SlideShare a Scribd company logo
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
ความหมายของการ “การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์”

      การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ คือ การพัฒนาความเจริญก้าวหน้าใน
 วิทยาการของโลกตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการค้นคว้าแสวงหา
 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ โลก และจักรวาล ทาให้ความรู้ทาง
 วิทยาศาสตร์เจริญรุ่งเรือง เป็นผลให้ชาติตะวันตกพัฒนาความ
 เจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์

        - การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในความสามารถของ
ตน มีอิสระทางความคิด หลุดพ้นจากอิทธิพลการครอบงาของคริสต์จักร และ
มุ่งมั่นที่จะเอาชนะธรรมชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของ
ตนให้ดีขึ้น
        - การพัฒนาเทคโนโลยีในดินแดนเยอรมันตอนใต้ โดยเฉพาะการ
ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบใช้วิธีเรียงตัวอักษรของกูเตนเบิร์ก ในปี ค.ศ.1448
ทาให้สามารถพิมพ์หนังสือเผยแพร่ความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง
        - การสารวจทางทะเลและการติดต่อกับโลกตะวันออก ตั้งแต่
คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ทาให้อารยธรรมความรู้ต่าง ๆ จาก
จีน อินเดีย อาหรับ และเปอร์เชีย เผยแพร่เข้ามาในสังคมตะวันตกมากขึ้น
ความสาคัญของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์

   ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในสติปัญญาและความสามารถของตน เชื่อมั่นใน
    ความมีเหตุผล และนาไปสู่การแสวงหาความรู้โดยไม่มีสิ้นสุด

   ก่อให้เกิดความรู้และความเจริญก้าวหน้าในวิทยาการด้านต่าง ๆ และ
    ทาให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นศาสตร์ที่มีความสาคัญ โดยเน้นศึกษา
    เรื่องราวของธรรมชาติ

   ทาให้เกิดการค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรู้ด้านต่าง ๆ ซึ่งนาไปสู่
    การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง และเป็นพืนฐานของการ
                                                        ้
    ปฏิวัติอุตสาหกรรมในสมัยต่อมา
   ทาให้ชาวตะวันตกมีทัศนคติเป็นนักคิด ชอบสังเกต ชอบซักถาม ชอบ
    ค้นคว้าทดลอง เพื่อหาคาตอบ และนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
    ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวต
                           ิ

   ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในความคิดของความก้าวหน้า กล้าที่จะตั้งคาถามและ
    แสวงหาคาตอบในด้านต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก
การปฏิวัตทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก
              ิ

        การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก เป็นการค้นพบ
ความรู้ทางดาราศาสตร์ ทาให้เกิดคาอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นการท้าทายความเชื่อดั้งเดิมของคริสต์
ศาสนา สรุปได้ดังนี้
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส ( NICHOLAUS COPERNICUS )

   การค้นพบทฤษฏีระบบสุรยจักรวาลของนิโคลัส โคเปอร์นิคัส
                            ิ
    ( nicholaus Copernicus ) ชาวโปแลนด์ ในต้นคริสต์ศตวรรษ
    ที่ 17 สาระสาคัญ คือ ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมี
    โลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจรโดยรอบ ทฤษฏีของโคเปอร์นิคัส
    ขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสตจักรอยากมาที่เชื่อว่าโลกเป็น
    ศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณามอย่างรุนแรง แต่ถือว่าเป็น
    ความคิดของโคเปอร์นิคัสเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทาง
    วิทยาศาสตร์ ทาให้ชาวตะวันตกให้ความสนใจเรื่องราวลี้ลับของ
    ธรรมชาติ
กาลิเลโอ กาลิเลอิ (GALILEO GALILEI)

   การประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ ( Telescope ) ของกาลิเลโอ ชาวอิตาลีในปี
    ค.ศ.1609 ทาให้ความรู้เรื่องระบบสุรยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ได้เห็น
                                      ิ
    จุดดับในดวงอาทิตย์ได้สังเกตการณ์เคลือนไหวของดวงดาว และได้เห็น
                                        ่
    พื้นขรุขระของดวงจันทร์ เป็นต้น
โจฮันเนส เนส เคปเลอร์ (JOHANNES KEPLER)
    โจฮัน เคปเลอร์ (JOHANNES KEPLER)

   การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์ ของโจฮันเนส เคปเลอร์
    (Johannes Kepler) ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 สรุปได้
    ว่า เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นรูปเข่หรือรูปวงรี มิใช่
    เป็นวงกลมตามทฤษฎีขอโคเปอร์นิคัส
ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีนักคณิตศาสตร์ 2 คน ได้เสนอ
แนวความคิดเกี่ยวกับวิธีสร้างความรู้เพื่อการศึกษาค้นคว้าทาง
วิทยาศาสตร์ สรุปได้ดังนี้
เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ ( RENE DESCARTES )
    เซอร์ ฟรานซิส เบคอน ( SIR FRANCIS BACON )

   เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ ( Rene Descartes ) ชาวฝรั่งเศส และ
    เซอร์ ฟรานซิส เบคอน ( Sir Francis Bacon ) ชาวอังกฤษ ได้ร่วมกัน
    เสนอหลักการการใช้เหตุผล วิธีการทางคณิตศาสตร์ และการค้นคว้าวิจัย
    มาใช้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

                  (Rene Descartes)
 ความคิดของเดส์การ์ตส์ เสนอว่าเรขาคณิตเป็นหลักความจริง สามารถ
  นาไปใช้สืบค้นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งได้รับความเชื่อถือจาก
  นักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาเป็นอย่างมาก
 ความคิดของเบคอน เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ โดย
  ใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์” เป็นเครื่องมือศึกษา ทาให้วิทยาศาสตร์ได้รับ
  ความสนใจอย่างกว้างขวาง
การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

   การเสนอทฤษฏีการศึกษาค้นคว้าด้วย “ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ” ทาให้
    เกิดความตื่นตัวในหมู่ปัญญาชนของยุโรป มีการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์
    แห่งชาติขึ้นในประเทศต่าง ๆ หลายแห่ง ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17
    เพื่อสนับสนุนงานวิจัย การประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ และ
    แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ทาให้วิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าโดย
    ลาดับ
   ความร่วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์กับนักประดิษฐ์นาไปสู่การพัฒนา
    สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มากมาย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงเป็นรากฐานของ
    ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ จึงมีผู้กล่าวว่ากรปฏิวัติ
    วิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นยุคแห่งอัจฉริยะ (The Age of
    Genius) เพราะมีการค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ เกิดขึ้น
    มากมาย
การค้นพบ “กฎแห่งความโน้มถ่วง” ของนิวตัน
 การค้นพบความรู้หรือทฤษฎีใหม่ของ เซอร์ ไอแซค นิวตัน
  (Sir Isaac Newton) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ในตอนปลายคริสต์
  ศตวรรษที่ 17 มี 2 ทฤษฏี คือ กฎแรงดึงดูดของจักรวาลและกฎแห่งความ
  โน้มถ่วง
 ผลจากการค้นพบทฤษฏีทงสองดังกล่าว ทาให้นักวิทยาศาสตร์สามารถ
                           ั้
  อธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดโลกและดาวเคราะห์จึงหมุนรอบดวงอาทิตย์ และ
  ดวงจันทร์จึงหมุนรอบโลกได้โดยไม่หลุดจากวงโคจร และสาเหตุที่ทาให้
  วัตถุต่าง ๆ ตกจากที่สูงลงสู่พื้นดินโดยไม่หลุดลอยไปในอวกาศ
    ความรู้ที่พบกลายเป็นหลักของวิชากลศาสตร์ ทาให้นักวิทยาศาสตร์เข้า
    ในเรื่องราวของเอกภพสะสาร พลังงาน เวลา และการเคลื่อนตัวของวัตถุ
    ในท้องฟ้า โดยใช้ความรู้และวิธีการทางคณิตศาสตร์ช่วยค้นหาคาตอบ
ผลจากการปฏิวัติวทยาศาสตร์
                             ิ

 ทาให้เกิดความรู้ใหม่แตกแยกออกไปหลายสาขา
 มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อของชาวยุโรป

 นาไปสู่การปฏิวัติทางภูมิปัญญาไทย
รายชื่อสมาชิก
นายทวิน           ใจมาคา          เลขที่3
นายสวิสต์         จันต๊ะคาด       เลขที10
                                        ่
นางสาวจริยา กันทาสุวรรณ์          เลขที่14
นางสาวแพรวพิลาศ ไชยชะนะ           เลขที่25
นางสาวลลิตา ปัญวิยะ               เลขที28 ่
นางสาวหฤหัยรัตน์ จันต๊ะคาด        เลขที่32
        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4

More Related Content

What's hot

เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
tinnaphop jampafaed
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
Taraya Srivilas
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
Phanuwat Somvongs
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
Patt Thank
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
Warinthorn Limpanakorn
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
Ploykarn Lamdual
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 

What's hot (20)

เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 

Similar to การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์

6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
Phudittt
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
วิทยาศาสตร์ วิทย์
วิทยาศาสตร์ วิทย์วิทยาศาสตร์ วิทย์
วิทยาศาสตร์ วิทย์
Aranya01
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
Visanu Euarchukiati
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์Anchalee Dhammakhun
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
ssuserfffbdb
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (20)

6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
วิทยาศาสตร์ วิทย์
วิทยาศาสตร์ วิทย์วิทยาศาสตร์ วิทย์
วิทยาศาสตร์ วิทย์
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์

  • 2. ความหมายของการ “การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์” การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ คือ การพัฒนาความเจริญก้าวหน้าใน วิทยาการของโลกตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการค้นคว้าแสวงหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ โลก และจักรวาล ทาให้ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์เจริญรุ่งเรือง เป็นผลให้ชาติตะวันตกพัฒนาความ เจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
  • 3. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ - การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในความสามารถของ ตน มีอิสระทางความคิด หลุดพ้นจากอิทธิพลการครอบงาของคริสต์จักร และ มุ่งมั่นที่จะเอาชนะธรรมชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของ ตนให้ดีขึ้น - การพัฒนาเทคโนโลยีในดินแดนเยอรมันตอนใต้ โดยเฉพาะการ ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบใช้วิธีเรียงตัวอักษรของกูเตนเบิร์ก ในปี ค.ศ.1448 ทาให้สามารถพิมพ์หนังสือเผยแพร่ความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง - การสารวจทางทะเลและการติดต่อกับโลกตะวันออก ตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ทาให้อารยธรรมความรู้ต่าง ๆ จาก จีน อินเดีย อาหรับ และเปอร์เชีย เผยแพร่เข้ามาในสังคมตะวันตกมากขึ้น
  • 4. ความสาคัญของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์  ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในสติปัญญาและความสามารถของตน เชื่อมั่นใน ความมีเหตุผล และนาไปสู่การแสวงหาความรู้โดยไม่มีสิ้นสุด  ก่อให้เกิดความรู้และความเจริญก้าวหน้าในวิทยาการด้านต่าง ๆ และ ทาให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นศาสตร์ที่มีความสาคัญ โดยเน้นศึกษา เรื่องราวของธรรมชาติ  ทาให้เกิดการค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรู้ด้านต่าง ๆ ซึ่งนาไปสู่ การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง และเป็นพืนฐานของการ ้ ปฏิวัติอุตสาหกรรมในสมัยต่อมา
  • 5. ทาให้ชาวตะวันตกมีทัศนคติเป็นนักคิด ชอบสังเกต ชอบซักถาม ชอบ ค้นคว้าทดลอง เพื่อหาคาตอบ และนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวต ิ  ทาให้มนุษย์เชื่อมั่นในความคิดของความก้าวหน้า กล้าที่จะตั้งคาถามและ แสวงหาคาตอบในด้านต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
  • 7. การปฏิวัตทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก ิ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก เป็นการค้นพบ ความรู้ทางดาราศาสตร์ ทาให้เกิดคาอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นการท้าทายความเชื่อดั้งเดิมของคริสต์ ศาสนา สรุปได้ดังนี้
  • 8. นิโคลัส โคเปอร์นิคัส ( NICHOLAUS COPERNICUS )  การค้นพบทฤษฏีระบบสุรยจักรวาลของนิโคลัส โคเปอร์นิคัส ิ ( nicholaus Copernicus ) ชาวโปแลนด์ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 17 สาระสาคัญ คือ ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมี โลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจรโดยรอบ ทฤษฏีของโคเปอร์นิคัส ขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสตจักรอยากมาที่เชื่อว่าโลกเป็น ศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณามอย่างรุนแรง แต่ถือว่าเป็น ความคิดของโคเปอร์นิคัสเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ ทาให้ชาวตะวันตกให้ความสนใจเรื่องราวลี้ลับของ ธรรมชาติ
  • 9. กาลิเลโอ กาลิเลอิ (GALILEO GALILEI)  การประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ ( Telescope ) ของกาลิเลโอ ชาวอิตาลีในปี ค.ศ.1609 ทาให้ความรู้เรื่องระบบสุรยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ได้เห็น ิ จุดดับในดวงอาทิตย์ได้สังเกตการณ์เคลือนไหวของดวงดาว และได้เห็น ่ พื้นขรุขระของดวงจันทร์ เป็นต้น
  • 10. โจฮันเนส เนส เคปเลอร์ (JOHANNES KEPLER) โจฮัน เคปเลอร์ (JOHANNES KEPLER)  การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์ ของโจฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 สรุปได้ ว่า เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นรูปเข่หรือรูปวงรี มิใช่ เป็นวงกลมตามทฤษฎีขอโคเปอร์นิคัส
  • 11. ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีนักคณิตศาสตร์ 2 คน ได้เสนอ แนวความคิดเกี่ยวกับวิธีสร้างความรู้เพื่อการศึกษาค้นคว้าทาง วิทยาศาสตร์ สรุปได้ดังนี้
  • 12. เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ ( RENE DESCARTES ) เซอร์ ฟรานซิส เบคอน ( SIR FRANCIS BACON )  เรอเนส์ เดส์การ์ตส์ ( Rene Descartes ) ชาวฝรั่งเศส และ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน ( Sir Francis Bacon ) ชาวอังกฤษ ได้ร่วมกัน เสนอหลักการการใช้เหตุผล วิธีการทางคณิตศาสตร์ และการค้นคว้าวิจัย มาใช้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ (Rene Descartes)
  • 13.  ความคิดของเดส์การ์ตส์ เสนอว่าเรขาคณิตเป็นหลักความจริง สามารถ นาไปใช้สืบค้นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งได้รับความเชื่อถือจาก นักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาเป็นอย่างมาก  ความคิดของเบคอน เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ โดย ใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์” เป็นเครื่องมือศึกษา ทาให้วิทยาศาสตร์ได้รับ ความสนใจอย่างกว้างขวาง
  • 14. การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ  การเสนอทฤษฏีการศึกษาค้นคว้าด้วย “ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ” ทาให้ เกิดความตื่นตัวในหมู่ปัญญาชนของยุโรป มีการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์ แห่งชาติขึ้นในประเทศต่าง ๆ หลายแห่ง ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อสนับสนุนงานวิจัย การประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ และ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ทาให้วิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าโดย ลาดับ
  • 15. ความร่วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์กับนักประดิษฐ์นาไปสู่การพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มากมาย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงเป็นรากฐานของ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ จึงมีผู้กล่าวว่ากรปฏิวัติ วิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นยุคแห่งอัจฉริยะ (The Age of Genius) เพราะมีการค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ เกิดขึ้น มากมาย
  • 16. การค้นพบ “กฎแห่งความโน้มถ่วง” ของนิวตัน  การค้นพบความรู้หรือทฤษฎีใหม่ของ เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ในตอนปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 17 มี 2 ทฤษฏี คือ กฎแรงดึงดูดของจักรวาลและกฎแห่งความ โน้มถ่วง  ผลจากการค้นพบทฤษฏีทงสองดังกล่าว ทาให้นักวิทยาศาสตร์สามารถ ั้ อธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดโลกและดาวเคราะห์จึงหมุนรอบดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์จึงหมุนรอบโลกได้โดยไม่หลุดจากวงโคจร และสาเหตุที่ทาให้ วัตถุต่าง ๆ ตกจากที่สูงลงสู่พื้นดินโดยไม่หลุดลอยไปในอวกาศ
  • 17. ความรู้ที่พบกลายเป็นหลักของวิชากลศาสตร์ ทาให้นักวิทยาศาสตร์เข้า ในเรื่องราวของเอกภพสะสาร พลังงาน เวลา และการเคลื่อนตัวของวัตถุ ในท้องฟ้า โดยใช้ความรู้และวิธีการทางคณิตศาสตร์ช่วยค้นหาคาตอบ
  • 18. ผลจากการปฏิวัติวทยาศาสตร์ ิ  ทาให้เกิดความรู้ใหม่แตกแยกออกไปหลายสาขา  มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อของชาวยุโรป  นาไปสู่การปฏิวัติทางภูมิปัญญาไทย
  • 19. รายชื่อสมาชิก นายทวิน ใจมาคา เลขที่3 นายสวิสต์ จันต๊ะคาด เลขที10 ่ นางสาวจริยา กันทาสุวรรณ์ เลขที่14 นางสาวแพรวพิลาศ ไชยชะนะ เลขที่25 นางสาวลลิตา ปัญวิยะ เลขที28 ่ นางสาวหฤหัยรัตน์ จันต๊ะคาด เลขที่32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4