตรง
           เทียบกับ α เพื่อจับเทากับ 0 สุดทายจะไดความสัมพันธระหวาง x และ y ซึ่งก็คือสมการของเสนโคง
           สิ่งหุมนั่นเอง (รูปที่ 10)




                   รูปที่ 10 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมโดยการหาอนุพันธ

       3.4. วิธีการดําเนินงาน (เริ่ม ณ 27:02)
             วิธีการดําเนินงานของโครงงานเรื่องนี้นั้น ศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากชุดของเสนตรง
             ที่ตัดแกน X และ Y ที่ a และ b ตามลําดับ โดยแบงเปน 2 กรณีตามเงื่อนไขของคา a และ b ดังนี้
             1. |a| + |b| = k เมื่อ k เปนคาคงตัวที่เปนบวกคาหนึ่ง (รูปที่ 11(ก))
             2. |a|/m + |b|/n = k เมื่อ m, n, k เปนคาคงตัวที่เปนบวก (รูปที่ 11(ข))

       3.5. ผลการศึกษา (เริ่ม ณ 28:02)
             จากการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมทั้ง 2 กรณีในวิธีการดําเนินงานนั้น สําหรับกรณีที่ 1
             ไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน x + y = k ซึ่งเมื่อหมุนแกนไป 45 องศาในทิศ
             ตามเข็มนาฬิกา จะไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมเปนสมการของเสนโคงพาราโบลา และสําหรับใน
                                                                                   x       y
           กรณีที่ 2 ได สมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน                    +       = k           ซึ่งสามารถแสดงได
                                                                                   m       n
           เชนกันวาเสนโคงสิ่งหุมในแตละจตุภาคเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลา ดูรายละเอียดการคํานวณ
           จากสื่อฯไดในรูปที่ 12




                                                            16	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                (ก)




                (ข)
                                 รูปที่ 11 ภาพจากสื่อฯขณะอธิบายวิธีการดําเนินงาน

       3.6. สรุปโครงงาน (เริ่ม ณ 31:39)
                โครงงานที่นําเสนอในสื่อฯนี้ เปนการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงที่มี
             สมบัติรวมกันบางประการ ในกรณีที่ 1 สมบัตินี้ก็คือทุกเสนตรงในชุดของเสนตรงตองมีผลบวกของ
             จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y เทากับคาคงที่คาหนึ่ง (k) เสมอ สําหรับในกรณีที่ 2 สมบัติรวมกันนี้
             คือทุกเสนตรงตองมีผลบวกของจุดตัดแกน X หารดวย m กับจุดตัดแกน Y หารดวย n เปนคาคงที่ k
             เสมอ ซึ่งสมการของเสนโคงที่ไดจากทั้งสองกรณีตางเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลาเสมอ




                                                            17	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       (ก)




       (ข)




       (ค)
                 รูปที่ 12 ภาพจากสื่อฯแสดงผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม
                                                18	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

           3.7. กรณีทั่วไป (เริ่ม ณ 32.20)
                จากผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงในทั้ง 2 กรณี ที่ไดเสนโคง
            พาราโบลาเสมอนั้น จึงเกิดคําถามขึ้นวา หากชุดของเสนตรงที่ใชมีสมบัติเปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดจะเปน
            เสนโคงประเภทใดไดบาง ในชวงนี้ สื่อฯจะพิจารณาชุดของเสนตรงที่มีจุดตัดแกนทั้งสองเปนฟงกชัน
            ใด ๆ บอกจุดตัดของเสนตรงสองเสน (รูปที่ 13(ก-ข)) และใหสมการของเสนโคงที่ถูกลอมดวย
            ชุดของเสนตรงนี้ (รูปที่ 13(ค)) ซึ่งโดยทั่วไป จะเปนเพียงสมการอิงตัวแปรเสริม โดยไมมีรายละเอียด
            การคํานวณ ผูสนใจสามารถหาอานไดใน [2]

           3.8. เสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ (เริ่ม ณ 34:00)
                จากสมการอิงตัวแปรเสริมที่คํานวณไดใน 3.7 เราสามารถนํามาใชคํานวณหาสมการของเสนโคง
            สิ่งหุมที่ลอมดวยชุดของเสนตรงเหลานี้
            1. ความยาวของสวนของเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปนคาคงที่ L จะไดวาสมการของเสนโคงคือ
                x 2/3 + y 2/3 = L2/3
           2. ความยาวรอบรูปของสามเหลี่ยมที่มีดานทั้งสามเปนแกนพิกัดและเสนตรงในจตุภาคที่                    1   เปน
              คาคงที่ จะไดวาสมการของเสนโคงคือสมการของวงกลมนั่นเอง

           3.9. สรุป (เริ่ม ณ 38:16)
            โครงงานนีทําใหเราไดเห็นวาเสนโคงที่สรางมาจากชุดของเสนตรงตางชุดกัน อาจเปนเสนโคงที่ตางกัน
                       ้
            พรอมการคํานวณหาสมการเหลานี้ดวยวิธีเบื้องตนบางวิธี และที่สําคัญคือ โครงงานนี้เปนตัวอยางหนึ่ง
            ของการใชความรูคณิตศาสตรเบื้องตนในการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตร (เสนโคง) ที่สราง
            ขึ้นมาตางวิธีกัน




       .             คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นหาความสัมพันธ                                                 .




                                                              19	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       (ก)




       (ข)




       (ค)
             รูปที่ 13 ภาพจากสื่อฯอธิบายการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีทั่วไป
                                                   20	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          รูปที่ 14 ภาพจากสื่อฯแสดงตัวอยางของเสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ

                                          21	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                 กิตติกรรมประกาศ
       ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณพร อัศวพิทยา ในฐานะศิลปนผูสรางสรรคงานศิลปะ
       เสนเชือกตรึงที่นาทึ่ง    ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับงานศิลปะเสนเชือกตรึง  และ
       คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น




                                                        22	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                         เอกสารอางอิง
       1. กิตติ ไกรเทพ, สุทธิพงศ จันทภาโส, ธรัญญา จารจิต, วันวิสา เพ็ชรเรือง, การศึกษาความสัมพันธของ
          ชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกันเปนพาราโบลา, โครงงานคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา
          ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552
       2. Gregory Quenell, Envelopes and String Art, Mathematics Magazine, Vol.82, No.3 (June 2009), pp.174-
          185




                                                            23	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                           จํานวน 92 ตอน




                                          24	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                   รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                        เรื่อง                                                              ตอน
       เซต                                        บทนํา เรื่อง เซต
                                                  ความหมายของเซต
                                                  เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                                  เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
       การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                  บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                                  การใหเหตุผล
                                                  ประพจนและการสมมูล
                                                  สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                                  ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
       จํานวนจริง                                 บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                                  สมบัติของจํานวนจริง
                                                  การแยกตัวประกอบ
                                                  ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                                  สมการพหุนาม
                                                  อสมการ
                                                  เทคนิคการแกอสมการ
                                                  คาสัมบูรณ
                                                  การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                                  กราฟคาสัมบูรณ
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                                  สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
       ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                       บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                                  การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                                  (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก)
                                                  ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
       ความสัมพันธและฟงกชัน                    บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน
                                                  ความสัมพันธ



                                                                 25	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                     เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                        โดเมนและเรนจ
                                               อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                               ฟงกชันเบื้องตน
                                               พีชคณิตของฟงกชัน
                                               อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                               ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม          บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               เลขยกกําลัง
                                               ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               ลอการิทึม
                                               อสมการเลขชี้กําลัง
                                               อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                     บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                               อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                               เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                               กฎของไซนและโคไซน
                                               กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                              บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                               การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                               การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                                บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                               ลําดับ
                                               การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                               ลิมิตของลําดับ
                                               ผลบวกยอย
                                               อนุกรม
                                               ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม

                                                                    26	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                           เรื่อง                                                                ตอน
       การนับและความนาจะเปน                       บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                                                    การนับเบื้องตน
                                                    การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    การจัดหมู
                                                    ทฤษฎีบททวินาม
                                                    การทดลองสุม
                                                    ความนาจะเปน 1
                                                    ความนาจะเปน 2
       สถิติและการวิเคราะหขอมูล                   บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                                    บทนํา เนื้อหา
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                                    แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                                    การกระจายของขอมูล
                                                    การกระจายสัมบูรณ 1
                                                    การกระจายสัมบูรณ 2
                                                    การกระจายสัมบูรณ 3
                                                    การกระจายสัมพัทธ
                                                    คะแนนมาตรฐาน
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                                    ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                                    โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
       โครงงานคณิตศาสตร                            การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                                    ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                                    การถอดรากที่สาม
                                                    เสนตรงลอมเสนโคง
                                                    กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                 27	
  
	
  

More Related Content

What's hot

1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 

What's hot (20)

49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง

Similar to 91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง (20)

92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร (ตอนที่ 4) เสนตรงลอมเสนโคง โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. SET50 2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส 3. การถอดรากที่สาม 4. เสนตรงลอมเสนโคง 5. กระเบื้องที่ยืดหดได คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่องและ ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 1    
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร หมวด โครงงานคณิตศาสตร ตอนที่ 4 (4/5) หัวขอยอย - จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเห็นตัวอยางการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่เห็นภาพไดชัดเจน ในที่นี้คือการ จําแนกแยกแยะเสนโคงที่สรางจากชุดของเสนตรงที่มีสมบัติตาง ๆ กัน รวมทั้งบทพิสูจนของการจําแนก ดังกลาวดวย ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้นมิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียน ตองเรียนรูอยางจริงจัง หากเปนเพียงพาหนะหนึ่งทีชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งของปญหาการจําแนก ่ แยกแยะเทานั้น 2    
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบของ ปญหาทางคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจําแนกแยกแยะ และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงานคณิต- ศาสตร คือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้ สื่อการสอนตอนนีนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาเสนโคงที่สรางจากชุดของเสน- ้ ตรง และแสดงวาชุดของเสนตรงที่มีสมบัติบางประการจะกอใหเกิดเสนโคงพาราโบลา แตสําหรับชุด ของเสนตรงทีมสมบัติที่เปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดอาจเปนเสนโคง astroid วงกลม หรืออื่น ๆ ได ่ ี สื่อการสอนจะปูพื้นฐานที่จําเปนเพื่อนําไปสูบทพิสูจนของบางความสัมพันธขางตน 3    
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42) 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59) 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49) 4    
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน 5    
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:42) ในชวงเปดตอน ดังแสดงในรูปที่ 1 ผูบรรยายยกตัวอยางความยาวดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม 6 รูป จากขอมูลความยาวดานนี้ เราอาจจําแนกแยกแยะชนิดของสามเหลี่ยมออกเปน 2 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยม มุมฉาก และสามเหลี่ยมอื่น ๆ หรืออาจจําแนกแยกแยะออกไดเปน 3 ชนิด ไดแก สามเหลี่ยมมุมฉาก สามเหลี่ยมมุมแหลม และสามเหลี่ยมมุมปาน สังเกตวาวิธีการจําแนกแยกแยะสามเหลี่ยมเหลานี้นั้นขึ้นกับ ขอสังเกตและเหตุผลของผูจําแนก ตัวอยางนี้ชวยในการอธิบายเชิงเปรียบเทียบวา ปญหาประเภทหนึ่งที่สามารถนํามาปรับเปนโจทยสําหรับ โครงงานคณิตศาสตรไดคือ ปญหาที่ตองการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตรที่สนใจบางชนิด สื่อฯตอนนีจะนําเสนอตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตร ที่พิจารณาคําถามที่วาเสนโคงที่สรางจากชุดของ ้ เสนตรงที่มีระยะหางระหวางเสนบนแกน x และแกน y เทา ๆ กัน คือเสนโคงอะไร พรอมนําเสนอขั้นตอน การหาสมการของเสนโคงนั้น รวมทั้งยังพาดพิงถึงเสนโคงที่สรางจากชุดเสนตรงประเภทอื่น ๆ ดวย รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน 6    
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี 7    
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 01:59) ชวงสารคดีนี้ตองการอธิบายความรูพื้นฐาน ที่จําเปนในการทําความเขาใจแนวคิดและรายละเอียดของ โครงงานคณิตศาสตรที่จะนําเสนอตอไป ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) รูปที่ 2 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องหมาปากับกระตายเพื่อโยงเขาเรื่องเสนตรงลอมเสนโคง 8    
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) ผูหนึ่งที่คิดคนแนวคิดของวิชาแคลคูลัส (ข) เสนสัมผัสของเสนโคง รูปที่ 3 ภาพประกอบขณะอธิบายเรื่องกําเนิดแคลคูลัสและเสนสัมผัสเสนโคง 2.1. หมาปากับกระตาย (เริ่ม ณ 1:59) เปนภาพเคลื่อนไหวที่เลาสถานการณหมาปาไลลากระตาย (รูปที่ 2(ก-ค)) และพิจารณาเสนทางการวิ่งของ หมาปาที่แสดงดวยเสนโคงสีแดง ในรูปที่ 2(ค) หลังจากนั้นจึงวิเคราะหหาสมการของเสนโคงนี้ โดยการ สมมติวาหมาปาเปลี่ยนทิศทางการวิ่งเปนชวง ๆ จนเกิดเปนเสนตรงตอกันหลาย ๆ เสน ในรูปที่ 2(ง) แลว จึงใชแกน XY เพื่อหาสมการของเสนโคงที่ลอมดวยชุดของเสนตรง ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวในรูปที่ 2(จ-ฉ) 2.2. เสนโคง เสนตรง แคลคูลัส (เริ่ม ณ 6:44) จากแนวคิดของการสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรงที่ถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ขางตน เราสามารถคิดในมุมกลับได เชนกัน กลาวคือ หากเริ่มดวยเสนโคง ชุดของเสนตรงที่ลอมเสนโคงก็คือเสนสัมผัสของเสนโคง ณ จุดตาง ๆ นั่นเอง ซึ่งก็คือแนวคิดเริ่มตนของวิชาแคลคูลัสดังเปนที่ทราบโดยทั่วไป ดังแสดงตัวอยางภาพจากสื่อฯไวใน รูปที่ 3 การสรางเสนโคงดวยชุดของเสนตรง นี้จึงเปนกิจกรรมที่กอใหเกิดภาพที่สวยงามแตกลับซอนแนวคิด เรื่องความชันและเสนสัมผัสไดอยางแยบยล 2.3. ศิลปะเสนเชือกตรึง (เริ่ม ณ 8:16) ศิลปะเสนเชือกตรึง หรือ string art คือกิจกรรมทางคณิตศาสตรที่สรางเสนโคงโดยใชเชือกขึงตรึงหลายเสน และเปนกิจกรรมที่ไดรับความนิยมอยางสูงในยุคหนึ่ง (รูปที่ 4 (ก),(ค)) แตผูที่มีสวนสําคัญในการผลักดันใหใช ศิลปะเสนเชือกตรึงในการสอนเรขาคณิตแกเด็ก ๆ เปนคนแรกคือนาง Mary Everest Boole เมื่อรอยกวาป ที่แลว (รูปที่ 4 (ข)) และดวยคุณสมบัติพิเศษและความสวยงามของมัน ศิลปะเสนเชือกตรึงยังปรากฏ ใหเห็นในของใชในชีวิตประจําวันและสถาปตยกรรม เชน เกาอี้สาน และสะพาน Calatrava ในเมือง Petah Tikva ประเทศอิสราเอล (รูปที่ 4 (ง)) 9    
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รูปที่ 4 คุณพร อัศวพิทยา กรุณาสระเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับศิลปะเสนเชือกตรึง (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 5 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องศิลปะเสนเชือกตรึง 10    
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2.4. ปญหาบันได (เริ่ม ณ 12:30) ปญหาหนึ่งที่สามารถประยุกตใชเทคนิคการหาเสนโคงที่เกิดจากชุดของเสนตรงในการหาคําตอบ คือปญหา การขนบันไดที่มีความยาว L ผานทางเดินมุมฉากที่มีความกวางเปน w1 และ w2 โดยบันไดตองอยูในแนว ขนานกับพื้นตลอดเวลา แนนอนวาหากบันไดยาวเกินไปยอมไมสามารถผานมุมทางเดินนี้ไปได ดังรูปที่ 6(ก) จะเห็นวาการขนโดยใหปลายบันไดทั้งสองขางชิดขอบทางเดินดานนอกตลอดเวลา เปนวิธีที่ทําใหบันไดอยู หางจากมุมทางเดินมากที่สุดตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงพิจารณาชุดของเสนตรงความยาว L ที่มีจุดปลายทั้งสอง อยูบนแกน X และแกน Y และหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงนี้ และไดสมการของเสน โคง astroid ดังแสดงในรูปที่ 6(ง) (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 6 ภาพจากสื่อฯประกอบคําอธิบายเรื่องปญหาบันได 11    
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา 12    
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:49) ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร ตั้งแตที่มาและความสําคัญ จนถึงสรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้ 3.1. รายละเอียดของโครงงาน (เริ่ม ณ 13:49) โครงงานคณิตศาสตร เรื่องการศึกษาความสัมพันธของชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกัน เปนพาราโบลา ที่ยกมาเปนตัวอยางในสื่อตอนนี้ เปนโครงงานที่จัดทําโดย นายกิตติ ไกรเทพ นายสุทธิพงศ จันทภาโส นางสาวธรัญญา จารจิต และ นางสาววันวิสา เพ็ชรเรือง นักเรียนระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 และมีอาจารย ที่ปรึกษาคือ ครูสิทธิโชค พรผล และ ครูถนอมเกียรติ งานสกุล ดังแสดงในรูปที่ 7 3.2. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:16) ความรูทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการทําความเขาใจเนื้อหาของสื่อการสอนตอนนี้ไดแก 1. เสนตรง ไดแก เรื่องสมการของเสนตรง และการหาสมการของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ก)) 2. พาราโบลา ไดแก เรื่องสมการของเสนโคงพาราโบลา (รูปที่ 8 (ข)) 13    
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ลิมิต อนุพันธ ไดแก การหาลิมิตของฟงกชันเมื่อตัวแปรลูเขาสูศูนย และการหาอนุพันธของฟงกชัน งาย ๆ และอันที่จริงแลว ยังจําเปนตองใชการหาอนุพันธยอยดวย (รูปที่ 8 (ค)) 4. สมการอิงตัวแปรเสริม ไดแก การหาสมการอิงตัวแปรเสริมของสวนของเสนตรงที่ผานจุด 2 จุด (รูปที่ 8 (ง)) (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 8 ภาพสื่อฯขณะกลาวถึงความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของอยางพอสังเขป 3.3. การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม (เริ่ม ณ 17:00) การหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากเสนตรงที่มีผลบวกของจุดตัดแกน X และ Y เปนคาคงที่ 1. หาสมการของเสนตรงแตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ก) 2. หาจุดตัดของเสนตรงทีมจุดตัดแกน X เปน α และ β (รูปที่ 9(ข)) ่ ี 3. หาลิมิตของพิกัดจุดตัดนี้ เมื่อ β ลูเขาสู α (รูปที่ 9(ค)) 4. หาความสัมพันธระหวางพิกัดทั้งสองของลิมิตนี้ (รูปที่ 9(ง)) ถึงแมจะหาสมการของเสนโคงไดแลวก็ตาม เราก็ยังไมสามารถบอกไดทันทีวาเสนโคงที่ไดเปนเสน-  โคงใด แตหากหมุนแกนไป 45 องศา เพื่อใหเสนโคงสมมาตรกับแกน Y สมการของเสนโคงใหมนี้ จะเปนสมการของเสนโคงพาราโบลานั่นเอง ดังแสดงในรูปที่ 9(จ) แตเนื่องจากการหมุนแกนอาจเปน  หัวขอที่ยากเกินไปในระดับนี้ เราจึงเลือกที่จะนําเสนอวิธีการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีนี้โดย อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีแนวคิดที่รองรับดังไดแสดงไวในสื่อฯ (รูปที่ 9(ช-ซ)) วิธีนี้เริ่มจากหาสมการของเสนตรง 14    
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ) รูปที่ 9 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม 15    
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แตละเสน ดังแสดงในรูปที่ 9(ฉ) แลวจึงหาคาสูงสุดของ y โดยการหาอนุพันธของสมการเสนตรง เทียบกับ α เพื่อจับเทากับ 0 สุดทายจะไดความสัมพันธระหวาง x และ y ซึ่งก็คือสมการของเสนโคง สิ่งหุมนั่นเอง (รูปที่ 10) รูปที่ 10 ภาพสื่อฯขณะแสดงการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมโดยการหาอนุพันธ 3.4. วิธีการดําเนินงาน (เริ่ม ณ 27:02) วิธีการดําเนินงานของโครงงานเรื่องนี้นั้น ศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมที่เกิดจากชุดของเสนตรง ที่ตัดแกน X และ Y ที่ a และ b ตามลําดับ โดยแบงเปน 2 กรณีตามเงื่อนไขของคา a และ b ดังนี้ 1. |a| + |b| = k เมื่อ k เปนคาคงตัวที่เปนบวกคาหนึ่ง (รูปที่ 11(ก)) 2. |a|/m + |b|/n = k เมื่อ m, n, k เปนคาคงตัวที่เปนบวก (รูปที่ 11(ข)) 3.5. ผลการศึกษา (เริ่ม ณ 28:02) จากการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมทั้ง 2 กรณีในวิธีการดําเนินงานนั้น สําหรับกรณีที่ 1 ไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน x + y = k ซึ่งเมื่อหมุนแกนไป 45 องศาในทิศ ตามเข็มนาฬิกา จะไดสมการของเสนโคงสิ่งหุมเปนสมการของเสนโคงพาราโบลา และสําหรับใน x y กรณีที่ 2 ได สมการของเสนโคงสิ่งหุมใน 4 จตุภาค เปน + = k ซึ่งสามารถแสดงได m n เชนกันวาเสนโคงสิ่งหุมในแตละจตุภาคเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลา ดูรายละเอียดการคํานวณ จากสื่อฯไดในรูปที่ 12 16    
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) รูปที่ 11 ภาพจากสื่อฯขณะอธิบายวิธีการดําเนินงาน 3.6. สรุปโครงงาน (เริ่ม ณ 31:39) โครงงานที่นําเสนอในสื่อฯนี้ เปนการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงที่มี สมบัติรวมกันบางประการ ในกรณีที่ 1 สมบัตินี้ก็คือทุกเสนตรงในชุดของเสนตรงตองมีผลบวกของ จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y เทากับคาคงที่คาหนึ่ง (k) เสมอ สําหรับในกรณีที่ 2 สมบัติรวมกันนี้ คือทุกเสนตรงตองมีผลบวกของจุดตัดแกน X หารดวย m กับจุดตัดแกน Y หารดวย n เปนคาคงที่ k เสมอ ซึ่งสมการของเสนโคงที่ไดจากทั้งสองกรณีตางเปนสวนหนึ่งของเสนโคงพาราโบลาเสมอ 17    
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) รูปที่ 12 ภาพจากสื่อฯแสดงผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงสิ่งหุม 18    
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.7. กรณีทั่วไป (เริ่ม ณ 32.20) จากผลการศึกษาหาสมการของเสนโคงที่ลอมรอบดวยชุดของเสนตรงในทั้ง 2 กรณี ที่ไดเสนโคง พาราโบลาเสมอนั้น จึงเกิดคําถามขึ้นวา หากชุดของเสนตรงที่ใชมีสมบัติเปลี่ยนไป เสนโคงที่ไดจะเปน เสนโคงประเภทใดไดบาง ในชวงนี้ สื่อฯจะพิจารณาชุดของเสนตรงที่มีจุดตัดแกนทั้งสองเปนฟงกชัน ใด ๆ บอกจุดตัดของเสนตรงสองเสน (รูปที่ 13(ก-ข)) และใหสมการของเสนโคงที่ถูกลอมดวย ชุดของเสนตรงนี้ (รูปที่ 13(ค)) ซึ่งโดยทั่วไป จะเปนเพียงสมการอิงตัวแปรเสริม โดยไมมีรายละเอียด การคํานวณ ผูสนใจสามารถหาอานไดใน [2] 3.8. เสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ (เริ่ม ณ 34:00) จากสมการอิงตัวแปรเสริมที่คํานวณไดใน 3.7 เราสามารถนํามาใชคํานวณหาสมการของเสนโคง สิ่งหุมที่ลอมดวยชุดของเสนตรงเหลานี้ 1. ความยาวของสวนของเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปนคาคงที่ L จะไดวาสมการของเสนโคงคือ x 2/3 + y 2/3 = L2/3 2. ความยาวรอบรูปของสามเหลี่ยมที่มีดานทั้งสามเปนแกนพิกัดและเสนตรงในจตุภาคที่ 1 เปน คาคงที่ จะไดวาสมการของเสนโคงคือสมการของวงกลมนั่นเอง 3.9. สรุป (เริ่ม ณ 38:16) โครงงานนีทําใหเราไดเห็นวาเสนโคงที่สรางมาจากชุดของเสนตรงตางชุดกัน อาจเปนเสนโคงที่ตางกัน ้ พรอมการคํานวณหาสมการเหลานี้ดวยวิธีเบื้องตนบางวิธี และที่สําคัญคือ โครงงานนี้เปนตัวอยางหนึ่ง ของการใชความรูคณิตศาสตรเบื้องตนในการจําแนกแยกแยะวัตถุทางคณิตศาสตร (เสนโคง) ที่สราง ขึ้นมาตางวิธีกัน . คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นหาความสัมพันธ . 19    
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) (ค) รูปที่ 13 ภาพจากสื่อฯอธิบายการหาสมการของเสนโคงสิ่งหุมในกรณีทั่วไป 20    
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รูปที่ 14 ภาพจากสื่อฯแสดงตัวอยางของเสนโคงสิ่งหุมอื่น ๆ 21    
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กิตติกรรมประกาศ ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ คุณพร อัศวพิทยา ในฐานะศิลปนผูสรางสรรคงานศิลปะ เสนเชือกตรึงที่นาทึ่ง ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับงานศิลปะเสนเชือกตรึง และ คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอ แนวคิดจนกอใหเกิดสื่อในรูปแบบนี้ขึ้น 22    
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. กิตติ ไกรเทพ, สุทธิพงศ จันทภาโส, ธรัญญา จารจิต, วันวิสา เพ็ชรเรือง, การศึกษาความสัมพันธของ ชุดเสนตรงและสิ่งหุมของชุดเสนตรงที่ตัดกันเปนพาราโบลา, โครงงานคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนเมืองถลาง อําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2552 2. Gregory Quenell, Envelopes and String Art, Mathematics Magazine, Vol.82, No.3 (June 2009), pp.174- 185 23    
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 24    
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก) ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน ความสัมพันธ 25    
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชัน อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 26    
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 27