SlideShare a Scribd company logo
6. ยุคภูมธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ิ
ยุคภูมธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ิ
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ในสั งคมตะวันตกในคริสต์ ศตวรรษที่
ั
17 นําไปสู่ การปฏิวติทางภูมิปัญญาในคริสต์ ศตวรรษ 18 วิธีการทาง
ั
วิทยาศาสตร์ และการหลุดพ้ นอํานาจของคริสตจักร ทําให้ ชาวตะวันกล้ าใช้
เหตุผลแสดงความคิดเห็นทางสั งคมและการเมือง และการเรียกร้ องสิ ทธิ
เสรีภาพ พัฒนาการด้ านต่ างๆส่ งผลให้ สังคมตะวันตกเป็ นสั งคมทีร่ ุงโรจน์
่
คริสต์ ศตวรรษที่ 18 จึงได้ รับสมญาว่ าเป็ น ยุคภูมิธรรม
6.1 นักปราชญ์ การเมืองแนวประชาธิปไตย
•
•
•
•
•

ทอมัส ฮอบส์
จอห์ น ล็อก
บารอน เดอ มองเตสกิเออร์
วอลแตร์
ชอง-ชาคส์ รู โซ
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
• ฮอบส์ กล่าวว่ า ก่อนรวมเป็ นสั งคมเมือง
มนุษย์ มีอสระ เสรีภาพในการกระทําการใดๆ
ิ
ก่ อให้ เกิดความวุ่นวาย จึงตกลงกันทีจะหา
่
คนกลางมาทําหน้ าทีปกครอง ประชาชนมี
่
สิ ทธิเลือกการปกครองทีสอดคล้ องกับความ
่
ต้ องการของคนส่ วนใหญ่
• โจมตีความเชื่อทางศาสนาว่ าเป็ นเรื่องไร้
เหตุผล มนุษย์ ควรอยู่ด้วยเหตุผลและวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์
ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
• แนวคิดของฮอบส์ ปรากฏในหนังสื อ ลี
ไวอาทัน (Leviathan)
จอห์ น ล็อก (John Locke)
• เขียนหนังสื อเรื่อง Two Treatises of
Government
• เสนอทฤษฎีว่า รัฐบาลจัดตั้งขึนโดยความยินยอม
้
ของประชาชน และต้ องรับผิดชอบต่ อชีวตความ
ิ
เป็ นอยู่ของประชาชน
• สรุปได้ ว่า ประชาชนเป็ นทีมาของอํานาจทาง
่
การเมืองและมีอานาจในการจัดตั้งรัฐบาลขึนได้
ํ
้
รัฐและรัฐบาลจึงมีหน้ าทีปกครองโดยคํานึงถึง
่
ประโยชน์ และสิ ทธิธรรมชาติของประชาชน
• เป็ นรากฐานความคิดของระบอบประชาธิปไตย
สมัยใหม่
จอห์ น ล็อก (John Locke)
• เขียนหนังสื อ วิญญาณแห่ งกฎหมาย
• กฎหมายทีรัฐบาลแต่ ละสั งคมบัญญัติขึนต้ องสอดคล้ องกับ
่
้
ลักษณะภูมิประเทศและเงื่อนไขทางขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ของแต่ ละสั งคม แต่ การปกครองแบบ
กษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญเป็ นรูปแบบทีดีทสุด
่ ี่
อํานาจการปกครองควรแยกออกเป็ น 3 ฝ่ าย
คือ ฝ่ ายนิติบัญญัติ ฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายตุลาการ
เป็ นการสร้ างระบบตรวจสอบและถ่ วงดุลอํานาจ
• เป็ นแม่ แบบของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
วอลแตร์ (Voltaire)
• เขียนหนังสื อเรื่อง จดหมายปรัชญา หรือ
จดหมายเรื่องเมืองอังกฤษ
• คัดค้ านการปกครองแบบเผด็จการ และ
ต่ อต้ านความงมงายไร้ เหตุผล
• เรียกร้ องให้ มีการปฏิรูปฝรั่งเศสให้
ทันสมัยเหมือนอังกฤษ
• วอลแตร์ คดว่ า การใช้ เหตุผลและ
ิ
สติปัญญาสามารถแก้ ไขปัญหาสั งคมและ
การเมืองได้
ชอง-ชาคส์ รู โซ (Jean-Jacques Rousseau)
• งานเขียนชิ้นเอก คือ สั ญญาประชมคม ทําให้ เขาได้ ชื่อ
ว่ า เป็ นผู้วางรากฐานอํานาจอธิปไตยของประชาชน
• ควรมีการจัดทําข้ อตกลง หรือ สั ญญาประชาคม โดย
ให้ ประชาชนเข้ ามาตัดสิ นปัญหาต่ างๆร่ วมกัน เห็นถึง
ประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่ าส่ วนตัว รัฐบาลควรเกิด
จากความเห็นชอบร่ วมกันของประชาชน และมีพนธะ
ั
ทางสั งคมทีจะปกครองประชาชนให้ ได้ รับความ
่
ยุติธรรมและอยู่ร่วมกันอย่ างมีความสุ ข ประชาชนมี
สิ ทธิล้มล้างรัฐบาลได้
• มุ่งปฏิรูปการเมืองและสั งคมทีเ่ ต็มไปด้ วยความเหลือม
่
ลําระหว่ างชนชั้นปกครองกับประชาชน
้
6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ิ
หลังจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 สิ้นพระชนม์ กษัตริย์
องค์ ต่อๆไป ใช้ พระราชเกินขอบเขตทําให้ เกิดความขัดแย้ งกับรัฐบาล ความ
ขัดแย้ งรุนแรงมากขึนเรื่อยๆ จึงเกิดเป็ นสงครามกลางเมืองใน ค.ศ. 1642้
1649 รัฐสภาประหารชีวตพระเจ้ าชาลส์ ที่ 1
ิ
พระเจ้ าชาลส์ ที่ 2 พระราช
โอรสของพระจ้ าชาลส์ ที่ 1
เข้ ารีตนับถือนิกายโรมันคาทอลิก
ก่อนสวรรคต

ภาพจําลองสงครามกลางเมืองอังกฤษ
6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ิ
พระเจ้ าเจมส์ ที่ 2 ซึ่งเป็ นคาทอลิกเช่ นเดียวกัน ทรงชักชวนให้
ประชาชนหันมานับถือนิกายคาทอลิกและทรงพยายามใช้ อานาจอย่ างสู งสุ ด
ํ
ก่ อให้ เกิดการปฏิวติขนใน ค.ศ.1688 พระเจ้ าเจมส์ ที่ 2 ลีภัยไปฝรั่งเศส
ั ึ้
้
รัฐบาลได้ เชิญพระเจ้ าวิลเลียมที่ 3 ขึนครองราชย์ โดยพระองค์ ทรง
้
สั ญญาว่ าจะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้ วยสิ ทธิข้ันพืนฐานของพลเมือง
้
เหตุการณ์ ครั้งนีเ้ รียกว่ า การปฏิวติ
ั
อันรุ่งโรจน์ เป็ นการปฏิวติทไม่ มี
ั ี่
การเสี ยเลือดเนือ
้
ระบอบราชาธิปไตยแบบ
เทวสิ ทธิ์ของอังกฤษสิ้นสุ ดลง
6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ิ
นับแต่ น้ันมารัฐสภาอังกฤษได้ ออก
กฎหมายให้ สิทธิเสรีภาพแก่ ชาวอังกฤษ ปฏิรูป
สั งคมและการเมืองของอังกฤษก้ าวหน้ า
ตามลําดับจนถึงปัจจุบัน

่
พระราชบัญญัติวาด้วยสิ ทธิ์
6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776
ิ
อเมริกาเคยอยู่ภายใต้ การครอบครองของอังกฤษ ชาวอังกฤษที่
อพยพไปตั้งรกรากทีสหรัฐอเมริกา ในระยะแรกมีความผูกพันกับเมืองแม่
่
ของตนเองด้ วยการยอมรับนับถือกษัตริย์องกฤษขึนเป็ นกษัตริย์ของตน และ
ั
้
ปกครองตนเองในรู ปแบบอาณานิคมขึนตรงต่ ออังกฤษ
้
ต่ อมาเมื่ออังกฤษทําสงครามกับฝรั่งเศส จึงต้ องใช้ เงินจํานวนมาก
รัฐบาลอังกฤษจึงหันมาเก็บภาษีชาวอาณานิคมอย่ างรุนแรง และเอาเปรียบ
ทางการค้ า คุกคามสิ ทธิและเสรีภาพทางการเมืองของชาวอาณานิคม โดย
รัฐสภาอังกฤษออกพระราชบัญญัติควิเบก อังกฤษมีสิทธิทจะยับยั้งสิ ทธิ
ี่
และเสรีภาพของชาวอาณานิคมได้ อีกทั้งให้ เสรีภาพทางการเมืองแก่ พวก
คาทอลิก สร้ างความไม่ พอใจแก่ ชาวอาณานิคมเป็ นอย่ างมาก
6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776
ิ
ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.1776 ชาวอาณานิคมจึงพร้ อมใจกัน
ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทางอังกฤษส่ งทหารมาปราบกลายเป็ นสงคราม
เรียกว่ า สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกน ชาวอาณานิคมได้ รับความ
ั
ช่ วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็ นฝ่ ายมีชัยใน ค.ศ. 1783 ได้ ต้ังเป็ น
ประเทศใหม่ คอ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข
ื

ต้นฉบับลายมือคําประกาศอิสระภาพอเมริ กา
6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776
ิ
ชาวอเมริกนประกอบด้ วยชาวอังกฤษเป็ นส่ วนใหญ่ จึงยึดมั่นใน
ั
ระบอบประชาธิปไตย สามารถวางรากฐานการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยได้ อย่ างมั่นคง
ประธานาธิบดีทมีชื่อเสี ยงในการส่ งเสริมระบอบประชาธิปไตยและ
ี่
ความเสมอภาคในหมู่ประชาชนคือ อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น
6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789
ิ
เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง เนื่องจากฝรั่งเศสต้ อง
ทําสงครามหลายครั้งตั้งแต่ สมัยพระเจ้ าหลุยส์ ที่ 14 ถึงสมัยพระเจ้ าหลุยส์ ที่
16 และการเข้ าช่ วยอาณานิคมในสมครามประกาศอิสรภาพอเมริกนทําให้
ั
รัฐบาลฝรั่งเศสมีหนีสินมาก
้
ด้ านสั งคม ฝรั่งเศสแบ่ งออกเป็ น 3 ฐานันดร ฐานันดรที่ 1 ได้ แก่
นักบวชนิกายคาทอลิก , ฐานันดรที่ 2 ได้ แก่ ขุนนางและผู้ดี , ฐานันดรที่ 3
ได้ แก่ ชนชั้นกลาง ชาวนา กรรมกร ฐานันดรที่ 3 ต้ องเสี ยภาษีให้ รัฐบาล
เมื่อฝรั่งเศสจะล้มละลาย เสนาบดีคลังเสนอให้ เก็บภาษีทดินจาก
ี่
ประชาชนทุกคน แต่ ถูกต่ อต้ านจากฐานันดรที่ 1 และ 2
6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789
ิ
อังกฤษกําลังเจริญรุ่งเรืองจึงกลายเป็ นแม่ แบบและแรงบันดาลใจให้
ชาวฝรั่งเศส การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776 ทําให้ ความมุ่งหวัง
ั
ั
ต่ างๆของกลุ่มนักคิดของยุคภูมธรรมบรรลุความเป็ นจริง ดังนั้นอีก 13 ปี
ิ
ต่ อมา ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ชาวฝรั่งเศสจึงได้ ก่อการปฏิวติครั้ง
ั
ใหญ่ เพือล้ มล้างอํานาจการปกครองแบบราชาธิปไตย และต่ อมาได้ มีการ
่
จัดตั้งการปกครองแบบสาธารณรัฐ
ในคําประกาศสิ ทธิมนุษยชนและพลเมืองของฝรั่งเศสประกาศเมื่อ
วันที่ 27 สิ งหาคม ค.ศ. 1789 ก็เป็ นการทําเอาความคิดหลักของล็อก มองเตส
กิเออร์ วอลแตร์ และรู โซมาใช้ ให้ เห็นอย่ างชัดเจน
6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789
ิ
การปฏิวติฝรั่งเศสเป็ นปรากฏการณ์ ครั้งแรกทีประชาชนได้
ั
่
เรียกร้ องเสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ ตามแนวทางของนักปราชญ์
การเมืองของคริสต์ ศตวรรษที่ 18 ส่ งผลให้ แนวคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอ
ภาค และภราดรภาพ แพร่ กระจายไปทัวทวีปยุโรป นําไปสู่ การต่ อต้ าน
่
ผู้ปกครองตลอดคริสต์ ศตวรรษที่ 19 และ 20
7.
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque)
ศิลปะบารอค มีแหล่งกําเนิดทีประเทศอิตาลีแล้วขยายวงกว้ างออกไปทั่ว
่
ประเทศยุโรป เกิดขึนเมือประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 16 สื บต่ อจากศิลปะสมัย
้ ่
ฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissance)และเสื่ อมความนิยมเมือประมาณกลาง
่
คริสต์ ศตวรรษที่ 18 มีความเจริญสู งสุ ดอยู่ระหว่ างค.ศ. 1680 - 1730 ซึ่งมีชื่อ
เรียกเฉพาะในช่ วงเวลานีว่า High – Baroque
้
ลักษณะของศิลปะบารอกเปลียนแปลงจากศิลปะสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา
่
(Renaissance) ซึ่งแสดงอารมณ์ สงบนิ่งแฝงปรัชญามาเป็ นอารมณ์ พลุ่งพล่าน
แสดงความดินรน เคลือนไหว หรือสร้ างให้ มรูปทรงบิดผันจนเกินงาม หรือประณีต
้
่
ี
บรรจงเกินไป และเน้ นบรรยากาศโอ่อ่าหรูหราเป็ นพิเศษ ศิลปะแนวนีรุ่งเรืองมากใน
้
ประเทศอิตาลี และกลุ่มประเทศคาทอลิก
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque)
1. งานจิตรกรรม
ส่ วนใหญ่ ยงคงรับรูปแบบ และเทคนิคจากสมัยเรเนสซองส์ แต่ ได้ พฒนาฝี มือและ
ั
ั
เทคนิคการผสมสี ทวจิตงดงามยิงขึน มีการลวงตาด้ วยเส้ น สี แสง และเงา และใช้ หลัก
ี่ ิ
่ ้
ทัศนียวิสัย ทําให้ ภาพมีลกษณะกินตา เป็ นภาพสามมิติ ผลงานทีเ่ ป็ นภาพคนมักจะแสดง
ั
อารมณ์ ความรู้สึกโลดแล่นราวคนจริง เน้ นแสดงความโลดโผนของลีลาท่ าทางมากกว่ าการ
สื่ อเพียงความงดงามของรู ปร่ างรูปทรง
ลักษณะเด่ นอีกประการคือภาพคนนั้น
จะแสดงเสื้อผ้าเครื่องแต่ งกายอย่ างหรูหรา มี
รอยพับอ่ อนช้ อยและปกคลุมร่ วงกายส่ วนใหญ่
ไว้ ด้วยรอยยับดังกล่าว ส่ วนฉากหลังจะแสดง
ถึงทัศนียภาพอันกว้ างไกล

รู เบนส์ , A Garden of Love, สีนํามันบนผ้าใบ,
้
ค.ศ. ๑๖๓๒–๑๖๓๔
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque)
จิตรกรทีสําคัญได้ แก่ มีเกลันเจโลดา การาวัจโจ ชาวอิตาลี
่
(Michelangelo da Caravaggio ค.ศ. 1573-1610) , เรมบรันต์ ชาว
ดัตช์ (Rembrandt ค.ศ. 1606-1669) และพีเตอร์ พอล รู เบนส์ ชาวเฟลมิช
(Peter Paul Rubens ค.ศ. 1577-1644)

Rembrandt
Michelangelo da Caravaggio

Peter Paul Rubens
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque)
2. งานสถาปัตยกรรม
แสดงออกถึงความใหญ่ โตหรูหราและการประดับประดาทีฟุ่มเฟื อย โอ่อ่าโอฬาร
่
เกินจําเป็ น โดยนําความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มาใช้ งานก่ อสร้ างมากขึน
้
ผลงานชิ้นสํ าคัญของศิลปะแบบบารอค คือ พระราชวังแวร์ ซายส์ Versaillesของ
พระเจ้ าหลุยส์ ที่ 14 แห่ งฝรั่งเศส

พระราชวังแวร์ซายส์
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque)
3. ศิลปะด้ านดนตรี
มีท้งเพลงศาสนาและไม่ ใช่ ศาสนา มีท้งการร้ องเดียวและการร้ องแบบอุปรากร
ั
ั
่
ขนาดของวงดนตรีขยายใหญ่ จากเดิมแบบ Chamber Music ทีใช้ ผู้เล่นไม่ กคน มาเป็ น
่
ี่
แบบ Orchestra ทีใช้ ผู้เล่นและเครื่องดนตรีจํานวนมาก นักดนตรีทสําคัญ คือ โยฮันน์ เซ
่
ี่
บาสเตียน บาค ชาวเยอรมัน (Johann Sebastian Bach) ซึ่งแต่ งเพลงทางด้ าน
ศาสนาเป็ นส่ วนใหญ่ ) ส่ วนนักแต่ งเพลงทีมชื่อเสี ยง ได้ แก่ คลอดิโอ มอนเตเวอร์ ดี ชาวอิตาลี
่ ี
(Claudio Monteverdi ค.ศ. 1567-1643)
4. งานด้ านวรรณกรรม
ในสมัยคริสต์ ศตวรรษ ที่ 17 ได้ ชื่อว่ าเป็ นยุคทองแห่ งวรรณกรรมยุโรป มีผลงาน
ชิ้นเอกของนักประพันธ์ ชาวอังกฤษและฝรั่งเศสเกิดขึนมากมาย ทีเ่ ด่ นคือ งานเขียนทาง
้
ปรัชญาการเมืองของ จอห์ น ลอค ( John Lock) และผลงานของนักเขียนบทละคร
เสี ยดสี สังคมชั้นสู ง ชื่อ โมลิแอร์ ( Moliere)เป็ นต้ น
7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism)
ได้ รับความนิยมในยุโรปประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 18 อันเป็ นช่ วงการ ปฏิวตใน
ั ิ
ฝรั่งเศสถึงกลางคริสต์ ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็ นยุคทีมนุษย์เปลียนความรู้สึก ความเชื่อ และ
่
่
ทัศนคติอย่ างสิ้นเชิง เพราะจากความสํ าเร็จในการปฏิวัตและการค้ นพบทางวิทยาศาสตร์
ิ
ทําให้ มนุษย์ มความเชื่อมันในเหตุผล มีความสามารถ เฉลียวฉลาด รู้คุณค่ าของความเป็ น
ี
่
มนุษย์ เรียกว่ าเป็ นสมัยแห่ งภูมปัญญา
ิ
7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism)
1. สถาปัตยกรรม
มีการฟื้ นฟูศิลปะคลาสสิ กมาปรับปรุ งใหม่ ให้ เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ ใน
สมัยนั้น มีการสะท้ อนเรื่องราวของอารยธรรมโบราณ แสดงความสง่ าของทรวดทรง
เน้ นในความสมดุลได้ สัดส่ วน
7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism)
2. ประติมากรรมและจิตรกรรม
ประติมากรรมคลาสสิ กใหม่ นิยมลอกเลียนแบบประติมากรรมของ
กรีก-โรมัน ส่ วนจิตรกรรรมเน้ นในเรื่องเส้ นมากกว่ าการให้ สี แสดงออกให้ เห็นถึง
ความสง่ างาม และยิงใหญ่ ในความเรียบง่ าย คล้ายกับผลงานของกรีกโบราณ
่
7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism)
3. นาฏกรรม
ในสมัยนีได้ รับอิทธิพลจากการละครของกรีก ซึ่งต้ องการแสดงความ
้
สมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งมันทีจะสั่ งสอนนอกเหนือจากการให้ ความเพลิดเพลิน
่ ่
ฝรั่งเศสเป็ นชาติแรกทีเ่ ขียนบทละครคลาสสิ กเมือประมาณกลางคริสตศตวรรษที่ 17
่
7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism)
4.ดนตรี

Wolfgang Amadeus Mozart

สมัยนีนิยมเนือเรื่องทีแสดงออกด้ าน
้
้
่
ความคิดเห็น และในเรื่องของความเสมอภาคตาม
ทัศนะของนักเขียนสมัยภูมปัญญา นอกจากนี้
ิ
ความคิดทีเ่ ชื่อมันในเหตุผล สติปัญญา และ
่
ความสามารถของมนุษย์ ก็มบทบาททีทาให้ การ
ี
่ ํ
แต่ งเพลงมีอสระมากขึน นักประพันธ์ ทมชื่อเสี ยง
ิ
้
ี่ ี
สมัยคลาสสิ กได้ แก่ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ ต
(Wolfgang Amadeus Mozart
ค.ศ.1756-1791)
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
อยู่ระหว่ างปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 18 ถึงกลางคริสต์ ศตวรรษที่ 19 เน้ น
อารมณ์ และความรู้สึกภายใน เนื่องจากผู้คนเริ่มเบื่อหน่ ายการใช้ เหตุผล และต้ องการ
กลับไปชื่นชมความงามของธรรมชาติ พอใจในเรื่องราวแปลก แตกต่ างออกไปจาก
ดินแดนต่ างๆ โดยไม่ คานึงถึงประเพณีนิยม พวกศิลปิ นจะสร้ างงานโดยยึดถืออารมณ์
ํ
ฝัน และจินตนาการของตนเป็ นสํ าคัญ และไม่ เห็นด้ วยกับการสร้ างงานทียดถือหลัก
่ึ
วิชาการ และเหตุผล
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
1. สถาปัตยกรรม
มีการนํารูปแบบสถาปัตยกรรมในอดีตมาดัดแปลงตามจินตนาการ เพือให้ เกิดผล
่
ทางด้ านอารมณ์ ส่ วนใหญ่ จะได้ รับอิทธิพลจากสถาปัตกรรมแบบกอทิก
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
2. ประติมากรรม
ประติมากรรมจินตนิยมเน้ นการแสดงอารมณ์ ความรู้สึก และแนวความคิดประติมากร
จินตนิยมทีมชื่อเสี ยงของฝรั่งเศส ได้ แก่ ฟรองซัว รูเด(Francois Rude
่ ี
ค.ศ.1784-1855) ผู้ป้ันประติมากรรมนูนสู งมาร์ ซายแยส(Marseillaise) ประดับ
ฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย(Arch of Triumph)ในกรุ งปารีส
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
3. จิตรกรรม
มีการจัดองค์ ประกอบด้ วยสี เส้ น แสงเงา และปริมาตรค่ อนข้ างรุนแรง มุ่งให้ เกิดความ
สะเทือนอารมณ์ คล้อยตามไปกับจินตนาการทีเ่ ต็มไปด้ วยความเพ้ อฝัน แปลกประหลาด
ตืนเต้ นเร้ าใจ ความรุ นแรง และความน่ าหวาดเสี ยวสยดสยอง จิตรกรคนสํ าคัญของฝรั่งเศส
่
ได้ แก่ เออชอน เดอลา-กรัวซ์ (Eugene Delacroix ค.ศ.1798-1863) ผู้เขียนภาพ
อิสรภาพนําประชาชน(Liberty leading the people) เขียนจากเหตุการณ์ นอง
เลือดเมือประชาชนลุกฮือขึนโค่ นบัลลังก์ราชวงศ์ บูร์บง ทีเ่ กิดเมือ ค.ศ.1830
่
้
่
ภาพ 3 พฤษภาคม 1808
โดย โกยา Francisco Goya ( ค.ศ.1814 )
เป็ นภาพแสดงเหตุการณ์ปฏิวติในฝรั่งเศส
ั
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ

(ซ้าย ) เออชอน เดอลา-กรัวซ์(Eugene Delacroix ค.ศ.1798-1863)
ผูเ้ ขียนภาพอิสรภาพนําประชาชน(Liberty leading the people)(ขวา)
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ

ภาพ การอับปางของแพเมดูซา โดย เจริโคท์ Theodore Gericault ( ค.ศ.1819)
เรื่องราวที่เขียนเกิดจากการได้ รับทราบเหตุการณ์ การประสบอุบัตเิ หตุเรือแตกของเรือลําหนึ่ง โดยมีผ้รอดชีวตจํานวน
ิ
ู
หนึ่งต้ องเผชิญกับภัยอย่ างอ้างว้ างบนแพอันจํากัด กลางท้ องทะเลแห่ งคลืนลมและความหิว
่
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
4. ดนตรี
ดนตรีแนวจินตนิยมไม่ ได้ แต่ งเพือฟังเพลิดเพลินอย่าง
่
เดียว แต่ มจุดมุ่งหมายทีจะเร้ าความรู้ สึกทางจิตใจด้ วย
ี
่
เช่ น ความรู้ สึกชาตินิยม โน้ มน้ าวจิตใจผู้ฟังให้ คล้ อยตาม
นักแต่ งเพลงจินตนิยมทีมชื่อเสี ยงได้ แก่ ลุดวิก ฟาน บี
่ ี
โทเฟน(Ludwig van Beethoven ค.ศ.17701827) , ฟรานซ์ ชู เบิร์ต(Franz Schubert
ค.ศ.1797-1828) เป็ นต้ น

Ludwig van Beethoven

Franz Schubert
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
5. การละคร
นิยมแสดงเรื่องทีตวเอกประสบปัญหาอุปสรรค หรือ
่ ั
มีข้อขัดแย้ งในชีวตอย่างสาหัส ซึ่งจะดึงอารมณ์ ของ
ิ
ผู้ชมให้ เอาใจช่ วยตัวเอก การเขียนบทไม่ เคร่ งครัดใน
ระเบียบแบบแผนอย่างละครคลาสสิ ก ละครแนว
จินตนิยมกําเนิดในเยอรมนี บทละครทียงใหญ่ ทสุด
่ ิ่
ี่
คือ เรื่องเฟาสต์ (Faust)ของโยฮันน์ วอล์ฟกัง
ฟอน เกอเทอ(Johanne Wolfgang von
Goethe ค.ศ.1749-1832)

Johanne Wolfgang von Goethe
7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism)
ิ
6. วรรณกรรม
เน้ นจินตนาการ และอารมณ์ และถือว่ าควมต้ องการของผู้ประพันธ์ สําคัญกว่ าความ
ต้ องการของคนในสั งคม บทร้ อยกรองประเภทคีตกานต์ (lyric) ซึ่งเป็ นโคลงสั้ นๆ
แสดงอารมณ์ ของกวีได้ รับความนิยมสู งสุ ดในสมัยนี้ กวีคนสํ าคัญของอังกฤษ คือ
วิลเลียม เวิดส์ เวิร์ท(William wordsworth ค.ศ.1770-1850) และ แซมวล เทย์
เลอร์ โคลริดจ์ (Samuel Taylor Colridge ค.ศ.1772-1834) กวีทยงใหญ่ ทสุด
ี่ ิ่
ี่
ของฝรั่งเศส คือ วิกเตอร์ -มารี อูโก(Victor Marie Hugo ค.ศ.1802-1885) นอก
จาแต่ งโคลงแล้ ว ยังแต่ งบทละครและนวนิยาย นวนิยายทีมชื่เสี ยงมาก คือ เหยืออธรรม
่ ี
่
(Les Miserables)
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
ตั้งแต่ ปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้ นมา เป็ นสมัยแห่ งความเจริญทาง
เทคโนโลยีและความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ สั งคมของยุโรปเปลียนแปลงไปอย่าง
่
รวดเร็ว การใช้ ระบบเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นแบบทุนนิยม ทําให้ เกิดความขัดแย้งระหว่ างกรรมกร
กับนายทุน ขณะเดียวกันก็เกิดแนวความคิดแบบสั งคมนิยม ซึ่งต่ อต้ านระบบนายทุน
ต้ องการให้ ชนชั้นแรงงานเป็ นเจ้ าของปัจจัยการผลิตและมีอานาจทางสั งคมและการเมือง
ํ
อย่างไรก็ตามชนชั้นกลางหรือนายทุนก็ยงสามารถรักษาสถานภาพและอํานาจในสั งคม
ั
ของตนไว้ ได้ ความเปลียนแปลงเหล่านีทาให้ แนวความคิดทางศิลปะหันเหจากแนว
่
้ ํ
จินตนิยมมาเป็ นแนวสั จนิยม ซึ่งเป็ นแนวความคิดทีต้ังอยู่บนพืนฐานความเป็ นจริงของ
่
้
ชีวต โดยต้ องการให้ เห็นว่ าโลกทีแท้ จริงไม่ ได้ งดงามตามแบบที่พวกจินตนิยมเชื่อถือกัน
ิ
่
ชีวตต้ องดินรนต่ อสู้ มีการเอารัดเอาเปรียบและการขัดแย้ งกันระหว่ างชนชั้นในสั งคม
ิ
้
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
ลักษณะเด่ นของสัจนิยม คือ การแสดงให้ เห็นสภาพทีเ่ ป็ นจริงของสั งคม เปิ ดโปงความ
ชั่วร้ ายของพวกนายทุน และความไม่ ยุตธรรมทีกลุ่มผู้ใช้ แรงงานได้ รับ มักจะเน้ นชีวต
ิ
่
ิ
ของพวกกรรมกรทีทุกข์ ยาก ชุมชนแออัด ความสั บสนวุ่นวายในเมือง สภาพของคนที่
่
ยากไร้ การเอารัดเอาเปรียบของกลุ่มคนทีมฐานะดีกว่ า ส่ วนมากจะเป็ นรายละเอียดของ
่ ี
ชีวตประจําวันทุกด้ านตามความเป็ นจริง พวกสั จนิยมไม่ นิยมเรื่องประวัตศาสตร์ เรื่อง
ิ
ิ
จินตนาการเพ้อฝัน และไม่ มองโลกในแง่ ดเี หมือนพวกจินตนิยม นอกจากนียงเสนอ
้ั
ผลงานอย่ างตรงไปตรงมาและเป็ นกลาง
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
1. ด้ านสถาปัตยกรรม
เนื่องจากอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจขยายตัวอย่ างรวดเร็ว จึงมีการสร้ างโรงงานขนาด
ใหญ่ อาคารสํ านักงานทีสูงหลายๆชั้นกันมาก การก่อสร้ างอาคารจะนําวัสดุทเี่ กิดจาก
่
เทคโนโลยีใหม่ ๆมาใช้ เช่ น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ แทนอิฐ ไม้ เหมือนแต่ ก่อน อาคารส่ วน
ใหญ่ เป็ นลักษณะเรียบง่ าย ให้ ใช้ ประโยชน์ ได้ มากทีสุดในเนือทีจํากัด การออกแบบจึง
่
้ ่
ต้ องสอดคล้ องกับประโยชน์ ใช้ สอย แต่ ในขณะเดียวกันก็ต้องมีความงามทางศิลปะด้ วย
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
2. ประติมากรรม
นิยมปั้นและหล่อรู ปคนมีรูปร่ างสั ดส่ วนเหมือนคนจริง ผิวรูปปั้นหยาบ ไม่ เรียบ เมือมีแสง
่
ส่ องกระทบจะเห็นกล้ามเนือชัดเจน ศิลปิ นคนสํ าคัญ คือ โอกูสต์ โรแดง (August
้
Rodinค.ศ.1840-1917) ซึ่งเป็ นประติมากรทีสําคัญทีสุดคนหนึ่งของฝรั่งเศสและของ
่
่
โลก ผลงานชิ้นเอก เช่ น นักคิด (The Thinker) หล่อด้ วยสํ าริด

โอกูสต์ โรแดง (August Rodinค.ศ.1840-1917)
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)

นักคิด (The Thinker)
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
3.จิตรกรรม
มักสะท้ อนสภาพชีวตจริงของมนุษย์ ในด้ านลบ เช่ น ชีวตคนชั้นตําตามเมืองใหญ่ ๆ ชีวต
ิ
ิ
่
ิ
ชาวไร่ ชาวนาทียากไร้ ในชยบท ศิลปะสั จนิยมมีกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส จากการริเริ่มของ
่
ํ
กูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet ค.ศ. 1819-1877) ซึ่งยึดหลักการสร้ างงานให้
เหมือนจริงและเป็ นจริงตามทีตาแลเห็น
่
ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ ภาพร่ อนข้ าวโพด
The Corn Sifters
วาดโดย กุสตาฟ คูร์เบท์ Gustave Courbet
ค.ศ.1855
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)

ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ ภาพคนเก็บข้ าวตก The Gleaners
วาดโดย ฌอง ฟรังซัวส์ มิล์เลท์ Jean-Francois Millet ค.ศ.1857
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
4.ดนตรี
สมัยปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 19 และต้ นคริสต์ ศตวรรษที่ 20 มีการแต่ งเพลงรูปแบบใหม่ ไม่
ยึดถือแบบเก่ าทีเ่ คยมีมา ตามความคิดทีว่าดนตรีต้องประกอบด้ วยสี สันและจังหวะ ไม่ มี
่
รูปแบบตายตัวหรือหล่ออกมาเป็ นแบบประเพณี นักแต่ งเพลงทีมชื่อเสี ยงในยุคนี้ ได้ แก่ โค
่ ี
ลด เดอบูชี นักแต่ งเพลงชาวฝรั่งเศส(Claude Debussy ค.ศ.1862-1918 ) , อี
กอร์ สตราวีนสกี นักแต่ งเพลงชาวรัสเซีย(Igor Stravinsky ค.ศ. 1882-1971)
Igor Stravinsky

Claude Debussy
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
5.การละคร
มักสะท้ อนภาพสั งคมหรือภาพชีวตในแง่ มุมต่ างๆ การแสดงสมจริงเป็ นธรรมชาติ บท
ิ
เจรจาใช้ ภาษาเหมาะแก่สภาพและฐานะตัวละคร บทละครเขียนเป็ นร้ อยแก้ว ผู้บุกเบิก
ละครแนวใหม่ นี้ คือ เฮนริก อิบเซน นักแต่ งบทละครชาวนอร์ เวย์ ผู้แต่ งเรื่อง บ้ านตุ๊กตา
(A Doll’s House)(Henrik Ibsen ค.ศ 1828-1906) , จอร์ จ เบอร์ นาร์ ด
ชอว์ นักแต่ งบทละครชาวอังกฤษ เรื่องเอกของชอว์ ได้ แก่ Arms and the Man
George Bernard Show

Henrik Ibsen
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)
6.วรรณกรรม
เน้ นข้ อเท็จจริงมากกว่ าอารมณ์ ความรู้สึก โดยพยายามสะท้ อนภาพการต่ อสู้ ดนรนของ
ิ้
มนุษย์ ในสั งคม ความเห็นแก่ตว การแข่ งขันเอารัดเอาเปรียบ ความยากจน และชีวตทีไร้
ั
ิ ่
ความหวัง มักจะบรรยายสภาพความเป็ นอยู่ทแร้ นแค้ นของชุมชนแออัด ความชั่วร้ าย
ี่
จอมปลอมของชนชั้นกลาง มนุษย์ทตกเป็ นเหยือของโชคชะตา วรรณคดีแนวนีเ้ กิดขึนครั้ง
ี่
่
้
แรกในฝรั่งเศส นักเขียนทีมอทธิพลได้ แก่ โอโรเน เดอ บัลชัก (Honore de ่ ีิ
Balzac ค.ศ. 1799-1850) และ กูสตาฟว์ โฟลแบร์ (Gustav Flaubert ค.ศ
1821-1880) ส่ วนในอังกฤษ ทีรู้ จักกันดีคอ ชาลส์ ดิกเกนส์ (Charles Dickens
่
ื
ค.ศ. 1812-1870) ผู้เขียนนวนิยายเรื่อง Oliver Twist ซึ่งชี้ให้ เห็นสภาพทีน่าสงสาร
่
ของคนจนและชนชั้นตําในสั งคม และงานชิ้นนีเ้ องทีมส่วนให้ เกิดการปฏิรูปสั งคมใน
่
่ ี
อังกฤษในเวลาต่ อมา
7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism)

Charles Dickens

Honore de Balzac

Gustav Flaubert
รายชื่อผู้จัดทํา
1. นางสาว ชญานิศ กฤษณยรรยง ม.6.7 เลขที่ 15
2. นางสาว ธชธร ลีลามหานนท์ ม.6.7 เลขที่ 20

More Related Content

What's hot

การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาsupppad
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBest Naklai
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
Srinthip Chaiya
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5Alzheimer Katty
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการthnaporn999
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษาduesdee tawon
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
Female'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
Padvee Academy
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
warintorntip
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
fuangfaa
 

What's hot (20)

การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 

Similar to 5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่

ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
Kanpitcha Sandra
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
Aniwat Suyata
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
NisachonKhaoprom
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
Nattanicha Kanjai
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religionfuangfaa
 

Similar to 5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่ (20)

00ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.200ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religion
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้งJitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya (20)

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (8)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่

  • 2. ยุคภูมธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย ิ การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ในสั งคมตะวันตกในคริสต์ ศตวรรษที่ ั 17 นําไปสู่ การปฏิวติทางภูมิปัญญาในคริสต์ ศตวรรษ 18 วิธีการทาง ั วิทยาศาสตร์ และการหลุดพ้ นอํานาจของคริสตจักร ทําให้ ชาวตะวันกล้ าใช้ เหตุผลแสดงความคิดเห็นทางสั งคมและการเมือง และการเรียกร้ องสิ ทธิ เสรีภาพ พัฒนาการด้ านต่ างๆส่ งผลให้ สังคมตะวันตกเป็ นสั งคมทีร่ ุงโรจน์ ่ คริสต์ ศตวรรษที่ 18 จึงได้ รับสมญาว่ าเป็ น ยุคภูมิธรรม
  • 3. 6.1 นักปราชญ์ การเมืองแนวประชาธิปไตย • • • • • ทอมัส ฮอบส์ จอห์ น ล็อก บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ ชอง-ชาคส์ รู โซ
  • 4. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) • ฮอบส์ กล่าวว่ า ก่อนรวมเป็ นสั งคมเมือง มนุษย์ มีอสระ เสรีภาพในการกระทําการใดๆ ิ ก่ อให้ เกิดความวุ่นวาย จึงตกลงกันทีจะหา ่ คนกลางมาทําหน้ าทีปกครอง ประชาชนมี ่ สิ ทธิเลือกการปกครองทีสอดคล้ องกับความ ่ ต้ องการของคนส่ วนใหญ่ • โจมตีความเชื่อทางศาสนาว่ าเป็ นเรื่องไร้ เหตุผล มนุษย์ ควรอยู่ด้วยเหตุผลและวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์
  • 5. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) • แนวคิดของฮอบส์ ปรากฏในหนังสื อ ลี ไวอาทัน (Leviathan)
  • 6. จอห์ น ล็อก (John Locke) • เขียนหนังสื อเรื่อง Two Treatises of Government • เสนอทฤษฎีว่า รัฐบาลจัดตั้งขึนโดยความยินยอม ้ ของประชาชน และต้ องรับผิดชอบต่ อชีวตความ ิ เป็ นอยู่ของประชาชน • สรุปได้ ว่า ประชาชนเป็ นทีมาของอํานาจทาง ่ การเมืองและมีอานาจในการจัดตั้งรัฐบาลขึนได้ ํ ้ รัฐและรัฐบาลจึงมีหน้ าทีปกครองโดยคํานึงถึง ่ ประโยชน์ และสิ ทธิธรรมชาติของประชาชน • เป็ นรากฐานความคิดของระบอบประชาธิปไตย สมัยใหม่
  • 7. จอห์ น ล็อก (John Locke) • เขียนหนังสื อ วิญญาณแห่ งกฎหมาย • กฎหมายทีรัฐบาลแต่ ละสั งคมบัญญัติขึนต้ องสอดคล้ องกับ ่ ้ ลักษณะภูมิประเทศและเงื่อนไขทางขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ของแต่ ละสั งคม แต่ การปกครองแบบ กษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญเป็ นรูปแบบทีดีทสุด ่ ี่ อํานาจการปกครองควรแยกออกเป็ น 3 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายนิติบัญญัติ ฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายตุลาการ เป็ นการสร้ างระบบตรวจสอบและถ่ วงดุลอํานาจ • เป็ นแม่ แบบของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
  • 8. วอลแตร์ (Voltaire) • เขียนหนังสื อเรื่อง จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายเรื่องเมืองอังกฤษ • คัดค้ านการปกครองแบบเผด็จการ และ ต่ อต้ านความงมงายไร้ เหตุผล • เรียกร้ องให้ มีการปฏิรูปฝรั่งเศสให้ ทันสมัยเหมือนอังกฤษ • วอลแตร์ คดว่ า การใช้ เหตุผลและ ิ สติปัญญาสามารถแก้ ไขปัญหาสั งคมและ การเมืองได้
  • 9. ชอง-ชาคส์ รู โซ (Jean-Jacques Rousseau) • งานเขียนชิ้นเอก คือ สั ญญาประชมคม ทําให้ เขาได้ ชื่อ ว่ า เป็ นผู้วางรากฐานอํานาจอธิปไตยของประชาชน • ควรมีการจัดทําข้ อตกลง หรือ สั ญญาประชาคม โดย ให้ ประชาชนเข้ ามาตัดสิ นปัญหาต่ างๆร่ วมกัน เห็นถึง ประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่ าส่ วนตัว รัฐบาลควรเกิด จากความเห็นชอบร่ วมกันของประชาชน และมีพนธะ ั ทางสั งคมทีจะปกครองประชาชนให้ ได้ รับความ ่ ยุติธรรมและอยู่ร่วมกันอย่ างมีความสุ ข ประชาชนมี สิ ทธิล้มล้างรัฐบาลได้ • มุ่งปฏิรูปการเมืองและสั งคมทีเ่ ต็มไปด้ วยความเหลือม ่ ลําระหว่ างชนชั้นปกครองกับประชาชน ้
  • 10. 6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ ิ หลังจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 สิ้นพระชนม์ กษัตริย์ องค์ ต่อๆไป ใช้ พระราชเกินขอบเขตทําให้ เกิดความขัดแย้ งกับรัฐบาล ความ ขัดแย้ งรุนแรงมากขึนเรื่อยๆ จึงเกิดเป็ นสงครามกลางเมืองใน ค.ศ. 1642้ 1649 รัฐสภาประหารชีวตพระเจ้ าชาลส์ ที่ 1 ิ พระเจ้ าชาลส์ ที่ 2 พระราช โอรสของพระจ้ าชาลส์ ที่ 1 เข้ ารีตนับถือนิกายโรมันคาทอลิก ก่อนสวรรคต ภาพจําลองสงครามกลางเมืองอังกฤษ
  • 11. 6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ ิ พระเจ้ าเจมส์ ที่ 2 ซึ่งเป็ นคาทอลิกเช่ นเดียวกัน ทรงชักชวนให้ ประชาชนหันมานับถือนิกายคาทอลิกและทรงพยายามใช้ อานาจอย่ างสู งสุ ด ํ ก่ อให้ เกิดการปฏิวติขนใน ค.ศ.1688 พระเจ้ าเจมส์ ที่ 2 ลีภัยไปฝรั่งเศส ั ึ้ ้ รัฐบาลได้ เชิญพระเจ้ าวิลเลียมที่ 3 ขึนครองราชย์ โดยพระองค์ ทรง ้ สั ญญาว่ าจะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้ วยสิ ทธิข้ันพืนฐานของพลเมือง ้ เหตุการณ์ ครั้งนีเ้ รียกว่ า การปฏิวติ ั อันรุ่งโรจน์ เป็ นการปฏิวติทไม่ มี ั ี่ การเสี ยเลือดเนือ ้ ระบอบราชาธิปไตยแบบ เทวสิ ทธิ์ของอังกฤษสิ้นสุ ดลง
  • 12. 6.2 การปฏิวัตการเมืองการปกครองของอังกฤษ ิ นับแต่ น้ันมารัฐสภาอังกฤษได้ ออก กฎหมายให้ สิทธิเสรีภาพแก่ ชาวอังกฤษ ปฏิรูป สั งคมและการเมืองของอังกฤษก้ าวหน้ า ตามลําดับจนถึงปัจจุบัน ่ พระราชบัญญัติวาด้วยสิ ทธิ์
  • 13. 6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776 ิ อเมริกาเคยอยู่ภายใต้ การครอบครองของอังกฤษ ชาวอังกฤษที่ อพยพไปตั้งรกรากทีสหรัฐอเมริกา ในระยะแรกมีความผูกพันกับเมืองแม่ ่ ของตนเองด้ วยการยอมรับนับถือกษัตริย์องกฤษขึนเป็ นกษัตริย์ของตน และ ั ้ ปกครองตนเองในรู ปแบบอาณานิคมขึนตรงต่ ออังกฤษ ้ ต่ อมาเมื่ออังกฤษทําสงครามกับฝรั่งเศส จึงต้ องใช้ เงินจํานวนมาก รัฐบาลอังกฤษจึงหันมาเก็บภาษีชาวอาณานิคมอย่ างรุนแรง และเอาเปรียบ ทางการค้ า คุกคามสิ ทธิและเสรีภาพทางการเมืองของชาวอาณานิคม โดย รัฐสภาอังกฤษออกพระราชบัญญัติควิเบก อังกฤษมีสิทธิทจะยับยั้งสิ ทธิ ี่ และเสรีภาพของชาวอาณานิคมได้ อีกทั้งให้ เสรีภาพทางการเมืองแก่ พวก คาทอลิก สร้ างความไม่ พอใจแก่ ชาวอาณานิคมเป็ นอย่ างมาก
  • 14. 6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776 ิ ในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.1776 ชาวอาณานิคมจึงพร้ อมใจกัน ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ ทางอังกฤษส่ งทหารมาปราบกลายเป็ นสงคราม เรียกว่ า สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกน ชาวอาณานิคมได้ รับความ ั ช่ วยเหลือจากฝรั่งเศสและเป็ นฝ่ ายมีชัยใน ค.ศ. 1783 ได้ ต้ังเป็ น ประเทศใหม่ คอ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข ื ต้นฉบับลายมือคําประกาศอิสระภาพอเมริ กา
  • 15. 6.3 การปฏิวัตของชาวอเมริกัน ค.ศ.1776 ิ ชาวอเมริกนประกอบด้ วยชาวอังกฤษเป็ นส่ วนใหญ่ จึงยึดมั่นใน ั ระบอบประชาธิปไตย สามารถวางรากฐานการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยได้ อย่ างมั่นคง ประธานาธิบดีทมีชื่อเสี ยงในการส่ งเสริมระบอบประชาธิปไตยและ ี่ ความเสมอภาคในหมู่ประชาชนคือ อับราฮัม ลินคอล์น อับราฮัม ลินคอล์น
  • 16. 6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789 ิ เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง เนื่องจากฝรั่งเศสต้ อง ทําสงครามหลายครั้งตั้งแต่ สมัยพระเจ้ าหลุยส์ ที่ 14 ถึงสมัยพระเจ้ าหลุยส์ ที่ 16 และการเข้ าช่ วยอาณานิคมในสมครามประกาศอิสรภาพอเมริกนทําให้ ั รัฐบาลฝรั่งเศสมีหนีสินมาก ้ ด้ านสั งคม ฝรั่งเศสแบ่ งออกเป็ น 3 ฐานันดร ฐานันดรที่ 1 ได้ แก่ นักบวชนิกายคาทอลิก , ฐานันดรที่ 2 ได้ แก่ ขุนนางและผู้ดี , ฐานันดรที่ 3 ได้ แก่ ชนชั้นกลาง ชาวนา กรรมกร ฐานันดรที่ 3 ต้ องเสี ยภาษีให้ รัฐบาล เมื่อฝรั่งเศสจะล้มละลาย เสนาบดีคลังเสนอให้ เก็บภาษีทดินจาก ี่ ประชาชนทุกคน แต่ ถูกต่ อต้ านจากฐานันดรที่ 1 และ 2
  • 17. 6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789 ิ อังกฤษกําลังเจริญรุ่งเรืองจึงกลายเป็ นแม่ แบบและแรงบันดาลใจให้ ชาวฝรั่งเศส การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776 ทําให้ ความมุ่งหวัง ั ั ต่ างๆของกลุ่มนักคิดของยุคภูมธรรมบรรลุความเป็ นจริง ดังนั้นอีก 13 ปี ิ ต่ อมา ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ชาวฝรั่งเศสจึงได้ ก่อการปฏิวติครั้ง ั ใหญ่ เพือล้ มล้างอํานาจการปกครองแบบราชาธิปไตย และต่ อมาได้ มีการ ่ จัดตั้งการปกครองแบบสาธารณรัฐ ในคําประกาศสิ ทธิมนุษยชนและพลเมืองของฝรั่งเศสประกาศเมื่อ วันที่ 27 สิ งหาคม ค.ศ. 1789 ก็เป็ นการทําเอาความคิดหลักของล็อก มองเตส กิเออร์ วอลแตร์ และรู โซมาใช้ ให้ เห็นอย่ างชัดเจน
  • 18. 6.4 การปฏิวัตฝรั่ งเศส ค.ศ. 1789 ิ การปฏิวติฝรั่งเศสเป็ นปรากฏการณ์ ครั้งแรกทีประชาชนได้ ั ่ เรียกร้ องเสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ ตามแนวทางของนักปราชญ์ การเมืองของคริสต์ ศตวรรษที่ 18 ส่ งผลให้ แนวคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอ ภาค และภราดรภาพ แพร่ กระจายไปทัวทวีปยุโรป นําไปสู่ การต่ อต้ าน ่ ผู้ปกครองตลอดคริสต์ ศตวรรษที่ 19 และ 20
  • 20. 7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) ศิลปะบารอค มีแหล่งกําเนิดทีประเทศอิตาลีแล้วขยายวงกว้ างออกไปทั่ว ่ ประเทศยุโรป เกิดขึนเมือประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 16 สื บต่ อจากศิลปะสมัย ้ ่ ฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissance)และเสื่ อมความนิยมเมือประมาณกลาง ่ คริสต์ ศตวรรษที่ 18 มีความเจริญสู งสุ ดอยู่ระหว่ างค.ศ. 1680 - 1730 ซึ่งมีชื่อ เรียกเฉพาะในช่ วงเวลานีว่า High – Baroque ้ ลักษณะของศิลปะบารอกเปลียนแปลงจากศิลปะสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา ่ (Renaissance) ซึ่งแสดงอารมณ์ สงบนิ่งแฝงปรัชญามาเป็ นอารมณ์ พลุ่งพล่าน แสดงความดินรน เคลือนไหว หรือสร้ างให้ มรูปทรงบิดผันจนเกินงาม หรือประณีต ้ ่ ี บรรจงเกินไป และเน้ นบรรยากาศโอ่อ่าหรูหราเป็ นพิเศษ ศิลปะแนวนีรุ่งเรืองมากใน ้ ประเทศอิตาลี และกลุ่มประเทศคาทอลิก
  • 21. 7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) 1. งานจิตรกรรม ส่ วนใหญ่ ยงคงรับรูปแบบ และเทคนิคจากสมัยเรเนสซองส์ แต่ ได้ พฒนาฝี มือและ ั ั เทคนิคการผสมสี ทวจิตงดงามยิงขึน มีการลวงตาด้ วยเส้ น สี แสง และเงา และใช้ หลัก ี่ ิ ่ ้ ทัศนียวิสัย ทําให้ ภาพมีลกษณะกินตา เป็ นภาพสามมิติ ผลงานทีเ่ ป็ นภาพคนมักจะแสดง ั อารมณ์ ความรู้สึกโลดแล่นราวคนจริง เน้ นแสดงความโลดโผนของลีลาท่ าทางมากกว่ าการ สื่ อเพียงความงดงามของรู ปร่ างรูปทรง ลักษณะเด่ นอีกประการคือภาพคนนั้น จะแสดงเสื้อผ้าเครื่องแต่ งกายอย่ างหรูหรา มี รอยพับอ่ อนช้ อยและปกคลุมร่ วงกายส่ วนใหญ่ ไว้ ด้วยรอยยับดังกล่าว ส่ วนฉากหลังจะแสดง ถึงทัศนียภาพอันกว้ างไกล รู เบนส์ , A Garden of Love, สีนํามันบนผ้าใบ, ้ ค.ศ. ๑๖๓๒–๑๖๓๔
  • 22. 7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) จิตรกรทีสําคัญได้ แก่ มีเกลันเจโลดา การาวัจโจ ชาวอิตาลี ่ (Michelangelo da Caravaggio ค.ศ. 1573-1610) , เรมบรันต์ ชาว ดัตช์ (Rembrandt ค.ศ. 1606-1669) และพีเตอร์ พอล รู เบนส์ ชาวเฟลมิช (Peter Paul Rubens ค.ศ. 1577-1644) Rembrandt Michelangelo da Caravaggio Peter Paul Rubens
  • 23. 7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) 2. งานสถาปัตยกรรม แสดงออกถึงความใหญ่ โตหรูหราและการประดับประดาทีฟุ่มเฟื อย โอ่อ่าโอฬาร ่ เกินจําเป็ น โดยนําความรู้ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มาใช้ งานก่ อสร้ างมากขึน ้ ผลงานชิ้นสํ าคัญของศิลปะแบบบารอค คือ พระราชวังแวร์ ซายส์ Versaillesของ พระเจ้ าหลุยส์ ที่ 14 แห่ งฝรั่งเศส พระราชวังแวร์ซายส์
  • 24. 7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) 3. ศิลปะด้ านดนตรี มีท้งเพลงศาสนาและไม่ ใช่ ศาสนา มีท้งการร้ องเดียวและการร้ องแบบอุปรากร ั ั ่ ขนาดของวงดนตรีขยายใหญ่ จากเดิมแบบ Chamber Music ทีใช้ ผู้เล่นไม่ กคน มาเป็ น ่ ี่ แบบ Orchestra ทีใช้ ผู้เล่นและเครื่องดนตรีจํานวนมาก นักดนตรีทสําคัญ คือ โยฮันน์ เซ ่ ี่ บาสเตียน บาค ชาวเยอรมัน (Johann Sebastian Bach) ซึ่งแต่ งเพลงทางด้ าน ศาสนาเป็ นส่ วนใหญ่ ) ส่ วนนักแต่ งเพลงทีมชื่อเสี ยง ได้ แก่ คลอดิโอ มอนเตเวอร์ ดี ชาวอิตาลี ่ ี (Claudio Monteverdi ค.ศ. 1567-1643) 4. งานด้ านวรรณกรรม ในสมัยคริสต์ ศตวรรษ ที่ 17 ได้ ชื่อว่ าเป็ นยุคทองแห่ งวรรณกรรมยุโรป มีผลงาน ชิ้นเอกของนักประพันธ์ ชาวอังกฤษและฝรั่งเศสเกิดขึนมากมาย ทีเ่ ด่ นคือ งานเขียนทาง ้ ปรัชญาการเมืองของ จอห์ น ลอค ( John Lock) และผลงานของนักเขียนบทละคร เสี ยดสี สังคมชั้นสู ง ชื่อ โมลิแอร์ ( Moliere)เป็ นต้ น
  • 25. 7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism) ได้ รับความนิยมในยุโรปประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 18 อันเป็ นช่ วงการ ปฏิวตใน ั ิ ฝรั่งเศสถึงกลางคริสต์ ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็ นยุคทีมนุษย์เปลียนความรู้สึก ความเชื่อ และ ่ ่ ทัศนคติอย่ างสิ้นเชิง เพราะจากความสํ าเร็จในการปฏิวัตและการค้ นพบทางวิทยาศาสตร์ ิ ทําให้ มนุษย์ มความเชื่อมันในเหตุผล มีความสามารถ เฉลียวฉลาด รู้คุณค่ าของความเป็ น ี ่ มนุษย์ เรียกว่ าเป็ นสมัยแห่ งภูมปัญญา ิ
  • 26. 7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism) 1. สถาปัตยกรรม มีการฟื้ นฟูศิลปะคลาสสิ กมาปรับปรุ งใหม่ ให้ เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ ใน สมัยนั้น มีการสะท้ อนเรื่องราวของอารยธรรมโบราณ แสดงความสง่ าของทรวดทรง เน้ นในความสมดุลได้ สัดส่ วน
  • 27. 7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism) 2. ประติมากรรมและจิตรกรรม ประติมากรรมคลาสสิ กใหม่ นิยมลอกเลียนแบบประติมากรรมของ กรีก-โรมัน ส่ วนจิตรกรรรมเน้ นในเรื่องเส้ นมากกว่ าการให้ สี แสดงออกให้ เห็นถึง ความสง่ างาม และยิงใหญ่ ในความเรียบง่ าย คล้ายกับผลงานของกรีกโบราณ ่
  • 28. 7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism) 3. นาฏกรรม ในสมัยนีได้ รับอิทธิพลจากการละครของกรีก ซึ่งต้ องการแสดงความ ้ สมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งมันทีจะสั่ งสอนนอกเหนือจากการให้ ความเพลิดเพลิน ่ ่ ฝรั่งเศสเป็ นชาติแรกทีเ่ ขียนบทละครคลาสสิ กเมือประมาณกลางคริสตศตวรรษที่ 17 ่
  • 29. 7.2 ลัทธิคลาสสิคใหม่ (Neoclassicism) 4.ดนตรี Wolfgang Amadeus Mozart สมัยนีนิยมเนือเรื่องทีแสดงออกด้ าน ้ ้ ่ ความคิดเห็น และในเรื่องของความเสมอภาคตาม ทัศนะของนักเขียนสมัยภูมปัญญา นอกจากนี้ ิ ความคิดทีเ่ ชื่อมันในเหตุผล สติปัญญา และ ่ ความสามารถของมนุษย์ ก็มบทบาททีทาให้ การ ี ่ ํ แต่ งเพลงมีอสระมากขึน นักประพันธ์ ทมชื่อเสี ยง ิ ้ ี่ ี สมัยคลาสสิ กได้ แก่ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ ต (Wolfgang Amadeus Mozart ค.ศ.1756-1791)
  • 30. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ อยู่ระหว่ างปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 18 ถึงกลางคริสต์ ศตวรรษที่ 19 เน้ น อารมณ์ และความรู้สึกภายใน เนื่องจากผู้คนเริ่มเบื่อหน่ ายการใช้ เหตุผล และต้ องการ กลับไปชื่นชมความงามของธรรมชาติ พอใจในเรื่องราวแปลก แตกต่ างออกไปจาก ดินแดนต่ างๆ โดยไม่ คานึงถึงประเพณีนิยม พวกศิลปิ นจะสร้ างงานโดยยึดถืออารมณ์ ํ ฝัน และจินตนาการของตนเป็ นสํ าคัญ และไม่ เห็นด้ วยกับการสร้ างงานทียดถือหลัก ่ึ วิชาการ และเหตุผล
  • 31. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 1. สถาปัตยกรรม มีการนํารูปแบบสถาปัตยกรรมในอดีตมาดัดแปลงตามจินตนาการ เพือให้ เกิดผล ่ ทางด้ านอารมณ์ ส่ วนใหญ่ จะได้ รับอิทธิพลจากสถาปัตกรรมแบบกอทิก
  • 32. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 2. ประติมากรรม ประติมากรรมจินตนิยมเน้ นการแสดงอารมณ์ ความรู้สึก และแนวความคิดประติมากร จินตนิยมทีมชื่อเสี ยงของฝรั่งเศส ได้ แก่ ฟรองซัว รูเด(Francois Rude ่ ี ค.ศ.1784-1855) ผู้ป้ันประติมากรรมนูนสู งมาร์ ซายแยส(Marseillaise) ประดับ ฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย(Arch of Triumph)ในกรุ งปารีส
  • 33. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 3. จิตรกรรม มีการจัดองค์ ประกอบด้ วยสี เส้ น แสงเงา และปริมาตรค่ อนข้ างรุนแรง มุ่งให้ เกิดความ สะเทือนอารมณ์ คล้อยตามไปกับจินตนาการทีเ่ ต็มไปด้ วยความเพ้ อฝัน แปลกประหลาด ตืนเต้ นเร้ าใจ ความรุ นแรง และความน่ าหวาดเสี ยวสยดสยอง จิตรกรคนสํ าคัญของฝรั่งเศส ่ ได้ แก่ เออชอน เดอลา-กรัวซ์ (Eugene Delacroix ค.ศ.1798-1863) ผู้เขียนภาพ อิสรภาพนําประชาชน(Liberty leading the people) เขียนจากเหตุการณ์ นอง เลือดเมือประชาชนลุกฮือขึนโค่ นบัลลังก์ราชวงศ์ บูร์บง ทีเ่ กิดเมือ ค.ศ.1830 ่ ้ ่ ภาพ 3 พฤษภาคม 1808 โดย โกยา Francisco Goya ( ค.ศ.1814 ) เป็ นภาพแสดงเหตุการณ์ปฏิวติในฝรั่งเศส ั
  • 34. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ (ซ้าย ) เออชอน เดอลา-กรัวซ์(Eugene Delacroix ค.ศ.1798-1863) ผูเ้ ขียนภาพอิสรภาพนําประชาชน(Liberty leading the people)(ขวา)
  • 35. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ ภาพ การอับปางของแพเมดูซา โดย เจริโคท์ Theodore Gericault ( ค.ศ.1819) เรื่องราวที่เขียนเกิดจากการได้ รับทราบเหตุการณ์ การประสบอุบัตเิ หตุเรือแตกของเรือลําหนึ่ง โดยมีผ้รอดชีวตจํานวน ิ ู หนึ่งต้ องเผชิญกับภัยอย่ างอ้างว้ างบนแพอันจํากัด กลางท้ องทะเลแห่ งคลืนลมและความหิว ่
  • 36. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 4. ดนตรี ดนตรีแนวจินตนิยมไม่ ได้ แต่ งเพือฟังเพลิดเพลินอย่าง ่ เดียว แต่ มจุดมุ่งหมายทีจะเร้ าความรู้ สึกทางจิตใจด้ วย ี ่ เช่ น ความรู้ สึกชาตินิยม โน้ มน้ าวจิตใจผู้ฟังให้ คล้ อยตาม นักแต่ งเพลงจินตนิยมทีมชื่อเสี ยงได้ แก่ ลุดวิก ฟาน บี ่ ี โทเฟน(Ludwig van Beethoven ค.ศ.17701827) , ฟรานซ์ ชู เบิร์ต(Franz Schubert ค.ศ.1797-1828) เป็ นต้ น Ludwig van Beethoven Franz Schubert
  • 37. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 5. การละคร นิยมแสดงเรื่องทีตวเอกประสบปัญหาอุปสรรค หรือ ่ ั มีข้อขัดแย้ งในชีวตอย่างสาหัส ซึ่งจะดึงอารมณ์ ของ ิ ผู้ชมให้ เอาใจช่ วยตัวเอก การเขียนบทไม่ เคร่ งครัดใน ระเบียบแบบแผนอย่างละครคลาสสิ ก ละครแนว จินตนิยมกําเนิดในเยอรมนี บทละครทียงใหญ่ ทสุด ่ ิ่ ี่ คือ เรื่องเฟาสต์ (Faust)ของโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ(Johanne Wolfgang von Goethe ค.ศ.1749-1832) Johanne Wolfgang von Goethe
  • 38. 7.3 ลัทธิจนตนิยม (Romanticism) ิ 6. วรรณกรรม เน้ นจินตนาการ และอารมณ์ และถือว่ าควมต้ องการของผู้ประพันธ์ สําคัญกว่ าความ ต้ องการของคนในสั งคม บทร้ อยกรองประเภทคีตกานต์ (lyric) ซึ่งเป็ นโคลงสั้ นๆ แสดงอารมณ์ ของกวีได้ รับความนิยมสู งสุ ดในสมัยนี้ กวีคนสํ าคัญของอังกฤษ คือ วิลเลียม เวิดส์ เวิร์ท(William wordsworth ค.ศ.1770-1850) และ แซมวล เทย์ เลอร์ โคลริดจ์ (Samuel Taylor Colridge ค.ศ.1772-1834) กวีทยงใหญ่ ทสุด ี่ ิ่ ี่ ของฝรั่งเศส คือ วิกเตอร์ -มารี อูโก(Victor Marie Hugo ค.ศ.1802-1885) นอก จาแต่ งโคลงแล้ ว ยังแต่ งบทละครและนวนิยาย นวนิยายทีมชื่เสี ยงมาก คือ เหยืออธรรม ่ ี ่ (Les Miserables)
  • 39. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) ตั้งแต่ ปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้ นมา เป็ นสมัยแห่ งความเจริญทาง เทคโนโลยีและความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ สั งคมของยุโรปเปลียนแปลงไปอย่าง ่ รวดเร็ว การใช้ ระบบเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นแบบทุนนิยม ทําให้ เกิดความขัดแย้งระหว่ างกรรมกร กับนายทุน ขณะเดียวกันก็เกิดแนวความคิดแบบสั งคมนิยม ซึ่งต่ อต้ านระบบนายทุน ต้ องการให้ ชนชั้นแรงงานเป็ นเจ้ าของปัจจัยการผลิตและมีอานาจทางสั งคมและการเมือง ํ อย่างไรก็ตามชนชั้นกลางหรือนายทุนก็ยงสามารถรักษาสถานภาพและอํานาจในสั งคม ั ของตนไว้ ได้ ความเปลียนแปลงเหล่านีทาให้ แนวความคิดทางศิลปะหันเหจากแนว ่ ้ ํ จินตนิยมมาเป็ นแนวสั จนิยม ซึ่งเป็ นแนวความคิดทีต้ังอยู่บนพืนฐานความเป็ นจริงของ ่ ้ ชีวต โดยต้ องการให้ เห็นว่ าโลกทีแท้ จริงไม่ ได้ งดงามตามแบบที่พวกจินตนิยมเชื่อถือกัน ิ ่ ชีวตต้ องดินรนต่ อสู้ มีการเอารัดเอาเปรียบและการขัดแย้ งกันระหว่ างชนชั้นในสั งคม ิ ้
  • 40. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) ลักษณะเด่ นของสัจนิยม คือ การแสดงให้ เห็นสภาพทีเ่ ป็ นจริงของสั งคม เปิ ดโปงความ ชั่วร้ ายของพวกนายทุน และความไม่ ยุตธรรมทีกลุ่มผู้ใช้ แรงงานได้ รับ มักจะเน้ นชีวต ิ ่ ิ ของพวกกรรมกรทีทุกข์ ยาก ชุมชนแออัด ความสั บสนวุ่นวายในเมือง สภาพของคนที่ ่ ยากไร้ การเอารัดเอาเปรียบของกลุ่มคนทีมฐานะดีกว่ า ส่ วนมากจะเป็ นรายละเอียดของ ่ ี ชีวตประจําวันทุกด้ านตามความเป็ นจริง พวกสั จนิยมไม่ นิยมเรื่องประวัตศาสตร์ เรื่อง ิ ิ จินตนาการเพ้อฝัน และไม่ มองโลกในแง่ ดเี หมือนพวกจินตนิยม นอกจากนียงเสนอ ้ั ผลงานอย่ างตรงไปตรงมาและเป็ นกลาง
  • 41. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 1. ด้ านสถาปัตยกรรม เนื่องจากอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจขยายตัวอย่ างรวดเร็ว จึงมีการสร้ างโรงงานขนาด ใหญ่ อาคารสํ านักงานทีสูงหลายๆชั้นกันมาก การก่อสร้ างอาคารจะนําวัสดุทเี่ กิดจาก ่ เทคโนโลยีใหม่ ๆมาใช้ เช่ น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ แทนอิฐ ไม้ เหมือนแต่ ก่อน อาคารส่ วน ใหญ่ เป็ นลักษณะเรียบง่ าย ให้ ใช้ ประโยชน์ ได้ มากทีสุดในเนือทีจํากัด การออกแบบจึง ่ ้ ่ ต้ องสอดคล้ องกับประโยชน์ ใช้ สอย แต่ ในขณะเดียวกันก็ต้องมีความงามทางศิลปะด้ วย
  • 42. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 2. ประติมากรรม นิยมปั้นและหล่อรู ปคนมีรูปร่ างสั ดส่ วนเหมือนคนจริง ผิวรูปปั้นหยาบ ไม่ เรียบ เมือมีแสง ่ ส่ องกระทบจะเห็นกล้ามเนือชัดเจน ศิลปิ นคนสํ าคัญ คือ โอกูสต์ โรแดง (August ้ Rodinค.ศ.1840-1917) ซึ่งเป็ นประติมากรทีสําคัญทีสุดคนหนึ่งของฝรั่งเศสและของ ่ ่ โลก ผลงานชิ้นเอก เช่ น นักคิด (The Thinker) หล่อด้ วยสํ าริด โอกูสต์ โรแดง (August Rodinค.ศ.1840-1917)
  • 44. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 3.จิตรกรรม มักสะท้ อนสภาพชีวตจริงของมนุษย์ ในด้ านลบ เช่ น ชีวตคนชั้นตําตามเมืองใหญ่ ๆ ชีวต ิ ิ ่ ิ ชาวไร่ ชาวนาทียากไร้ ในชยบท ศิลปะสั จนิยมมีกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส จากการริเริ่มของ ่ ํ กูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet ค.ศ. 1819-1877) ซึ่งยึดหลักการสร้ างงานให้ เหมือนจริงและเป็ นจริงตามทีตาแลเห็น ่ ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ ภาพร่ อนข้ าวโพด The Corn Sifters วาดโดย กุสตาฟ คูร์เบท์ Gustave Courbet ค.ศ.1855
  • 45. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ ภาพคนเก็บข้ าวตก The Gleaners วาดโดย ฌอง ฟรังซัวส์ มิล์เลท์ Jean-Francois Millet ค.ศ.1857
  • 46. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 4.ดนตรี สมัยปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 19 และต้ นคริสต์ ศตวรรษที่ 20 มีการแต่ งเพลงรูปแบบใหม่ ไม่ ยึดถือแบบเก่ าทีเ่ คยมีมา ตามความคิดทีว่าดนตรีต้องประกอบด้ วยสี สันและจังหวะ ไม่ มี ่ รูปแบบตายตัวหรือหล่ออกมาเป็ นแบบประเพณี นักแต่ งเพลงทีมชื่อเสี ยงในยุคนี้ ได้ แก่ โค ่ ี ลด เดอบูชี นักแต่ งเพลงชาวฝรั่งเศส(Claude Debussy ค.ศ.1862-1918 ) , อี กอร์ สตราวีนสกี นักแต่ งเพลงชาวรัสเซีย(Igor Stravinsky ค.ศ. 1882-1971) Igor Stravinsky Claude Debussy
  • 47. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 5.การละคร มักสะท้ อนภาพสั งคมหรือภาพชีวตในแง่ มุมต่ างๆ การแสดงสมจริงเป็ นธรรมชาติ บท ิ เจรจาใช้ ภาษาเหมาะแก่สภาพและฐานะตัวละคร บทละครเขียนเป็ นร้ อยแก้ว ผู้บุกเบิก ละครแนวใหม่ นี้ คือ เฮนริก อิบเซน นักแต่ งบทละครชาวนอร์ เวย์ ผู้แต่ งเรื่อง บ้ านตุ๊กตา (A Doll’s House)(Henrik Ibsen ค.ศ 1828-1906) , จอร์ จ เบอร์ นาร์ ด ชอว์ นักแต่ งบทละครชาวอังกฤษ เรื่องเอกของชอว์ ได้ แก่ Arms and the Man George Bernard Show Henrik Ibsen
  • 48. 7.4 ลัทธิสัจนิยม(Realisticism) 6.วรรณกรรม เน้ นข้ อเท็จจริงมากกว่ าอารมณ์ ความรู้สึก โดยพยายามสะท้ อนภาพการต่ อสู้ ดนรนของ ิ้ มนุษย์ ในสั งคม ความเห็นแก่ตว การแข่ งขันเอารัดเอาเปรียบ ความยากจน และชีวตทีไร้ ั ิ ่ ความหวัง มักจะบรรยายสภาพความเป็ นอยู่ทแร้ นแค้ นของชุมชนแออัด ความชั่วร้ าย ี่ จอมปลอมของชนชั้นกลาง มนุษย์ทตกเป็ นเหยือของโชคชะตา วรรณคดีแนวนีเ้ กิดขึนครั้ง ี่ ่ ้ แรกในฝรั่งเศส นักเขียนทีมอทธิพลได้ แก่ โอโรเน เดอ บัลชัก (Honore de ่ ีิ Balzac ค.ศ. 1799-1850) และ กูสตาฟว์ โฟลแบร์ (Gustav Flaubert ค.ศ 1821-1880) ส่ วนในอังกฤษ ทีรู้ จักกันดีคอ ชาลส์ ดิกเกนส์ (Charles Dickens ่ ื ค.ศ. 1812-1870) ผู้เขียนนวนิยายเรื่อง Oliver Twist ซึ่งชี้ให้ เห็นสภาพทีน่าสงสาร ่ ของคนจนและชนชั้นตําในสั งคม และงานชิ้นนีเ้ องทีมส่วนให้ เกิดการปฏิรูปสั งคมใน ่ ่ ี อังกฤษในเวลาต่ อมา
  • 50. รายชื่อผู้จัดทํา 1. นางสาว ชญานิศ กฤษณยรรยง ม.6.7 เลขที่ 15 2. นางสาว ธชธร ลีลามหานนท์ ม.6.7 เลขที่ 20