SlideShare a Scribd company logo
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่

การปฏิรูปศาสนา

กาเนิดรัฐชาติ

การปฏิวตทางวิทยาศาสตร์ และการปฏิวตอตสาหกรรม
ั ิ
ั ิุ
เสนอ
อาจารย์ ปรางค์ สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
1. นางสาวจิตรจารี
2. นางสาวพลอยพรรณ

จัดทาโดย
เลิศวิลยวิทยา ม.6.7 เลขที่ 1
ั
วัฒนาศรมศิริ ม.6.7 เลขที่ 7

โรงเรี ยนสตรี วิทยา
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
1. การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) เกิดขึ้นในคริ สต์ศตวรรษที่ 16 มี
สาเหตุสาคัญมาจากความเสื่ อมความนิยมในผูนาทางศาสนาและการเกิดแนวคิดใหม่
้
เกี่ยวกับศาสนา เนื่องจากมีการศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็ นภาษาต่างๆ เช่น
ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ทาให้คริ สต์ศาสนิกชนมีความรู ้ความเข้าใจใหม่
การปฏิรูปศาสนาจึงเกิดขึ้นในหลายๆประเทศ โดยมีผนาการปฏิรูปหลายคนและใช้ชื่อ
ู้
แตกต่างกัน
การปฏิรูปคริสต์ ศาสนา หมายถึง ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและ
สถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล
ั
การปฏิรูปเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดคริ สต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยกเป็ น
2 นิกาย คือโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์
1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา
่
1. ความเป็ นอยูของสันตะปาปาและพระชั้นสู งบางองค์มีความฟุ่ มเฟื อย สะสมทรัพย์
สมบัติไว้ให้ลก และยังเรี ยกเก็บภาษีสูงขึ้นเพื่อนาเงินไปใช้จ่ายในคริ สตจักร มีการซื้ อ
ู
ขายตาแหน่งกัน รวมทั้งชาวยุโรปมีการศึกษาที่สูงขึ้นจึงไม่เชื่อคาสั่งสอนของ
ฝ่ ายศาสนจักร และเกิดความคิดที่จะปรับปรุ งศาสนาให้บริ สุทธิ์
1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
2. สันตะปาปาทรงมีฐานะเป็ นเจ้าผูปกครองฝ่ ายศาสนจักร มีส่วนร่ วมทางการเมืองของ
้
ยุโรปและเข้าไปครอบงารัฐต่างๆ ทาให้เจ้าผูครองแคว้นต่างๆต้องการเป็ นอิสระต้องการ
้
ปฏิรูปศาสนา
3. ศาสนจักรมุ่งเน้นพิธีกรรมมากจนเกินไป ทาให้ประชาชนต้องการทาความเข้าใจใน
หลักธรรมทางศาสนามากขึ้น จนมีนกคิดเสนอว่ามนุษย์ควรเข้าถึงพระเจ้าและทาความ
ั
เข้าใจในคัมภีร์ไบเบิลด้วยตนเองมากกว่าผ่านทางพิธีกรรมของศาสนจักร
1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
4. สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และสันตะปาปาลีโอที่ 10 ต้องการงบประมาณในการก่อสร้าง
มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ จึงส่ งสมณทูตมาขายใบยกบาปในดินแดนเยอรมัน ด้วยภาวะ
ทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทาให้เกิดกลุ่มต่อต้านคริ สตจักรทั้งขุนนาง นักคิด
และปัญญาชนในเยอรมัน

http://www.bloggang.com/viewdiary.php
มหาวิหารเซนต์ ปีเตอร์
จากภาพเขียนโดยวิเวียโน โคดาซซี (Viviano Codazzi)
เมือ ค.ศ. 1630 หอสองหอทีเ่ ห็นในภาพถูกรี้อภายหลัง
่

http://en.wikipedia.org/wiki/Indulgence
การขายใบไถ่ บาป The selling of
indulgencies
1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา
มาร์ ตนลูเทอร์ นักบวชชาวเยอรมันทาการประท้วง
ิ
การขายใบยกโทษบาปด้วยการปิ ดประกาศคาประท้วง 95 ข้อ
โดยลูเทอร์ ได้ประกาศว่า สันตะปาปาไม่ควรเก็บภาษีใน
เยอรมันเพื่อไปสร้างมหาวิหาร และสันตะปาปาไม่ได้เป็ น
บุคคลเพียงผูเ้ ดียวที่นาพามนุษย์ไปสู่ พระเจ้า ประกาศดังกล่าว
ถือว่าเป็ นที่มาของนิกายโปรเตสแตนต์ คาประกาศของเขา
ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างในเยอรมัน
http://www.bloggang.com/viewdiary.ph
p?id=vinitsiri&month=022010&date=15&group=45&gblog=75
มาร์ ตินลูเทอร์
1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
ค.ศ. 1521 มาร์ตินลูเทอร์ ได้รับคาสั่งจากจักรพรรดิชาลส์ที่ 5 แห่งจักรวรรดิ
่
โรมันให้เข้าไปประชุมสภาแห่ งเวิร์ม เขาถูกกล่าวหาจากจักรพรรดิวามีท่าทีเป็ น
ปฏิปักษ์ต่อคริ สต์ศาสนาและเป็ นบุคคลนอกศาสนา แต่เจ้าผูครองแคว้นแซกโซนีได้
้
อุปถัมภ์เขาไว้ และเขาได้แปลคัมภีร์ไบเบิลจากภาษาละตินมาเป็ นภาษาเยอรมัน ทาให้
ความรู ้ทางศาสนาเป็ นที่แพร่ หลายในหมู่ประชาชนเพิมมากขึ้น
่

https://th.m.wikipedia.org/wiki
จักรพรรดิชาลส์ ที่ 5
1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
หลังจากนั้น พวกเจ้านายในเยอรมันได้แบ่งเป็ น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายเหนือ ซึ่ งสนับสนุน
มาร์ตินลูเทอร์ กับฝ่ ายใต้ ซึ่ งสนับสนุนคริ สตจักรโรมันคาทอลิกที่กรุ งโรม ทาให้เกิด
สงครามกลางเมืองขึ้นใน ค.ศ. 1546 ในที่สุดก็มีการสงบศึก โดยการทาสนธิสัญญา
สันติภาพแห่งเอากส์บูร์กใน ค.ศ. 1555 โดยให้เจ้าชายเยอรมันและแคว้นของพระองค์มี
สิ ทธิ ที่จะเลือกนับถือนิกายลูเทอร์ หรื อนิกายโรมันคาทอลิกก็ได้
1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
การปฏิรูปคริ สต์ศาสนาได้ขยายตัวจาก
เยอรมันไปยังประเทศอื่นๆ ผลการปฏิรูปทาง
ศาสนาได้ก่อให้เกิดนิ กายโปรเตสแตนต์ข้ ึน
แบ่งเป็ น 3 นิกายสาคัญคือ
1.นิกายลูเทอร์ แพร่ หลายในเยอรมันและประเทศ
กลุ่มสแกนดิเนเวีย
2.นิกายคาลวิน แพร่ หลายในสวิตเซอร์ แลนด์
ฝรั่งเศส เนเธอร์ แลนด์ และสกอตแลนด์
3.นิกายอังกฤษหรือแองกลิกน เป็ นนิกายประจา
ั
ประเทศอังกฤษ
http://users.humboldt.edu/ogayle/hist110/expl.html
การปฏิรูปคริสต์ ศาสนา
1.3 การปฏิรูปศาสนจักร
เมื่อเกิดการปฏิรูปศาสนาในดินแดนส่ วนต่างๆของยุโรป คริ สตจักรที่กรุ งโรมได้
พยายามต่อต้านปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต่างๆได้แก่
1.ศาสนจักรได้จดการประชุมสังคายนาพระศาสนาที่เมืองเทรนต์ ในค.ศ.1545
ั
โดยมีบทสรุ ปคือ
1) สันตะปาปาทรงเป็ นประมุขของคริ สต์ศาสนา
2) การประกาศหลักธรรมทางศาสนาต้องให้ศาสนจักรเป็ นผูประกาศแก่
้
ศาสนิกชน
3) คัมภีร์ไบเบิลต้องเป็ นภาษาละติน
4) ยกเลิกการขายใบยกโทษบาปและตาแหน่งทางศาสนา มีการกาหนดระเบียบ
วินยมาตรฐานการศึกษาของพระและให้ใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา
ั
1.3 การปฏิรูปศาสนจักร(ต่อ)
2.ศาสนจักรได้ต้ งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา โดยมีการลงโทษ
ั
โดยการเผาคนทั้งเป็ นการต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของคริ สตจักรที่กรุ งโรมนั้นได้ผล
คือ นิกายโรมันคาทอลิกสามารถป้ องกันไม่ให้ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกหันไปนับถือ
นิกายโปรเตสแตนต์เพิ่มขึ้น แต่ไม่สามารถดึงศาสนิกชนโปรเตสแตนต์ให้กลับมานับ
ถือนิกายโรมันคาทอลิกได้

http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=1491
กองฟื นทีเ่ ตรียมไว้ เผาทั้งเป็ นพวกโปรเตสแตนท์ทยอมตายเพือรักษาความเชื่อของตน
ี่
่
1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปก่อให้เกิดผลกระทบ ได้แก่
่
1.คริสตจักรตะวันออกได้ แตกแยกเป็ น 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางอยูที่
กรุ งโรม มีสันตะปาปาเป็ นประมุข กับนิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่ งแยกเป็ นนิกายต่างๆใน
ประเทศทางภาคเหนือของยุโรป ความเป็ นเอกภาพทางศาสนาของยุโรปสิ้ นสุ ดลง
2.เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่ างๆ เช่น กรณี ที่มาร์ตินลูเทอร์ หนุนให้เจ้าผูครองรัฐ
้
ต่างๆ ในเยอรมันต่อต้านจักรพรรดิแห่ งอาณาจักรโรมัน ผูที่นบถือนิกายคาลวินใน
้ ั
เนเธอร์ แลนด์ ส่ วนที่เป็ นเจ้าของสเปนต่อต้านกษัตริ ยสเปนจะได้รับเอกราช
์
1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
3.เกิดการแข่งขันระหว่างนิกายต่างๆ มีการปรับปรุ งสิ่ งที่บกพร่ องเพื่อเรี ยกศรัทธาและ
่
ก่อให้เกิดขันติธรรมในการอยูร่วมกับผูนบถือนิ กายต่างกัน
้ ั
4.สภาพสังคมเปลี่ยนไป นิกายโปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการประกอบอาชีพ
ด้านการค้าและอุตสาหกรรม ทาให้ระบบทุนนิยมในยุโรปเจริ ญเติบโต
5.ระบบรัฐชาติแข็งแรงขึ้น การเกิดนิกายโปรเตสแตนต์ได้ส่งเสริ มวัฒนธรรมของ
แต่ละท้องถิ่น เช่น การแปลคัมภีร์เป็ นภาษาท้องถิ่น และยังส่ งเสริ มอานาจของ
ผูปกครอง ได้แก่ กษัตริ ยในฐานะตัวแทนของพระเป็ นเจ้าในการปกครองประเทศ
้
์
จึงเท่ากับส่ งเสริ มระบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ)
6.ผลของการแตกแยกทางศาสนา ทาให้เกิดสงครามศาสนาขึ้นในยุโรปหลายครั้ง เช่น
สงครามศาสนาในเยอรมนี(1546-1555) สงครามศาสนาในประเทศฝรั่งเศส (1562-1589)
สงครามสามสิ บปี (1618-1648) การเกิดสงครามศาสนาทาให้สถาบันกษัตริ ยมีอานาจ
์
เหนือคริ สตจักร เพราะสันตะปาปาต้องอาศัยอานาจของกษัตริ ยที่นบถือคาทอลิก
์ ั
ทาการต่อต้านกษัตริ ยที่นบถือโปรเตสแตนด์
์ ั

http://th.wikipedia.org/wiki/
สงครามศาสนาในประเทศฝรั่งเศส เหตุการณ์ สังหารหมู่
วันเซนต์ บาร์ โธโลมิว
2. กาเนิดรัฐชาติ
รัฐชาติ เป็ นการรวมกลุ่มคนตามสภาพทางภูมิศาสตร์ และตามเชื้อชาติ
คนในชาติพดภาษาเดียวกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณี คล้ายคลึงกัน
ู
จึงมีความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
2.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ
2.1.1 การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้ า
การเปิ ดเส้นทางการเดินเรื อใหม่ๆ ทาให้เครื อข่ายการค้าขยายตัวขึ้น โดยเพิ่มทั้ง
ด้านระดับการค้า ปริ มาณและชนิดของสิ นค้า ทาให้ทองคาและเงินได้หลังไหลเข้าสู่
่
ดินแดนยุโรป กษัตริ ยจึงมีเงินนาไปสร้างเป็ นฐานอานาจทางการเมืองและการทหารใน
์
การรวมชาติ

http://jjxxsb.gog.com.cn/system/2008/02/28/010222774.shtml
เงินจากหลายประเทศ
2.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ(ต่อ)
2.1.2 ความเสื่ อมของขุนนาง
ช่วงต้นสมัยใหม่ ขุนนางในระบบฟิ วดัลอ่อนแอลงและหมดสิ้ นเงินจานวนมาก
จากการรบในสงครามครู เสด ประกอบกับภาวะเงินเฟ้ อทาให้ขนนางต้องขายทรัพย์สิน
ุ
ั
่
ให้กบพ่อค้า ขุนนางจึงยากจนลงจนไม่สามารถสะสมกาลังในการสร้างความวุนวายให้
กษัตริ ย ์ แต่กลับต้องพึ่งการอุปถัมภ์ของกษัตริ ยแทน และได้กลายเป็ นข้าราชบริ พารของ
์
กษัตริ ย ์ ซึ่ งเป็ นการเพิมอานาจของกษัตริ ยให้มากขึ้น
์
่

http://th.wikipedia.org/wiki/
สงครามครู เสด
2.1 ปั จจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ(ต่อ)
2.1.3 ความสานึกในการสร้ างชาติ
ความสานึกในการสร้างชาติเกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ภาษาของตนในดินแดนต่างๆ เช่น สเปน
โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ แทนภาษาละตินที่เคยใช้มาแต่เดิม การมีภาษาของตนเองทา
ให้เกิดความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อชาติของตนในเวลาต่อมา
2.2 กาเนิดระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
ประเทศฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปนและอังกฤษเกิดการล่มสลายของระบบฟิ วดัล
มีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ มีระบบการบริ หารรวมศูนย์กลางอานาจ
ไว้ที่ส่วนกลาง ประชาชนก็ยนยอมและจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ยที่เป็ นประมุข
ิ
์

http://www.thaigoodview.com/library/c
ontest2552/type2/social04/18/middleages
/feudal_system_i.html
ระบอบฟิ วดัล (Feudalism)
3. การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ และ
ั
การปฏิวตอุตสาหกรรม
ั ิ
3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
ั
3.1.1 สภาพภูมหลังของการปฏิวัตทางวิทยาศาสตร์
ิ
ิ
งานด้านวิทยาศาสตร์ เป็ นที่สนใจของชาวตะวันตกมาตั้งแต่สมัยกลางแล้ว วิชา
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่น ดาราศาสตร์ กลศาสตร์ ได้ถกนามาบรรจุในหลักสู ตรการสอน
ู
ในมหาวิทยาลัยตะวันตกตั้งแต่สมัยคริ สต์ศตวรรษที่ 12-13
3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)(ต่อ)
ั

นอกจากนี้ชาวตะวันตกได้คนพบคุณสมบัติของเลนส์และนามาทาเป็ น
้
ส่ วนประกอบของกล้องส่ องทางไกลและกล้องดูดาวช่วยในการเดินเรื อ
ในที่สุดก็สามารถพัฒนาเครื่ องมือในการวัดและการคานวณอย่างแม่นยาซึ่ งช่วย
แก้ปัญหาในการเดินเรื อ
3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)(ต่อ)
ั
วิทยาศาสตร์ ยงทาให้ชาวตะวันตกเริ่ มเป็ นกบฏทางความคิดต่ออานาจเหนือ
ั
ธรรมชาติของพระเป็ นเจ้าตามคาสั่งสอนของคริ สต์ศาสนา วิธีการศึกษาทาง
วิทยาศาสตร์ ทาให้ประชาชนต้องการหาคาตอบให้แก่ความลี้ลบของธรรมชาติที่
ั
สามารถอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ได้
3.1.2 นักวิทยาศาสตร์
นิโคเลาส์ โคเพอร์ นิคส ชาวโปแลนด์ ได้ใช้ความรู้ทางคณิ ตศาสตร์อธิบาย
ั
ระบบสุ ริยจักรวาล ว่าโลกไม่ได้หยุดนิ่ งหรื อเป็ นศูนย์กลางของระบบสุริยจักรวาลแต่
ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมทั้งโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่ งทฤษฎีน้ ีเป็ นการล้มล้างคาสอน
ของศาสนจักรในสมัยกลาง และล้มความเชื่อตั้งแต่สมัยกรี กโดยงานของอริ สโตเติลและ
โตเลมี

http://www.thetooi.com/1866-nicolaus-copernicus
นิโคเลาส์ โคเปอร์ นิคส
ั

http://scientistsofworld.blogspot.com/2009/12/nicolaus-copernicus.html
ระบบสุ ริยะจักรวาล
กาลิเลโอ กาลิเลอิ ชาวอิตาลีได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์เพื่อสังเกตดูการ
เคลื่อนไหวของดวงดาว เขาได้รวบรวมผลการสารวจนับสิ บปี ของเขาพิมพ์หนังสื อ
เผยแพร่ เพื่อโต้แย้งความคิดเกี่ยวกับจักรวาลวิทยาของกรี ก ซึ่ งแนวคิดของเขาขัดกับ
คาสอนของคริ สตจักร เข้าจึงถูกศาสนจักรลงโทษด้วยการประณามและถูกข่มขู่ต่างๆ
นานา

http://www.thaigoodview.com/library/students
how/2549/m6-6/no03-07/person/sec01p32.html
กาลิเลโอ กาลิเลอิ

http://www.oknation.net/blog/buzz/2009/08/25/entry-2
กล้องดูดาวแบบกาลิเลโอ" (Galileo's Telescope)
เรื่องน่ ารู้

กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็ น "บิดาแห่ง
วิทยาศาสตร์ ยคใหม่“ ได้ทาการทดลองครั้งสาคัญใน
ุ
ปี 1591 (ที่ต่อมาภายหลังได้รับการยอมรับและมีชื่อเสี ยง
่
มาก) เพื่อพิสูจน์วาทฤษฎีการตกของวัตถุที่นาเสนอโดย
อริ สโตเติลนั้นไม่ถกต้อง โดยอริ สโตเติลได้นาเสนอว่า
ู
วัตถุที่มีมวลต่างกัน เมื่อปล่อยให้ตกลงมา วัตถุที่หนัก
จะตกถึงพื้นก่อน
กาลิเลโอได้ทาการปล่อยวัตถุที่มีมวลต่างกัน 2 ชิ้น
จากยอดหอเอนปิ ซา ในเวลาพร้อมกัน ซึ่ งวัตถุดงกล่าว
ั
ดังกล่าว ได้ตกลงมาภายใต้แรงโน้มถ่วงโลก และถึงพื้น
่
เกือบจะพร้อมๆ กัน ซึ่ งเป็ นการพิสูจน์วาความคิดของ
อริ สโตเติลนั้นไม่ถกต้อง
ู

http://www.space.mict.go.th/astronomer.php?name=galileo
การปล่อยวัตถุทมมวลต่ างกัน 2 ชิ้น จากยอดหอเอนปิ ซา
ี่ ี
เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปราชญ์ชาวอังกฤษ
ได้วางรากฐานและทัศนคติใหม่ เกียวกับวิทยาศาสตร์
่
ได้กระตุนให้ชาวอังกฤษและรัฐบาลมายอมรับ
้
ความสาคัญของงานด้านวิทยาศาสตร์และเป็ น
แรงบันดาลใจให้ต้ งราชบัณฑิตยสมาคมเพื่อส่ งเสริ ม
ั
งานค้นคว้าด้านวิทยาศาสตร์
http://www.baanjomyut.com/library_2/philosopher/01.html
เซอร์ ฟรานซิส เบคอน

เรอเน เดการ์ ต นักปรัชญาและ
นักคณิ ตศาสตร์ได้นาหลักคณิ ตศาสตร์
โดยเฉพาะเรขาคณิตมาพิสูจน์ และตรวจสอบ
ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับระบบจักรวาล

http://dieulux.exteen.com/20090818/il-pense-donc-il-est
เรอเน เดการ์ ต
เซอร์ ไอแซก นิวตัน ชาวอังกฤษ ค้นพบกฎแรงดึงดูดของจักรวาล และ
กฎแห่งแรงโน้มถ่วง โดยอาศัยหลักคณิ ตศาสตร์ ของเดการ์ ตและแนวทางการศึกษาของ
เคปเลอร์และกาลิเลโอ หนังสื อของนิวตันเป็ นที่รู้จกในชื่อ The Mathematical Priciples
ั
of Natural Knowledge นอกจากนี้นิวตันได้ทาให้นกวิทยาศาสตร์เข้าใจเรื่ องของจักรวาล
ั
สสาร พลังงานตลอดจนการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่ งต่อมาเป็ นหัวใจแห่ งวิชากลศาสตร์
อีกด้วย

http://www.oknation.net/blog/kanteen/2012/09/20/entry-1
เซอร์ ไอแซก นิวตัน
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)
ั
ในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 18 เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิธีการและระบบผลิต
ดั้งเดิมจากการใช้แรงงานของคน สัตว์ และพลังงานธรรมชาติ มาเป็ นการใช้เครื่ องมือ
และเครื่ องจักรกลในระบบโรงงานแทนระบบการจ่ายงานให้ไปทาตามบ้าน เพื่อผลิต
สิ นค้าชนิดเดียวกันจานวนมาก

http://www.philadelphia-reflections.com/images/indust.jpg
เครื่องจักรกลในระบบโรงงาน
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
กระบวนการผลิตแบบโรงงานดังกล่าวนี้ ทาให้เกิดระบบอุตสาหกรรมนิยม
(Industrialism) ขึ้น หรื อเรี ยกว่า การปฏิวตอุตสาหกรรม ซึ่ งเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่
ั ิ
ต่อเนื่องเป็ นเวลานานนับศตวรรษ โดยเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ และยังคง
เกิดขึ้นจนถึงปั จจุบน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตและแบบแผนความเป็ นอยู่
ั
ของมนุษย์ทุกมุมโลกจากสังคมเกษตรกรรมเป็ นสังคมกึ่งเกษตรกรรม กึ่งอุตสาหกรรม
หรื อสังคมอุตสาหกรรม และมีผลกระทบให้โลกเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงและ
รวดเร็ วกว่ายุคใดๆ ในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ ทั้งทางกายภาพ สิ่ งแวดล้อม และ
ระบบนิเวศ
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
3.2.1 สาเหตุของการปฏิวติอุตสาหกรรมในอังกฤษเป็ นประเทศแรก
ั

1. การปฏิวติเกษตรกรรม เกิดจากการนาเอาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาการมา
ั
ปรับปรุ งการเกษตรกรรมให้ได้ผลดีข้ ึน โดยเริ่ มต้นประมาณกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 16
รัฐบาลออกพระราชบัญญัติลอมเขตที่ดิน มาใช้ในการปรับปรุ งเพิมผลผลิตทางการเกษตร
้
่
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ยงทาให้สามารถนาเอาวิธีการเกษตรกรรมแบบใหม่ๆ
ั
มาช่วยในการปรับปรุ งวิธีการทานาให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
่
การปฏิวติเกษตรกรรมจึงทาให้องกฤษมี
ั
ั
ความรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นอันมาก และมี
อาหารอุดมสมบูรณ์เพียงพอที่จะเลี้ยงดู
ประชากรทั้งประเทศ โดยเฉพาะประชากรใน
เขตเมืองที่จะเป็ นแรงงานสาคัญต่อการพัฒนา
ระบบอุตสาหกรรมของประเทศ
http://th.wikipedia.org/wiki
การปฏิวติเกษตรกรรมในอังกฤษ
ั

นอกจากนี้องกฤษได้จดตั้งธนาคารแห่ งอังกฤษขึ้น ทาให้นครลอนดอนเป็ น
ั
ั
ศูนย์กลางทางการเงินที่สาคัญของยุโรป และเป็ นแหล่งระดมเงินทุนของรัฐบาลที่ให้
การสนับสนุนความก้าวหน้าทางวิทยาการ
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
2. คุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของชาวอังกฤษ คือ กล้าได้กล้าเสี ย และกระตือรื อร้นต่อ
ความเปลี่ยนแปลงต่างๆอันเป็ นผลมาจากอิทธิ พลของคริ สต์ศาสนานิ กายอังกฤษ
ชาวอังกฤษโดยทัวไปมีความเชื่อว่า ความมังคังทางโภคทรัพย์เป็ นความสาเร็ จสู งสุ ด
่
่ ่
ของชีวตที่ทุกคนต้องปฏิบติ เพื่อชื่อเสี ยง เกียรติยศของตนเองและครอบครัว ทัศนคติ
ิ
ั
ทางวัตถุธรรมดังกล่าวจึงทาให้ชาวอังกฤษโดยทัวไปเห็นการค้าขายเป็ นงานมีเกียรติ
่
พร้อมจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงใดๆ ถ้าจะทาให้ฐานะทางเศรษฐกิจของตนมังคัง
่ ่
และมันคงยิงขึ้น
่ ่
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
3. การขยายตัวของตลาดการค้ า นโยบายการค้าแบบเสรี และการยกเลิกการเก็บภาษี
การขนถ่ายสิ นค้าผ่านด่านก่อนประเทศอื่นๆในยุโรปได้กระตุนให้มีการขยายตัวของ
้
ตลาดการค้าภายในอย่างกว้างขวาง ก่อนการปฏิวติอุตสาหกรรมได้มีการออก
ั
พระราชบัญญัติหลายฉบับในการสร้างถนน ท่าจอดเรื อ และขุดคูคลองต่างๆ เป็ น
จานวนมาก เพื่อใช้เป็ นเส้นทางคมนาคมขนส่ งสิ นค้า ให้เป็ นไปด้วยความสะดวกสบาย
และรวดเร็ วยิงขึ้น
่
ยิงไปกว่านั้นอังกฤษได้เข้ารบในสงครามกับประเทศคู่แข่งในการขยายอานาจ
่
ทางทะเล ทาให้องกฤษสามารถขยายปริ มาณสิ นค้าส่ งออกและเพิมจานวนตลาดการค้า
ั
่
ในต่างประเทศได้อย่างรวดเร็ ว
จากปั จจัยทั้งสามดังกล่าวนี้ทาให้การวางรากฐานการอุตสาหกรรมในอังกฤษมี
ความมันคง และก่อให้เกิดแรงจูงใจในการค้นคิดหาวิธีการผลิตสิ นค้าต่างๆให้มีจานวน
่
เพิ่มมากขึ้น จนในที่สุดได้มีการค้นคิดประดิษฐ์เครื่ องจักรและเครื่ องทุ่นแรงต่างๆมาใช้
ในโรงงานอุตสาหกรรม และเกิดเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรมในเวลาต่อมา
ั

http://nattakan18.weebly.com/
การขยายอานาจทางทะเล
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
3.2.2 อุตสาหกรรมทอผ้ ากับความก้ าวหน้ าของการปฏิวัตอุตสาหกรรม
ิ
การปฏิวติอุตสาหกรรมของอังกฤษเกิดจากการนาเครื่ องจักรไอน้ ามาใช้ในงาน
ั
อุตสาหกรรมใน ค.ศ.1721 ทอมัส นิวโคเมน สามารถสร้างเครื่ องจักรที่ใช้พลังงานไอน้ า
ใน ค.ศ.1729 เจมส์ วัตต์ ได้ปรับปรุ งเครื่ องจักรของนิวโคเมนให้ใช้ในอุตสาหกรรม
ทอผ้าได้สาเร็ จ ใน ค.ศ.1764 เจมส์ ฮาร์กรี ฟส์ สร้างเครื่ องปั่ นด้ายชื่อ สปิ นนิงเจนนี
ที่ปั่นด้ายได้พร้อมกันทีละ 16 เส้น
http://neoeu.blogspot.com/2009/11/5_01.html
สปิ นนิง เจนนี ( spinning jenny )
ต่อมาใน ค.ศ.1769 ริ ชาร์ต อาร์คไรต์ ได้ปรับปรุ งเครื่ องปั่ นด้ายสปิ นนิงเจนนีให้มี
ประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้นโดยพัฒนาเป็ นเครื่ องจักรกลที่ใช้พลังน้ าหมุนแทนแรงคน และเรี ยก
่
วอเตอร์เฟรม นับเป็ นก้าวสาคัญของการเริ่ มต้นการผลิตสิ่ งทอในอังกฤษจากที่ทากัน
ในบ้าน หรื อโรงนา มาเป็ นระบบโรงงานอุตสาหกรรมอย่างแท้จริ ง อุตสาหกรรมการ
ทอผ้าของอังกฤษได้พฒนาขยายตัวอย่างรวดเร็ ว จนปริ มาณฝ้ ายที่ส่งมาจากทวีปเอเชีย
ั
ไม่เพียงพอ จึงต้องหันไปขยายตลาดค้าฝ้ ายกับทวีปอเมริ กา

http://th.wikipedia.org/wiki
โรงงานปั่นด้ ายในยุคปฏิวติอสาหกรรม
ั ุ
ในคริ สต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อโรงงานทอผ้าต่างๆได้นาเอาเครื่ องจักรไอน้ าที่
เจมส์ วัตต์ คิดประดิษฐ์ใน ค.ศ.1769 มาใช้ขบเคลื่อนเครื่ องจักรกลแทนพลังงานน้ า
ั
อีก 50 ปี ต่อมาอุตสาหกรรมการทอผ้าส่ วนใหญ่ต่างใช้เครื่ องจักรไอน้ าเป็ น
พลังขับเคลื่อนเครื่ องจักรกล

http://th.wikipedia.org/wiki
เครื่องจักรไอนาของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้ นการปฏิวติอตสาหกรรม
้
ั ุ
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
3.2.3 การขยายตัวของการปฏิวัตอุตสาหกรรม
ิ
ในตอนต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษสามารถผลิตเหล็กได้ไม่เพียงพอต่อการขยายตัว
ของอุตสาหกรรมหนักประเภทต่างๆ เมื่อเครื่ องจักรไอน้ าได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์
่
ขึ้นแล้วก็ได้มีการนาถ่านโค้ก ซึ่ งเป็ นถ่านหิ นที่ผานกระบวนการเผาจนหมดควันแล้ว
มาใช้เป็ นเชื้อเพลิงในการหลอมโลหะ ทาให้อุตสาหกรรมเหล็กของอังกฤษสามารถ
ขยายปริ มาณการผลิตได้อย่างรวดเร็ ว และมีจานวนมากเพียงพอต่อความต้องการขยาย
อุตสาหกรรมภายในประเทศ
http://th.wikipedia.org/wiki
ภาพ เหล็กและถ่ านหิน โดยวิลเลียม เบลล์ สกอตต์ , ค.ศ. 1855-60
ใน ค.ศ.1784 เฮนรี คอร์ต ได้คนคิดวิธีการหลอมเหล็กให้ได้เหล็กบริ สุทธิ์ ที่มี
้
คุณภาพดีข้ ึนโดยปราศจากโลหะอื่นเจือปน สามารถปรับปรุ งคุณภาพของปื นใหญ่ และ
ปื นคาบศิลา ตลอดจนยุทโธปกรณ์ต่างๆให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
่
นอกจากนี้การพัฒนาคุณภาพของเหล็ก ทาให้สังคมตะวันตกโดยทัวไปเจริ ญ
่
รุ ดหน้าอย่างรวดเร็ ว เกิดการปฏิวติทางคมนาคมขนส่ ง มีการสร้างและพัฒนาเรื อกลไฟ
ั
ที่ใช้พลังไอน้ าให้เป็ นพาหนะสาคัญในการคมนาคมขนส่ งทางน้ า โดยเฉพาะอย่างยิง
่
นับตั้งแต่ ค.ศ.1830 โลกได้เข้าสู่ ยคม้าเหล็ก เมื่ออังกฤษได้เปิ ดเส้นทางรถไฟไอน้ า
ุ
สายแรก

http://goldenstate.files.wordpress.com/2009/09/train.jpg
รถไฟไอนา
้
ความสาเร็ จของการปฏิวติอุตสาหกรรมของอังกฤษได้กลายเป็ นแรงกระตุนให้
ั
้
ประเทศอื่นๆหันมาสนใจอย่างจริ งจังต่อกระบวนการปฏิวติอุตสาหกรรม จนในที่สุดใน
ั
ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหรัฐอเมริ กา ก็สามารถก้าวมาเป็ น
คู่แข่งในเชิงอุตสาหกรรมกับอังกฤษได้
ระยะของการปฏิวตอุตสาหกรรม
ั ิ
การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะแรก เป็ นการใช้พลังไอน้ าในการขับเคลื่อน
ั ิ
เครื่ องจักรในอุตสาหกรรมทอผ้า และต่อมามีการใช้ถ่านหิ นเป็ นเชื้อเพลิง ประเทศ
อังกฤษเป็ นผูนาอุตสาหกรรมประเทศแรกในการปฏิวติอุตสาหกรรม
้
ั
การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะทีสอง เป็ นช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้ า ก๊าซ และ
ั ิ
่
น้ ามันมาใช้แทนถ่านหิ นหรื อเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรมเหล็กกล้า มีกระบวนการ
ั
ผลิตแยกส่ วนแล้วนามาประกอบกัน มีโรงงานขนาดใหญ่ข้ ึน มีจานวนคนทางานใน
เมืองมากขึ้น เกิดเป็ นสังคมเมืองขนาดใหญ่
การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะทีสาม เป็ นสมัยเครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ มีการ
ั ิ
่
ประดิษฐ์เครื่ องจักรไดนาโมของไมเคิล ฟาราเดย์ เช่น ภาพยนตร์ โทรเลข โทรศัพท์
การพิมพ์
3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ)
ั
3.2.4 ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
1. ด้ านสั งคม ผลกระทบพื้นฐานที่สาคัญของการปฏิวติอุตสาหกรรม คือ การเพิ่มจานวน
ั
ประชากรอย่างรวดเร็ วของทัวโลก สาเหตุสาคัญเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
่
และการแพทย์ ความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร ตลอดจนการปรับปรุ งระบบสาธารณสุ ข
และการดูแลสุ ขภาพอนามัยที่ดีข้ ึน ก่อให้เกิดการขยายตัวของสังคมเมือง และการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม ทาให้ชาวชนบทจานวนมากหลังไหลเข้าเมือง ปั ญหาสวัสดิภาพ
่
ของคนงาน การเอารัดเอาเปรี ยบในอัตราค่าจ้าง
แนวคิดของระบบสังคมนิยม ของคาร์ล มากซ์ ที่เรี ยกร้องให้กรรมกรรวมพลังกัน
เพื่อต่อสู ้โค่นล้มระบบทุนนิยม จึงเริ่ มมีบทบาทและอิทธิ พลมากขึ้น เพื่อสร้างสังคมใหม่
ที่มีความเสมอภาคและปราศจากความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจและการเมือง

http://th.wikipedia.org/wiki
คาร์ ล มากซ์
2. ด้ านเศรษฐกิจ แอดัม สมิท ได้พิมพ์เผยแพร่ งานเขียนชื่อ Wealth of Nations เพื่อให้
รัฐบาลเห็นด้วยว่าความมันคงของประเทศจะเกิดจากระบบการค้าแบบเสรี ที่รัฐบาลควร
่
ปล่อยให้เอกชนประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างเสรี โดยปราศจากการควบคุม
หลักการของระบบการค้าแบบเสรี ดงกล่าวทาให้ชนชั้นกลางของประเทศมีบทบาทสู ง
ั
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

http://library.cmu.ac.th/faculty/econ/index.php
แอดัม สมิท

http://ideasareimmortal.blogspot.com/2011/09/adam-smiths-wealth-of-nations.html
Wealth of Nations
3. ด้ านการเมือง ในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 19 กรรมกรในอังกฤษได้จดตั้งสหภาพแรงงาน
ั
ขึ้น เพื่อรักษาผลประโยชน์และให้ความคุมครองแก่พวกตน จนในที่สุดก็สามารถ
้
เรี ยกร้องให้มีการแก้ไขกฎหมายเลือกตั้งให้เป็ นประชาธิ ปไตยมากขึ้น ทาให้ประชาชน
ทัวไปมีสิทธิ ในการเลือกตั้ง
่
สรุป
่
กล่าวได้วา การปฏิวติวิทยาศาสตร์ และการปฏิวติอุตสาหกรรมก่อให้เกิดผลกระทบ
ั
ั
อย่างใหญ่หลวงต่อชี วิตความเป็ นอยู่ของชาวตะวันตก โดยการปฏิ วติวิทยาศาสตร์ ทาให้
ั
ชาวตะวัน ตกมองโลกและสั ง คมด้ว ยทัศ นะที่ เ ป็ นจริ งมากขึ้ น นอกจากนี้ การค้น พบ
ทางวิทยาศาสตร์ ก่อให้เกิ ดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ ได้มีการนา
ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ไ ปประยุก ต์ใ ช้ใ นการคิ ด ค้น ประดิ ษ ฐ์ เ ครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ห รื อ
เครื่ อ งทุ่ นแรงในการดารงชี พ ต่ างๆ ท าให้เกิ ด การปฏิ ว ติอุ ต สาหกรรม และความมั่งคั่ง
ั
บริ บูรณ์ทางวัตถุอย่างไม่ขาดระยะ
สรุป(ต่ อ)
ส่ งผลให้โ ครงสร้ า งเศรษฐกิ จ และสั งคมที่ ลา หลัง ของยุโ รปเปลี่ ย นแปลงเป็ น
้
ประเทศอุ ต สาหกรรมอั น ทั น สมั ย ท าให้ ช าวยุ โ รปส่ ว นใหญ่ เ ริ่ มมี ส ภาพชี วิ ต ที่
สะดวกสบายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การปฏิวติอุตสาหกรรมยังมีผลให้ชนชั้นกลางและชนชั้น
ั
กรรมาชี พ มี บ ทบาทในสั ง คมมากขึ้ น ด้ว ย เกิ ด การรวมตัว กัน และมี บ ทบาทในการ
เรี ยกร้องประชาธิปไตยในนานาประเทศในยุโรป

More Related Content

What's hot

4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
Jeeji Supadda Phokaew
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
Juno Nuttatida
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
Warinthorn Limpanakorn
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
Padvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
Rose Mary
 
การปฎิรูปศาสนา
การปฎิรูปศาสนาการปฎิรูปศาสนา
การปฎิรูปศาสนา
Warinthorn Limpanakorn
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
Chanyamon Jiratonapivat
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 

What's hot (20)

4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
การปฎิรูปศาสนา
การปฎิรูปศาสนาการปฎิรูปศาสนา
การปฎิรูปศาสนา
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 

Similar to 5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)

หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformationการปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
Warinthorn Limpanakorn
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
Omm Suwannavisut
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
Padvee Academy
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
Ploynaput Kritsornluk
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
Sadsana
SadsanaSadsana
Sadsana
Pattie Pattie
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
sumanan vanict
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
เวียดนาม 03
เวียดนาม 03เวียดนาม 03
เวียดนาม 03
Savage Tappreeda
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาsupppad
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 

Similar to 5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new) (20)

หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformationการปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฎิรูปศาสนา Religious Reformation
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Sadsana
SadsanaSadsana
Sadsana
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
เวียดนาม 03
เวียดนาม 03เวียดนาม 03
เวียดนาม 03
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้งJitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya (19)

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 

5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ การปฏิรูปศาสนา กาเนิดรัฐชาติ การปฏิวตทางวิทยาศาสตร์ และการปฏิวตอตสาหกรรม ั ิ ั ิุ
  • 3. 1. นางสาวจิตรจารี 2. นางสาวพลอยพรรณ จัดทาโดย เลิศวิลยวิทยา ม.6.7 เลขที่ 1 ั วัฒนาศรมศิริ ม.6.7 เลขที่ 7 โรงเรี ยนสตรี วิทยา ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
  • 5. การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) เกิดขึ้นในคริ สต์ศตวรรษที่ 16 มี สาเหตุสาคัญมาจากความเสื่ อมความนิยมในผูนาทางศาสนาและการเกิดแนวคิดใหม่ ้ เกี่ยวกับศาสนา เนื่องจากมีการศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็ นภาษาต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ทาให้คริ สต์ศาสนิกชนมีความรู ้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูปศาสนาจึงเกิดขึ้นในหลายๆประเทศ โดยมีผนาการปฏิรูปหลายคนและใช้ชื่อ ู้ แตกต่างกัน การปฏิรูปคริสต์ ศาสนา หมายถึง ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและ สถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล ั การปฏิรูปเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดคริ สต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยกเป็ น 2 นิกาย คือโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์
  • 6. 1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา ่ 1. ความเป็ นอยูของสันตะปาปาและพระชั้นสู งบางองค์มีความฟุ่ มเฟื อย สะสมทรัพย์ สมบัติไว้ให้ลก และยังเรี ยกเก็บภาษีสูงขึ้นเพื่อนาเงินไปใช้จ่ายในคริ สตจักร มีการซื้ อ ู ขายตาแหน่งกัน รวมทั้งชาวยุโรปมีการศึกษาที่สูงขึ้นจึงไม่เชื่อคาสั่งสอนของ ฝ่ ายศาสนจักร และเกิดความคิดที่จะปรับปรุ งศาสนาให้บริ สุทธิ์
  • 7. 1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ) 2. สันตะปาปาทรงมีฐานะเป็ นเจ้าผูปกครองฝ่ ายศาสนจักร มีส่วนร่ วมทางการเมืองของ ้ ยุโรปและเข้าไปครอบงารัฐต่างๆ ทาให้เจ้าผูครองแคว้นต่างๆต้องการเป็ นอิสระต้องการ ้ ปฏิรูปศาสนา 3. ศาสนจักรมุ่งเน้นพิธีกรรมมากจนเกินไป ทาให้ประชาชนต้องการทาความเข้าใจใน หลักธรรมทางศาสนามากขึ้น จนมีนกคิดเสนอว่ามนุษย์ควรเข้าถึงพระเจ้าและทาความ ั เข้าใจในคัมภีร์ไบเบิลด้วยตนเองมากกว่าผ่านทางพิธีกรรมของศาสนจักร
  • 8. 1.1 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ) 4. สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และสันตะปาปาลีโอที่ 10 ต้องการงบประมาณในการก่อสร้าง มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ จึงส่ งสมณทูตมาขายใบยกบาปในดินแดนเยอรมัน ด้วยภาวะ ทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทาให้เกิดกลุ่มต่อต้านคริ สตจักรทั้งขุนนาง นักคิด และปัญญาชนในเยอรมัน http://www.bloggang.com/viewdiary.php มหาวิหารเซนต์ ปีเตอร์ จากภาพเขียนโดยวิเวียโน โคดาซซี (Viviano Codazzi) เมือ ค.ศ. 1630 หอสองหอทีเ่ ห็นในภาพถูกรี้อภายหลัง ่ http://en.wikipedia.org/wiki/Indulgence การขายใบไถ่ บาป The selling of indulgencies
  • 9. 1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา มาร์ ตนลูเทอร์ นักบวชชาวเยอรมันทาการประท้วง ิ การขายใบยกโทษบาปด้วยการปิ ดประกาศคาประท้วง 95 ข้อ โดยลูเทอร์ ได้ประกาศว่า สันตะปาปาไม่ควรเก็บภาษีใน เยอรมันเพื่อไปสร้างมหาวิหาร และสันตะปาปาไม่ได้เป็ น บุคคลเพียงผูเ้ ดียวที่นาพามนุษย์ไปสู่ พระเจ้า ประกาศดังกล่าว ถือว่าเป็ นที่มาของนิกายโปรเตสแตนต์ คาประกาศของเขา ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างในเยอรมัน http://www.bloggang.com/viewdiary.ph p?id=vinitsiri&month=022010&date=15&group=45&gblog=75 มาร์ ตินลูเทอร์
  • 10. 1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ) ค.ศ. 1521 มาร์ตินลูเทอร์ ได้รับคาสั่งจากจักรพรรดิชาลส์ที่ 5 แห่งจักรวรรดิ ่ โรมันให้เข้าไปประชุมสภาแห่ งเวิร์ม เขาถูกกล่าวหาจากจักรพรรดิวามีท่าทีเป็ น ปฏิปักษ์ต่อคริ สต์ศาสนาและเป็ นบุคคลนอกศาสนา แต่เจ้าผูครองแคว้นแซกโซนีได้ ้ อุปถัมภ์เขาไว้ และเขาได้แปลคัมภีร์ไบเบิลจากภาษาละตินมาเป็ นภาษาเยอรมัน ทาให้ ความรู ้ทางศาสนาเป็ นที่แพร่ หลายในหมู่ประชาชนเพิมมากขึ้น ่ https://th.m.wikipedia.org/wiki จักรพรรดิชาลส์ ที่ 5
  • 11. 1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ) หลังจากนั้น พวกเจ้านายในเยอรมันได้แบ่งเป็ น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายเหนือ ซึ่ งสนับสนุน มาร์ตินลูเทอร์ กับฝ่ ายใต้ ซึ่ งสนับสนุนคริ สตจักรโรมันคาทอลิกที่กรุ งโรม ทาให้เกิด สงครามกลางเมืองขึ้นใน ค.ศ. 1546 ในที่สุดก็มีการสงบศึก โดยการทาสนธิสัญญา สันติภาพแห่งเอากส์บูร์กใน ค.ศ. 1555 โดยให้เจ้าชายเยอรมันและแคว้นของพระองค์มี สิ ทธิ ที่จะเลือกนับถือนิกายลูเทอร์ หรื อนิกายโรมันคาทอลิกก็ได้
  • 12. 1.2 การเริ่ มปฏิรูปศาสนา(ต่อ) การปฏิรูปคริ สต์ศาสนาได้ขยายตัวจาก เยอรมันไปยังประเทศอื่นๆ ผลการปฏิรูปทาง ศาสนาได้ก่อให้เกิดนิ กายโปรเตสแตนต์ข้ ึน แบ่งเป็ น 3 นิกายสาคัญคือ 1.นิกายลูเทอร์ แพร่ หลายในเยอรมันและประเทศ กลุ่มสแกนดิเนเวีย 2.นิกายคาลวิน แพร่ หลายในสวิตเซอร์ แลนด์ ฝรั่งเศส เนเธอร์ แลนด์ และสกอตแลนด์ 3.นิกายอังกฤษหรือแองกลิกน เป็ นนิกายประจา ั ประเทศอังกฤษ http://users.humboldt.edu/ogayle/hist110/expl.html การปฏิรูปคริสต์ ศาสนา
  • 13. 1.3 การปฏิรูปศาสนจักร เมื่อเกิดการปฏิรูปศาสนาในดินแดนส่ วนต่างๆของยุโรป คริ สตจักรที่กรุ งโรมได้ พยายามต่อต้านปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต่างๆได้แก่ 1.ศาสนจักรได้จดการประชุมสังคายนาพระศาสนาที่เมืองเทรนต์ ในค.ศ.1545 ั โดยมีบทสรุ ปคือ 1) สันตะปาปาทรงเป็ นประมุขของคริ สต์ศาสนา 2) การประกาศหลักธรรมทางศาสนาต้องให้ศาสนจักรเป็ นผูประกาศแก่ ้ ศาสนิกชน 3) คัมภีร์ไบเบิลต้องเป็ นภาษาละติน 4) ยกเลิกการขายใบยกโทษบาปและตาแหน่งทางศาสนา มีการกาหนดระเบียบ วินยมาตรฐานการศึกษาของพระและให้ใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา ั
  • 14. 1.3 การปฏิรูปศาสนจักร(ต่อ) 2.ศาสนจักรได้ต้ งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา โดยมีการลงโทษ ั โดยการเผาคนทั้งเป็ นการต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของคริ สตจักรที่กรุ งโรมนั้นได้ผล คือ นิกายโรมันคาทอลิกสามารถป้ องกันไม่ให้ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกหันไปนับถือ นิกายโปรเตสแตนต์เพิ่มขึ้น แต่ไม่สามารถดึงศาสนิกชนโปรเตสแตนต์ให้กลับมานับ ถือนิกายโรมันคาทอลิกได้ http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=1491 กองฟื นทีเ่ ตรียมไว้ เผาทั้งเป็ นพวกโปรเตสแตนท์ทยอมตายเพือรักษาความเชื่อของตน ี่ ่
  • 15. 1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา การปฏิรูปก่อให้เกิดผลกระทบ ได้แก่ ่ 1.คริสตจักรตะวันออกได้ แตกแยกเป็ น 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางอยูที่ กรุ งโรม มีสันตะปาปาเป็ นประมุข กับนิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่ งแยกเป็ นนิกายต่างๆใน ประเทศทางภาคเหนือของยุโรป ความเป็ นเอกภาพทางศาสนาของยุโรปสิ้ นสุ ดลง 2.เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่ างๆ เช่น กรณี ที่มาร์ตินลูเทอร์ หนุนให้เจ้าผูครองรัฐ ้ ต่างๆ ในเยอรมันต่อต้านจักรพรรดิแห่ งอาณาจักรโรมัน ผูที่นบถือนิกายคาลวินใน ้ ั เนเธอร์ แลนด์ ส่ วนที่เป็ นเจ้าของสเปนต่อต้านกษัตริ ยสเปนจะได้รับเอกราช ์
  • 16. 1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ) 3.เกิดการแข่งขันระหว่างนิกายต่างๆ มีการปรับปรุ งสิ่ งที่บกพร่ องเพื่อเรี ยกศรัทธาและ ่ ก่อให้เกิดขันติธรรมในการอยูร่วมกับผูนบถือนิ กายต่างกัน ้ ั 4.สภาพสังคมเปลี่ยนไป นิกายโปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการประกอบอาชีพ ด้านการค้าและอุตสาหกรรม ทาให้ระบบทุนนิยมในยุโรปเจริ ญเติบโต 5.ระบบรัฐชาติแข็งแรงขึ้น การเกิดนิกายโปรเตสแตนต์ได้ส่งเสริ มวัฒนธรรมของ แต่ละท้องถิ่น เช่น การแปลคัมภีร์เป็ นภาษาท้องถิ่น และยังส่ งเสริ มอานาจของ ผูปกครอง ได้แก่ กษัตริ ยในฐานะตัวแทนของพระเป็ นเจ้าในการปกครองประเทศ ้ ์ จึงเท่ากับส่ งเสริ มระบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
  • 17. 1.4 ผลของการปฏิรูปศาสนา(ต่อ) 6.ผลของการแตกแยกทางศาสนา ทาให้เกิดสงครามศาสนาขึ้นในยุโรปหลายครั้ง เช่น สงครามศาสนาในเยอรมนี(1546-1555) สงครามศาสนาในประเทศฝรั่งเศส (1562-1589) สงครามสามสิ บปี (1618-1648) การเกิดสงครามศาสนาทาให้สถาบันกษัตริ ยมีอานาจ ์ เหนือคริ สตจักร เพราะสันตะปาปาต้องอาศัยอานาจของกษัตริ ยที่นบถือคาทอลิก ์ ั ทาการต่อต้านกษัตริ ยที่นบถือโปรเตสแตนด์ ์ ั http://th.wikipedia.org/wiki/ สงครามศาสนาในประเทศฝรั่งเศส เหตุการณ์ สังหารหมู่ วันเซนต์ บาร์ โธโลมิว
  • 19. รัฐชาติ เป็ นการรวมกลุ่มคนตามสภาพทางภูมิศาสตร์ และตามเชื้อชาติ คนในชาติพดภาษาเดียวกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณี คล้ายคลึงกัน ู จึงมีความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของตน
  • 20. 2.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ 2.1.1 การขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้ า การเปิ ดเส้นทางการเดินเรื อใหม่ๆ ทาให้เครื อข่ายการค้าขยายตัวขึ้น โดยเพิ่มทั้ง ด้านระดับการค้า ปริ มาณและชนิดของสิ นค้า ทาให้ทองคาและเงินได้หลังไหลเข้าสู่ ่ ดินแดนยุโรป กษัตริ ยจึงมีเงินนาไปสร้างเป็ นฐานอานาจทางการเมืองและการทหารใน ์ การรวมชาติ http://jjxxsb.gog.com.cn/system/2008/02/28/010222774.shtml เงินจากหลายประเทศ
  • 21. 2.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ(ต่อ) 2.1.2 ความเสื่ อมของขุนนาง ช่วงต้นสมัยใหม่ ขุนนางในระบบฟิ วดัลอ่อนแอลงและหมดสิ้ นเงินจานวนมาก จากการรบในสงครามครู เสด ประกอบกับภาวะเงินเฟ้ อทาให้ขนนางต้องขายทรัพย์สิน ุ ั ่ ให้กบพ่อค้า ขุนนางจึงยากจนลงจนไม่สามารถสะสมกาลังในการสร้างความวุนวายให้ กษัตริ ย ์ แต่กลับต้องพึ่งการอุปถัมภ์ของกษัตริ ยแทน และได้กลายเป็ นข้าราชบริ พารของ ์ กษัตริ ย ์ ซึ่ งเป็ นการเพิมอานาจของกษัตริ ยให้มากขึ้น ์ ่ http://th.wikipedia.org/wiki/ สงครามครู เสด
  • 22. 2.1 ปั จจัยที่ทาให้เกิดรัฐชาติ(ต่อ) 2.1.3 ความสานึกในการสร้ างชาติ ความสานึกในการสร้างชาติเกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ภาษาของตนในดินแดนต่างๆ เช่น สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ แทนภาษาละตินที่เคยใช้มาแต่เดิม การมีภาษาของตนเองทา ให้เกิดความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อชาติของตนในเวลาต่อมา
  • 23. 2.2 กาเนิดระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ประเทศฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปนและอังกฤษเกิดการล่มสลายของระบบฟิ วดัล มีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ มีระบบการบริ หารรวมศูนย์กลางอานาจ ไว้ที่ส่วนกลาง ประชาชนก็ยนยอมและจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ยที่เป็ นประมุข ิ ์ http://www.thaigoodview.com/library/c ontest2552/type2/social04/18/middleages /feudal_system_i.html ระบอบฟิ วดัล (Feudalism)
  • 25. 3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) ั 3.1.1 สภาพภูมหลังของการปฏิวัตทางวิทยาศาสตร์ ิ ิ งานด้านวิทยาศาสตร์ เป็ นที่สนใจของชาวตะวันตกมาตั้งแต่สมัยกลางแล้ว วิชา เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่น ดาราศาสตร์ กลศาสตร์ ได้ถกนามาบรรจุในหลักสู ตรการสอน ู ในมหาวิทยาลัยตะวันตกตั้งแต่สมัยคริ สต์ศตวรรษที่ 12-13
  • 26. 3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)(ต่อ) ั นอกจากนี้ชาวตะวันตกได้คนพบคุณสมบัติของเลนส์และนามาทาเป็ น ้ ส่ วนประกอบของกล้องส่ องทางไกลและกล้องดูดาวช่วยในการเดินเรื อ ในที่สุดก็สามารถพัฒนาเครื่ องมือในการวัดและการคานวณอย่างแม่นยาซึ่ งช่วย แก้ปัญหาในการเดินเรื อ
  • 27. 3.1 การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)(ต่อ) ั วิทยาศาสตร์ ยงทาให้ชาวตะวันตกเริ่ มเป็ นกบฏทางความคิดต่ออานาจเหนือ ั ธรรมชาติของพระเป็ นเจ้าตามคาสั่งสอนของคริ สต์ศาสนา วิธีการศึกษาทาง วิทยาศาสตร์ ทาให้ประชาชนต้องการหาคาตอบให้แก่ความลี้ลบของธรรมชาติที่ ั สามารถอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ได้
  • 28. 3.1.2 นักวิทยาศาสตร์ นิโคเลาส์ โคเพอร์ นิคส ชาวโปแลนด์ ได้ใช้ความรู้ทางคณิ ตศาสตร์อธิบาย ั ระบบสุ ริยจักรวาล ว่าโลกไม่ได้หยุดนิ่ งหรื อเป็ นศูนย์กลางของระบบสุริยจักรวาลแต่ ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมทั้งโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่ งทฤษฎีน้ ีเป็ นการล้มล้างคาสอน ของศาสนจักรในสมัยกลาง และล้มความเชื่อตั้งแต่สมัยกรี กโดยงานของอริ สโตเติลและ โตเลมี http://www.thetooi.com/1866-nicolaus-copernicus นิโคเลาส์ โคเปอร์ นิคส ั http://scientistsofworld.blogspot.com/2009/12/nicolaus-copernicus.html ระบบสุ ริยะจักรวาล
  • 29. กาลิเลโอ กาลิเลอิ ชาวอิตาลีได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์เพื่อสังเกตดูการ เคลื่อนไหวของดวงดาว เขาได้รวบรวมผลการสารวจนับสิ บปี ของเขาพิมพ์หนังสื อ เผยแพร่ เพื่อโต้แย้งความคิดเกี่ยวกับจักรวาลวิทยาของกรี ก ซึ่ งแนวคิดของเขาขัดกับ คาสอนของคริ สตจักร เข้าจึงถูกศาสนจักรลงโทษด้วยการประณามและถูกข่มขู่ต่างๆ นานา http://www.thaigoodview.com/library/students how/2549/m6-6/no03-07/person/sec01p32.html กาลิเลโอ กาลิเลอิ http://www.oknation.net/blog/buzz/2009/08/25/entry-2 กล้องดูดาวแบบกาลิเลโอ" (Galileo's Telescope)
  • 30. เรื่องน่ ารู้ กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็ น "บิดาแห่ง วิทยาศาสตร์ ยคใหม่“ ได้ทาการทดลองครั้งสาคัญใน ุ ปี 1591 (ที่ต่อมาภายหลังได้รับการยอมรับและมีชื่อเสี ยง ่ มาก) เพื่อพิสูจน์วาทฤษฎีการตกของวัตถุที่นาเสนอโดย อริ สโตเติลนั้นไม่ถกต้อง โดยอริ สโตเติลได้นาเสนอว่า ู วัตถุที่มีมวลต่างกัน เมื่อปล่อยให้ตกลงมา วัตถุที่หนัก จะตกถึงพื้นก่อน กาลิเลโอได้ทาการปล่อยวัตถุที่มีมวลต่างกัน 2 ชิ้น จากยอดหอเอนปิ ซา ในเวลาพร้อมกัน ซึ่ งวัตถุดงกล่าว ั ดังกล่าว ได้ตกลงมาภายใต้แรงโน้มถ่วงโลก และถึงพื้น ่ เกือบจะพร้อมๆ กัน ซึ่ งเป็ นการพิสูจน์วาความคิดของ อริ สโตเติลนั้นไม่ถกต้อง ู http://www.space.mict.go.th/astronomer.php?name=galileo การปล่อยวัตถุทมมวลต่ างกัน 2 ชิ้น จากยอดหอเอนปิ ซา ี่ ี
  • 31. เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้วางรากฐานและทัศนคติใหม่ เกียวกับวิทยาศาสตร์ ่ ได้กระตุนให้ชาวอังกฤษและรัฐบาลมายอมรับ ้ ความสาคัญของงานด้านวิทยาศาสตร์และเป็ น แรงบันดาลใจให้ต้ งราชบัณฑิตยสมาคมเพื่อส่ งเสริ ม ั งานค้นคว้าด้านวิทยาศาสตร์ http://www.baanjomyut.com/library_2/philosopher/01.html เซอร์ ฟรานซิส เบคอน เรอเน เดการ์ ต นักปรัชญาและ นักคณิ ตศาสตร์ได้นาหลักคณิ ตศาสตร์ โดยเฉพาะเรขาคณิตมาพิสูจน์ และตรวจสอบ ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับระบบจักรวาล http://dieulux.exteen.com/20090818/il-pense-donc-il-est เรอเน เดการ์ ต
  • 32. เซอร์ ไอแซก นิวตัน ชาวอังกฤษ ค้นพบกฎแรงดึงดูดของจักรวาล และ กฎแห่งแรงโน้มถ่วง โดยอาศัยหลักคณิ ตศาสตร์ ของเดการ์ ตและแนวทางการศึกษาของ เคปเลอร์และกาลิเลโอ หนังสื อของนิวตันเป็ นที่รู้จกในชื่อ The Mathematical Priciples ั of Natural Knowledge นอกจากนี้นิวตันได้ทาให้นกวิทยาศาสตร์เข้าใจเรื่ องของจักรวาล ั สสาร พลังงานตลอดจนการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่ งต่อมาเป็ นหัวใจแห่ งวิชากลศาสตร์ อีกด้วย http://www.oknation.net/blog/kanteen/2012/09/20/entry-1 เซอร์ ไอแซก นิวตัน
  • 33. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution) ั ในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 18 เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิธีการและระบบผลิต ดั้งเดิมจากการใช้แรงงานของคน สัตว์ และพลังงานธรรมชาติ มาเป็ นการใช้เครื่ องมือ และเครื่ องจักรกลในระบบโรงงานแทนระบบการจ่ายงานให้ไปทาตามบ้าน เพื่อผลิต สิ นค้าชนิดเดียวกันจานวนมาก http://www.philadelphia-reflections.com/images/indust.jpg เครื่องจักรกลในระบบโรงงาน
  • 34. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั กระบวนการผลิตแบบโรงงานดังกล่าวนี้ ทาให้เกิดระบบอุตสาหกรรมนิยม (Industrialism) ขึ้น หรื อเรี ยกว่า การปฏิวตอุตสาหกรรม ซึ่ งเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่ ั ิ ต่อเนื่องเป็ นเวลานานนับศตวรรษ โดยเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ และยังคง เกิดขึ้นจนถึงปั จจุบน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตและแบบแผนความเป็ นอยู่ ั ของมนุษย์ทุกมุมโลกจากสังคมเกษตรกรรมเป็ นสังคมกึ่งเกษตรกรรม กึ่งอุตสาหกรรม หรื อสังคมอุตสาหกรรม และมีผลกระทบให้โลกเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงและ รวดเร็ วกว่ายุคใดๆ ในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ ทั้งทางกายภาพ สิ่ งแวดล้อม และ ระบบนิเวศ
  • 35. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 3.2.1 สาเหตุของการปฏิวติอุตสาหกรรมในอังกฤษเป็ นประเทศแรก ั 1. การปฏิวติเกษตรกรรม เกิดจากการนาเอาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาการมา ั ปรับปรุ งการเกษตรกรรมให้ได้ผลดีข้ ึน โดยเริ่ มต้นประมาณกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 16 รัฐบาลออกพระราชบัญญัติลอมเขตที่ดิน มาใช้ในการปรับปรุ งเพิมผลผลิตทางการเกษตร ้ ่ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ยงทาให้สามารถนาเอาวิธีการเกษตรกรรมแบบใหม่ๆ ั มาช่วยในการปรับปรุ งวิธีการทานาให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่
  • 36. การปฏิวติเกษตรกรรมจึงทาให้องกฤษมี ั ั ความรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นอันมาก และมี อาหารอุดมสมบูรณ์เพียงพอที่จะเลี้ยงดู ประชากรทั้งประเทศ โดยเฉพาะประชากรใน เขตเมืองที่จะเป็ นแรงงานสาคัญต่อการพัฒนา ระบบอุตสาหกรรมของประเทศ http://th.wikipedia.org/wiki การปฏิวติเกษตรกรรมในอังกฤษ ั นอกจากนี้องกฤษได้จดตั้งธนาคารแห่ งอังกฤษขึ้น ทาให้นครลอนดอนเป็ น ั ั ศูนย์กลางทางการเงินที่สาคัญของยุโรป และเป็ นแหล่งระดมเงินทุนของรัฐบาลที่ให้ การสนับสนุนความก้าวหน้าทางวิทยาการ
  • 37. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 2. คุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของชาวอังกฤษ คือ กล้าได้กล้าเสี ย และกระตือรื อร้นต่อ ความเปลี่ยนแปลงต่างๆอันเป็ นผลมาจากอิทธิ พลของคริ สต์ศาสนานิ กายอังกฤษ ชาวอังกฤษโดยทัวไปมีความเชื่อว่า ความมังคังทางโภคทรัพย์เป็ นความสาเร็ จสู งสุ ด ่ ่ ่ ของชีวตที่ทุกคนต้องปฏิบติ เพื่อชื่อเสี ยง เกียรติยศของตนเองและครอบครัว ทัศนคติ ิ ั ทางวัตถุธรรมดังกล่าวจึงทาให้ชาวอังกฤษโดยทัวไปเห็นการค้าขายเป็ นงานมีเกียรติ ่ พร้อมจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงใดๆ ถ้าจะทาให้ฐานะทางเศรษฐกิจของตนมังคัง ่ ่ และมันคงยิงขึ้น ่ ่
  • 38. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 3. การขยายตัวของตลาดการค้ า นโยบายการค้าแบบเสรี และการยกเลิกการเก็บภาษี การขนถ่ายสิ นค้าผ่านด่านก่อนประเทศอื่นๆในยุโรปได้กระตุนให้มีการขยายตัวของ ้ ตลาดการค้าภายในอย่างกว้างขวาง ก่อนการปฏิวติอุตสาหกรรมได้มีการออก ั พระราชบัญญัติหลายฉบับในการสร้างถนน ท่าจอดเรื อ และขุดคูคลองต่างๆ เป็ น จานวนมาก เพื่อใช้เป็ นเส้นทางคมนาคมขนส่ งสิ นค้า ให้เป็ นไปด้วยความสะดวกสบาย และรวดเร็ วยิงขึ้น ่
  • 39. ยิงไปกว่านั้นอังกฤษได้เข้ารบในสงครามกับประเทศคู่แข่งในการขยายอานาจ ่ ทางทะเล ทาให้องกฤษสามารถขยายปริ มาณสิ นค้าส่ งออกและเพิมจานวนตลาดการค้า ั ่ ในต่างประเทศได้อย่างรวดเร็ ว จากปั จจัยทั้งสามดังกล่าวนี้ทาให้การวางรากฐานการอุตสาหกรรมในอังกฤษมี ความมันคง และก่อให้เกิดแรงจูงใจในการค้นคิดหาวิธีการผลิตสิ นค้าต่างๆให้มีจานวน ่ เพิ่มมากขึ้น จนในที่สุดได้มีการค้นคิดประดิษฐ์เครื่ องจักรและเครื่ องทุ่นแรงต่างๆมาใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรม และเกิดเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรมในเวลาต่อมา ั http://nattakan18.weebly.com/ การขยายอานาจทางทะเล
  • 40. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 3.2.2 อุตสาหกรรมทอผ้ ากับความก้ าวหน้ าของการปฏิวัตอุตสาหกรรม ิ การปฏิวติอุตสาหกรรมของอังกฤษเกิดจากการนาเครื่ องจักรไอน้ ามาใช้ในงาน ั อุตสาหกรรมใน ค.ศ.1721 ทอมัส นิวโคเมน สามารถสร้างเครื่ องจักรที่ใช้พลังงานไอน้ า ใน ค.ศ.1729 เจมส์ วัตต์ ได้ปรับปรุ งเครื่ องจักรของนิวโคเมนให้ใช้ในอุตสาหกรรม ทอผ้าได้สาเร็ จ ใน ค.ศ.1764 เจมส์ ฮาร์กรี ฟส์ สร้างเครื่ องปั่ นด้ายชื่อ สปิ นนิงเจนนี ที่ปั่นด้ายได้พร้อมกันทีละ 16 เส้น http://neoeu.blogspot.com/2009/11/5_01.html สปิ นนิง เจนนี ( spinning jenny )
  • 41. ต่อมาใน ค.ศ.1769 ริ ชาร์ต อาร์คไรต์ ได้ปรับปรุ งเครื่ องปั่ นด้ายสปิ นนิงเจนนีให้มี ประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้นโดยพัฒนาเป็ นเครื่ องจักรกลที่ใช้พลังน้ าหมุนแทนแรงคน และเรี ยก ่ วอเตอร์เฟรม นับเป็ นก้าวสาคัญของการเริ่ มต้นการผลิตสิ่ งทอในอังกฤษจากที่ทากัน ในบ้าน หรื อโรงนา มาเป็ นระบบโรงงานอุตสาหกรรมอย่างแท้จริ ง อุตสาหกรรมการ ทอผ้าของอังกฤษได้พฒนาขยายตัวอย่างรวดเร็ ว จนปริ มาณฝ้ ายที่ส่งมาจากทวีปเอเชีย ั ไม่เพียงพอ จึงต้องหันไปขยายตลาดค้าฝ้ ายกับทวีปอเมริ กา http://th.wikipedia.org/wiki โรงงานปั่นด้ ายในยุคปฏิวติอสาหกรรม ั ุ
  • 42. ในคริ สต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อโรงงานทอผ้าต่างๆได้นาเอาเครื่ องจักรไอน้ าที่ เจมส์ วัตต์ คิดประดิษฐ์ใน ค.ศ.1769 มาใช้ขบเคลื่อนเครื่ องจักรกลแทนพลังงานน้ า ั อีก 50 ปี ต่อมาอุตสาหกรรมการทอผ้าส่ วนใหญ่ต่างใช้เครื่ องจักรไอน้ าเป็ น พลังขับเคลื่อนเครื่ องจักรกล http://th.wikipedia.org/wiki เครื่องจักรไอนาของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้ นการปฏิวติอตสาหกรรม ้ ั ุ
  • 43. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 3.2.3 การขยายตัวของการปฏิวัตอุตสาหกรรม ิ ในตอนต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษสามารถผลิตเหล็กได้ไม่เพียงพอต่อการขยายตัว ของอุตสาหกรรมหนักประเภทต่างๆ เมื่อเครื่ องจักรไอน้ าได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ ่ ขึ้นแล้วก็ได้มีการนาถ่านโค้ก ซึ่ งเป็ นถ่านหิ นที่ผานกระบวนการเผาจนหมดควันแล้ว มาใช้เป็ นเชื้อเพลิงในการหลอมโลหะ ทาให้อุตสาหกรรมเหล็กของอังกฤษสามารถ ขยายปริ มาณการผลิตได้อย่างรวดเร็ ว และมีจานวนมากเพียงพอต่อความต้องการขยาย อุตสาหกรรมภายในประเทศ http://th.wikipedia.org/wiki ภาพ เหล็กและถ่ านหิน โดยวิลเลียม เบลล์ สกอตต์ , ค.ศ. 1855-60
  • 44. ใน ค.ศ.1784 เฮนรี คอร์ต ได้คนคิดวิธีการหลอมเหล็กให้ได้เหล็กบริ สุทธิ์ ที่มี ้ คุณภาพดีข้ ึนโดยปราศจากโลหะอื่นเจือปน สามารถปรับปรุ งคุณภาพของปื นใหญ่ และ ปื นคาบศิลา ตลอดจนยุทโธปกรณ์ต่างๆให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่ นอกจากนี้การพัฒนาคุณภาพของเหล็ก ทาให้สังคมตะวันตกโดยทัวไปเจริ ญ ่ รุ ดหน้าอย่างรวดเร็ ว เกิดการปฏิวติทางคมนาคมขนส่ ง มีการสร้างและพัฒนาเรื อกลไฟ ั ที่ใช้พลังไอน้ าให้เป็ นพาหนะสาคัญในการคมนาคมขนส่ งทางน้ า โดยเฉพาะอย่างยิง ่ นับตั้งแต่ ค.ศ.1830 โลกได้เข้าสู่ ยคม้าเหล็ก เมื่ออังกฤษได้เปิ ดเส้นทางรถไฟไอน้ า ุ สายแรก http://goldenstate.files.wordpress.com/2009/09/train.jpg รถไฟไอนา ้
  • 45. ความสาเร็ จของการปฏิวติอุตสาหกรรมของอังกฤษได้กลายเป็ นแรงกระตุนให้ ั ้ ประเทศอื่นๆหันมาสนใจอย่างจริ งจังต่อกระบวนการปฏิวติอุตสาหกรรม จนในที่สุดใน ั ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหรัฐอเมริ กา ก็สามารถก้าวมาเป็ น คู่แข่งในเชิงอุตสาหกรรมกับอังกฤษได้
  • 46. ระยะของการปฏิวตอุตสาหกรรม ั ิ การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะแรก เป็ นการใช้พลังไอน้ าในการขับเคลื่อน ั ิ เครื่ องจักรในอุตสาหกรรมทอผ้า และต่อมามีการใช้ถ่านหิ นเป็ นเชื้อเพลิง ประเทศ อังกฤษเป็ นผูนาอุตสาหกรรมประเทศแรกในการปฏิวติอุตสาหกรรม ้ ั การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะทีสอง เป็ นช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้ า ก๊าซ และ ั ิ ่ น้ ามันมาใช้แทนถ่านหิ นหรื อเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรมเหล็กกล้า มีกระบวนการ ั ผลิตแยกส่ วนแล้วนามาประกอบกัน มีโรงงานขนาดใหญ่ข้ ึน มีจานวนคนทางานใน เมืองมากขึ้น เกิดเป็ นสังคมเมืองขนาดใหญ่ การปฏิวตอุตสาหกรรมระยะทีสาม เป็ นสมัยเครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ มีการ ั ิ ่ ประดิษฐ์เครื่ องจักรไดนาโมของไมเคิล ฟาราเดย์ เช่น ภาพยนตร์ โทรเลข โทรศัพท์ การพิมพ์
  • 47. 3.2 การปฏิวติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)(ต่อ) ั 3.2.4 ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 1. ด้ านสั งคม ผลกระทบพื้นฐานที่สาคัญของการปฏิวติอุตสาหกรรม คือ การเพิ่มจานวน ั ประชากรอย่างรวดเร็ วของทัวโลก สาเหตุสาคัญเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ่ และการแพทย์ ความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร ตลอดจนการปรับปรุ งระบบสาธารณสุ ข และการดูแลสุ ขภาพอนามัยที่ดีข้ ึน ก่อให้เกิดการขยายตัวของสังคมเมือง และการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ทาให้ชาวชนบทจานวนมากหลังไหลเข้าเมือง ปั ญหาสวัสดิภาพ ่ ของคนงาน การเอารัดเอาเปรี ยบในอัตราค่าจ้าง
  • 48. แนวคิดของระบบสังคมนิยม ของคาร์ล มากซ์ ที่เรี ยกร้องให้กรรมกรรวมพลังกัน เพื่อต่อสู ้โค่นล้มระบบทุนนิยม จึงเริ่ มมีบทบาทและอิทธิ พลมากขึ้น เพื่อสร้างสังคมใหม่ ที่มีความเสมอภาคและปราศจากความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจและการเมือง http://th.wikipedia.org/wiki คาร์ ล มากซ์
  • 49. 2. ด้ านเศรษฐกิจ แอดัม สมิท ได้พิมพ์เผยแพร่ งานเขียนชื่อ Wealth of Nations เพื่อให้ รัฐบาลเห็นด้วยว่าความมันคงของประเทศจะเกิดจากระบบการค้าแบบเสรี ที่รัฐบาลควร ่ ปล่อยให้เอกชนประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างเสรี โดยปราศจากการควบคุม หลักการของระบบการค้าแบบเสรี ดงกล่าวทาให้ชนชั้นกลางของประเทศมีบทบาทสู ง ั ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม http://library.cmu.ac.th/faculty/econ/index.php แอดัม สมิท http://ideasareimmortal.blogspot.com/2011/09/adam-smiths-wealth-of-nations.html Wealth of Nations
  • 50. 3. ด้ านการเมือง ในกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 19 กรรมกรในอังกฤษได้จดตั้งสหภาพแรงงาน ั ขึ้น เพื่อรักษาผลประโยชน์และให้ความคุมครองแก่พวกตน จนในที่สุดก็สามารถ ้ เรี ยกร้องให้มีการแก้ไขกฎหมายเลือกตั้งให้เป็ นประชาธิ ปไตยมากขึ้น ทาให้ประชาชน ทัวไปมีสิทธิ ในการเลือกตั้ง ่
  • 51. สรุป ่ กล่าวได้วา การปฏิวติวิทยาศาสตร์ และการปฏิวติอุตสาหกรรมก่อให้เกิดผลกระทบ ั ั อย่างใหญ่หลวงต่อชี วิตความเป็ นอยู่ของชาวตะวันตก โดยการปฏิ วติวิทยาศาสตร์ ทาให้ ั ชาวตะวัน ตกมองโลกและสั ง คมด้ว ยทัศ นะที่ เ ป็ นจริ งมากขึ้ น นอกจากนี้ การค้น พบ ทางวิทยาศาสตร์ ก่อให้เกิ ดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ ได้มีการนา ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ไ ปประยุก ต์ใ ช้ใ นการคิ ด ค้น ประดิ ษ ฐ์ เ ครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ห รื อ เครื่ อ งทุ่ นแรงในการดารงชี พ ต่ างๆ ท าให้เกิ ด การปฏิ ว ติอุ ต สาหกรรม และความมั่งคั่ง ั บริ บูรณ์ทางวัตถุอย่างไม่ขาดระยะ
  • 52. สรุป(ต่ อ) ส่ งผลให้โ ครงสร้ า งเศรษฐกิ จ และสั งคมที่ ลา หลัง ของยุโ รปเปลี่ ย นแปลงเป็ น ้ ประเทศอุ ต สาหกรรมอั น ทั น สมั ย ท าให้ ช าวยุ โ รปส่ ว นใหญ่ เ ริ่ มมี ส ภาพชี วิ ต ที่ สะดวกสบายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การปฏิวติอุตสาหกรรมยังมีผลให้ชนชั้นกลางและชนชั้น ั กรรมาชี พ มี บ ทบาทในสั ง คมมากขึ้ น ด้ว ย เกิ ด การรวมตัว กัน และมี บ ทบาทในการ เรี ยกร้องประชาธิปไตยในนานาประเทศในยุโรป