SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
น.ส.ชวัลพัชร ศิริอังกุล ชั้น ม.4/1ภ เลขที่ 15
น.ส.ชุฏิมำ นันไชย ชั้น ม.4/1ภ เลขที่ 16
แนวคิดเสรีนิยม (Liberalism)
นักเสรีนิยมมองว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการเสรีภาพอยู่
แล้ว
มนุษย์และสังคมไม่สามารถอยู่รอดได้หากไร้ซึ่งเสรีภาพ
จึงไม่แปลกที่แนวคิดเกี่ยวกับเสรีภาพจะมีบทบาทสาคัญในทุกๆที่
และทุกๆช่วงเวลาในประวัติศาสตร์
การเรียกร้องพื้นที่ที่ปลอดจากการถูกคุกคามจากผู้มีอานาจ
ได้ปรากฏให้เห็นตั้งแต่ในยุคโบราณและยุโรปยุคกลาง แต่ในตอนนั้น
จะมีการให้ความสาคัญกับเสรีภาพส่วนรวมมากกว่าเสรีภาพส่วน
บุคคล
เน้นการเคลื่อนไหวให้มีเสรีภาพทางการเมือง เศรษฐกิจและ
สังคม รวมทั้งการเรียกร้องสิทธิเสมอภาค นาไปสู่การ
แข่งขัน สอดคล้องกับความต้องการของชนชั้นกลางที่เติบโตขึ้น
เพราะชนชั้นกลางสามารถเลื่อนฐานะทางสังคมได้ง่าย โดยไม่ต้อง
คานึงถึงชาติกาเนิด แนวคิดนี้ทาให้เกิดการเรียกร้อง
ประชาธิปไตย นาไปสู่การปฏิวัติอเมริกา ค.ศ.1776 และการปฏิวัติใน
ฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ในทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอย่างต้องดาเนินไป
อย่างมีเสรีภาพ รัฐบาลต้องไม่แทรกแซง หน้าที่ของรัฐคือการ
ควบคุมให้การดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างเรียบร้อย
การปฏิวัติของชาวอเมริกัน (ค.ศ.175 – 1783)
เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอังกฤษ และทวงสิทธิ
เสรีภาพอันชอบทาที่พึงมีตลอดจนการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบเก่า ได้ก่อให้เกิดแนวคิดลัทธิเสรี
นิยมเป็นแรงบันดาลใจให้นักเสรีนิยมยุโรป แนวคิดเสรีนิยมจึง
แพร่หลายไปยังประเทศอื่นๆรวดเร็ว
แนวความคิดแบบเสรีนิยมก็กลายเป็นแนวความคิดทางการเมืองที่มีอิทธิพล
อย่างมาก หลังจากปฏิวัติอเมริกาในปี ค.ศ. 1776 และการปฏิวัติฝรั่งเศสในค.ศ. 1789
ศตวรรษที่ 19 คือช่วงที่แนวคิดเสรีนิยมได้พัฒนาเป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองทั่ว
โลก มีการนาแนวคิดเรื่องนิติรัฐไปใช้จริงอย่างแพร่หลาย เสรีภาพในการแสดงออก
ได้รับการรับประกัน แม้ในที่ที่ลัทธิเสรีนิยมดูเหมือนจะล้มเหลว เช่นในการปฏิวัติปี
ค.ศ. 1848 ก็ยังเห็นได้ชัดเจนว่า เป็นไปไม่ได้ที่การเมืองตามแนวคิดแบบเสรีนิยมจะ
ถูกขัดขวางอีกต่อไป
ในเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว แนวความคิดแบบเสรีนิยมซึ่งเชื่อในระบบเศรษฐกิจ
แบบกลไกตลาดสามารถสร้างความมั่งคั่งให้กับปวงชนได้ การปฏิวัติ
อุตสาหกรรม ถือเป็นก้าวแรกในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ที่มนุษย์อย่างน้อยก็
ในยุโรป สามารถเอาชนะความโหดร้ายจากความอดอยากที่เกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าเล่าจาก
ได้หลังจากปีค.ศ. 1847 เป็นต้นมาความอดอยากไม่เกิดขึ้นอีกเลยในยุโรปในช่วงที่มี
สันติภาพ
อาจเป็นไปได้ว่า การที่ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจนี้เป็นข้อพิสูจน์ถึงความสาเร็จ
อันยิ่งใหญ่ของแนวความคิดแบบเสรีนิยม นักวิจารณ์ทั้งหลายจากฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย
กับแนวความคิดแบบเสรีนิยมต่างดาหน้ากันต่อต้าน เช่น ชาร์ลส์ ดิกเกนส์ (Charles
Dickens) (แม้จะเป็นผู้สนับสนุนการมีทาส แต่ก็น่าแปลกใจที่ชื่อเสียงของเขาใน
ฐานะนักมานุษยนิยมกลับไม่กระทบกระเทือน) หรือ พวกที่อ้างว่าเป็นพวก “หัว
ก้าวหน้า” เช่นคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) อย่างไรก็ดี คาทานายทั้งหลายถึงความ
พินาศย่อยยับของระบบเสรีนิยมก็ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าไม่ถูกต้อง
ไม่มีที่ไหนเลยที่ความมั่งคั่งจะเกิดขึ้นได้โดยปราศจากระบบเศรษฐกิจแบบ
ตลาดเสรี นี่เป็นวิถีทางเดียวที่จะนาไปสู่การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
1.เสรีนิยมทางการเมือง
คริสต์ศตวรรษที่19 ก่อให้เกิดการเรียกร้องการปฏิรูปการเมืองเป็นประชาธิปไตย
แบบมีรัฐสภาที่ประชาชนมีส่วนร่วม แนวคิดเสรีนิยมในประเทศต่างของยุโรป
ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวทางการเมืองต่อมาได้นาไปสู่การปฏิรูปทางการเมือง
เพื่อขยายสิทธิการเลือกตั้งให้แก่ประชาชนในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่19
ทั่วยุโรปแนวคิดเสรีนิยมมีบทบาทเป็นแรงผลักดันให้เกิดการปฏิรูปทาง
การเมืองในประเทศต่างๆในยุโรปจนระบอบประชาธิปไตยกลายเป็นระบอบของ
ทุกๆประเทศในที่สุด
โดยนักเสรีนิยมที่สาคัญในระยะแรกๆคือ
จอห์น ล็อค
นักปรัชญาชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ให้ความสนใจในเรื่อง สังคม
และทฤษฎีความรู้
แนวคิดของล็อกที่เกี่ยวกับ การจัดการกับทรัพย์สมบัติและกับตัวของเขาเอง
อย่างไรก็ได้ตามที่เห็นสมควร ภายใต้ขอบเขตของกฎธรรมชาติ โดยไม่ขึ้นอยู่กับ
หรือเป็นทาสของเจตจานงผู้อื่น จากแนวความคิดดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า เสรีภาพ
นี้ไม่ใช่การกระทาอะไรตามอาเภอใจ แต่กระทาภายใต้กรอบของกฏเกณฑ์
จากแนวคิดของล็อคดังที่กล่าวมาแล้ว อิทธิพลของงล็อคได้ส่งผลโดยสมบูรณ์ต่อ
การปฏิวัติอเมริกา ในศตวรรษที่ 18 ในศตวรรษนั้นแนวความคิดของล็อคนิยม
โดยทั่วไป
ในส่วนเสรีภาพทางเศรษฐกิจแนวคิดแรกๆให้เอกชนประกอบกิจการทางเศรษฐกิจได้
อย่างเสรีปราศจาการควบคุมของรัฐและปล่อยให้ราคาถูกกาหนดโดยอุปสงค์อุปทาน
แนวคิดเสรีนิยมเป็นขบวนการคิดที่ไม่หยุดนิ่ง และมักเปลี่ยนแปลงตาม
สถานการณ์ทางสังคมตามความเหมาะสมและจาเป็น
2.เสรีนิยมคลาสสิกกับเสรีนิยมสมัยใหม่
เสรีนิยมคลาสสิกที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 ใน. แม้ว่าเสรีนิยมคลาสสิกที่สร้างขึ้น
บนความคิดที่ได้พัฒนาแล้วในตอนท้ายของศตวรรษที่ 18 ที่จะสนับสนุนเป็นชนิดที่
เฉพาะเจาะจงของนโยบายสังคมของรัฐบาลและประชาชนต้องเป็นผลของการปฎิวัติ
อุตสาหกรรมและกลายเป็นเมือง บุคคลที่มีชื่อเสียงที่มีส่วนร่วม เสรีนิยมคลาสสิกรวม
Jean-baptisite say, Tomas malthus และ David ricardo. แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจขอ
งอดัมสมิธ ความเข้าใจทางจิตวิทยาของเสรีภาพส่วนบุคคลกฎหมายของธรรมชาติและ
ประโยชน์และความเชื่อมั่นในความคืบหน้า คลาสสิก Liberals จัดตั้งพรรคการเมืองที่ถูก
เรียกว่า"เสรีนิยม"แม้ว่าในสหรัฐอเมริกาเสรีนิยมคลาสสิกมาครองทั้งที่มีอยู่ในพรรค
การเมืองที่สาคัญ มีการฟื้นตัวของความสนใจในเสรีนิยมคลาสสิกในศตวรรษที่ 20 นา
โดย Friedrich hayek และmildan friedman
รัฐที่มีขอบเขตอานาจที่จากัด (Minimal State) ตลาดเสรี และสันติภาพ
แนวความคิดที่ว่ากฎหมายจะมีความชอบธรรมก็ต่อเมื่อเสรีภาพส่วนบุคคลได้รับ
การยอมรับเริ่มปรากฎให้เห็นเด่นชัดในศตวรรษที่ 18 ในยุคภูมิธรรมของยุโรป
ใน Two Treatises on Government (1690) จอห์น ล็อค (John Locke)
เป็นคนแรกที่เขียนว่า บุคคลแต่ละคนย่อมเป็นเจ้าของ ความชอบธรรมของรัฐซึ่ง
อยู่บนพื้นฐานของ "สัญญาประชาคม"(Social Contract) หมายความว่าผู้ถูก
ปกครองยอมอยู่ใต้อานาจของผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองทาหน้าที่ปกป้องสิทธิ
ของประชาชนในการดารงมีเสรีภาพ มีชีวิต และทรัพย์สิน
ในระยะเวลาที่ผ่านมา หลักการดังกล่าว ซึ่งยังเป็นหัวใจของแนวคิด
แบบเสรีนิยมจนถึงปัจจุบัน ภายหลังมีการนามากลั่นกรองและพัฒนาเป็นทฤษฎี
ทางการเมืองแบบเสรีนิยมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดแบบอนุรักษ์นิยมและสังคมนิยมเริ่มเข้ามา
แทนที่แนวความคิดแบบเสรีนิยม พวกเขาเรียนรู้วิธีการขับเคลื่อนมวลชนด้วย
แนวทางแบบประชาธิปไตยจากฝ่ายเสรีนิยม และนามาเชื่อมกับข้อเรียกร้องที่มี
รากฐานความคิดที่เป็นอนุรักษ์นิยมและเพื่อผลประโยชน์พิเศษบางอย่างของตน
แม้เสรีนิยมจะพยายามที่จะปรับตนเองเพื่อความอยู่รอด เช่น ปรับเป็นเสรี
นิยมแบบสังคมนิยม แต่ก็ยังไม่สามารถหยุดยั้งขาลงของกระแสความคิดนี้ได้
การที่ยุโรปปฏิเสธหลักการการค้าเสรีตามแนวคิดเสรีนิยมไม่ใช่เป็นเพียงต้นเหตุ
ของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเท่านั้น แต่ยังทาให้นักเสรีนิยมต้องถูกลดบทบาทและ
ความสาคัญลงไปเรื่อยๆอีกด้วย ในการเผชิญหน้ากับเผด็จการในช่วงต้น
ศตวรรษที่ 20 เสรีนิยมแทบจะไม่มีทางสู้เลย จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่
สองแล้วเท่านั้น ที่โลกตะวันตกได้เริ่มมีการฟื้นฟูแนวความคิดเสรีนิยมอันนามา
ซึ่งความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจและสันติภาพอีกครั้งหนึ่ง
หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1989 มีความหวังที่ว่าแนวความคิด
เสรีนิยมจะกลับมาเป็นกระแสแนวความคิดทางการเมืองหลักอีกครั้ง ทั้งนี้ความ
เสี่ยงที่จะสูญเสียเสรีภาพยังคงมีอยู่ตลอดเวลา ความเสี่ยงดังกล่าวจะยังคงเป็นความ
ท้าทายของแนวคิดเสรีนิยมตลอดไป
แนวนโยบายหลักของรัฐแบบเสรีนิยมใหม่ ประกอบด้วย การแปรรูปบริการของ
รัฐเป็นเอกชน (Privatisation) การเปิดเสรีทางการค้าและการเงิน (Trade and
Financial liberalization) และการผ่อนคลายและลดกฎระเบียบ (Deregulation)
เพราะหลักการของเสรีนิยมใหม่ ตั้งอยู่บนฐานความเชื่อว่า เงื่อนไขที่จาเป็นของการ
อยู่ดีมีสุขของมนุษย์นั้นคือ เสรีภาพของปัจเจกบุคคล (ในการประกอบการ) ดังนั้น
โครงสร้างเชิงสถาบันที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเสรีนิยมใหม่คือ การ
คุ้มครองกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลอย่างเข้มงวดและระบบตลาดแข่งขันเสรี
ลัทธิเสรีนิยมใหม่ปรากฏโฉมหน้าให้เห็นอย่างชัดเจนในทศวรรษ 1970
ภายหลังผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศนาทางอุตสาหกรรมอย่างสหรัฐฯ
และอังกฤษเสื่อมความเชื่อมั่นในลัทธิเศรษฐกิจการเมืองแบบเคนส์เซียน
(Keynesianism) ที่ไม่สามารถควบคุมและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต่าที่มีปัญหาการ
ว่างงานควบคู่กับภาวะเงินเฟ้อสูง (stagflation) ได้
ในเดือนพฤษภาคม ปี 1979 มากาเรต แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) ได้รับเลือกตั้งให้
ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ พร้อมด้วยภารกิจในการปฏิรูประบบ
เศรษฐกิจ ด้วยอิทธิพลของเสรีนิยมใหม่ เธอยอมรับว่าจาเป็นจะต้องละทิ้งนโยบายแบบ
เคนส์เซียนและหันมาใช้วิธีการบริหารตามแนวทฤษฎีสานักการเงินนิยม (monetarism)
หรือแบบเน้นอุปทาน (supply-side) เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่อังกฤษประสบอยู่
ในช่วงทศวรรษ 1970
กระบวนการทาให้เป็นเสรีนิยมใหม่ (neoliberalisation) หยิบฉวยเอาทุนทาง
วัฒนธรรมแบบเสรีนิยมที่ฝังราก (Embedded liberalism) อย่างมั่นคง ในสังคม
ตะวันตก โดยผู้นากระบวนการนี้ได้เน้นนาคุณค่าที่เป็นเสาหลักของแนวคิดเสรีนิยมคือ
“อิสรภาพและเสรีภาพส่วนบุคคล” รวมทั้งรังสรรค์ปั้นแต่งใหม่ด้วยกลวิธีตอกย้า
(ละเลย) คุณค่าที่พึงปรารถนา (ไม่พึงปรารถนา) ในสายตาของตน เพื่อออกแบบ ผลิต
และผลิตซ้าคุณค่าเหล่านั้นให้เข้าแทนที่คุณค่าเดิมและผสมกลมกลืนกับคุณค่าอื่นอย่าง
แนบเนียนจนกลายเป็น “สามัญสานึก” ของสมาชิกแต่ละคนในสังคม
ดังคากล่าวที่โด่งดังของแทตเชอร์ประโยคหนึ่งว่า « no such thing as society,
only individual men and women » ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการประกาศสงครามต่อ
อุดมคติแบบสังคมนิยม (หรือคุณค่าที่เสนอโดยพรรคแรงงาน พรรคการเมืองคู่แข่ง
ฝ่ายซ้าย) ด้วยการตอกย้าอุดมคติแบบปัจเจกนิยม (individualism) ครั้งแล้วครั้งเล่า
อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 11 ปีที่เธอดารงตาแหน่งนายกฯ ถึงความเป็นสากล
แท้จริงและอยู่เหนือสังคมของสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกชน ผลที่เกิดขึ้น
ก็คือ เธอประสบความสาเร็จอย่างยิ่งใหญ่ในการเปลี่ยนโฉมหน้าของเศรษฐกิจและ
สังคมอังกฤษ และสามารถทาลายพื้นที่ในสังคมของขบวนการเคลื่อนไหวทางการ
เมืองของชนชั้นแรงงานอย่างราบคาบ
ประการที่1: บทบาทของรัฐจะต้องมีอยู่จากัด
การดาเนินการ และ การใช้อานาจใดๆ ของรัฐ จะต้องยึดมั่นในหลักการปกป้อง
สิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเคร่งครัด ความคิดดังกล่าวของล็อกได้รับการ
พัฒนาเพิ่มเติมโดยมองเตสกิเออร์ (Montesquieu) เอมานูเอล คานท์ (Immanuel
Kant) วิลเฮม ฟอน ฮุมโบลท์ (Wilhelm von Humboldt) โธมัส เจฟเฟอร์สัน
(Thomas Jefferson) จอห์น สจ๊วร์ต มิลล์(John Stuart Mill) และนักปราชญ์อื่นๆ
อีกมากมาย
ประการที่2: ตลาดเสรี
เสรีภาพทางเศรษฐกิจคือหนทางที่ดีที่สุดที่จะนาไปสู่ความมั่งคั่งของทุกคน เป็น
แนวความคิดที่นักเศรษฐศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่นับตั้งแต่อดัม สมิธ (Adam Smith)
จนถึงลุดวิค ฟอน มีซ (Ludwig von Mises) และฟรีดิช เอ ฟอน ฮาเย็ค (Friedrich
A. von Hayek) ได้อธิบายอย่างเป็นระบบตลอดมา
ประการที่3: สันติภาพ
นักเสรีนิยมให้ความสาคัญทั้งกับสันติภาพภายในประเทศและสันติภาพระหว่าง
ประเทศ ในปี ค.ศ. 1975 ในงานเขียนที่ชื่อว่า “ณ สันติภาพตลอดกาล” (On Eternal
Peace) คานท์ได้จารึกแนวความคิดในเรื่องสันติภาพได้ลงในผลงานเขียนที่เป็นอัม
ตะ สงครามเป็นต้นเหตุที่สาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดการทาลายเสรีภาพ
เพราะฉะนั้นเสรีภาพจึงเป็น “ยา”ที่ใช้ในการต่อต้านสงครามได้ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้
เองเสรีภาพในการเดินทาง การเปิดพรมแดน และ การค้าเสรี จึงเป็นข้อเรียก ร้อง
พื้นฐานของนักคิดแนวเสรีนิยม
นักคิดเสรีนิยมในช่วงหลัง
1.ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์ (Charles de Montesqieu) หรือ
ชารล์ หลุยส์ เดอ เซก้องม บารอน เดอ ลา เบร์ด เอ็ท เดอ
มองเตสกิเออร์ (Charles Louis de Secondat, baron de la
Brede et de Montesquieu)
มองเตสกิเออร์เป็นหนึ่งในบรรดาตัวแทนที่ทรง
อิทธิพลและเป็นที่รู้จักในยุคภูมิธรรมในฝรั่งเศส ความสนใจ
ในศาสตร์อันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ประวัติศาสตร์
ปรัชญา กฎหมาย การเมืองส่งผลให้เขาอยู่บนเส้นทางอาชีพ
อันโดดเด่น ผู้พิพากษา นักการเมือง นักประพันธ์รวมทั้งนัก
คิดทางการเมืองในฐานะนักวิชาการผู้ประสบความสาเร็จใน
ประวัติศาสตร์การเมืองโบราณ เขาได้ประพันธ์งานเรื่อง
“The Guardeur and Decadence of Romans” (1734)
ในขณะเดินทางอย่างต่อเนื่องเพื่อศึกษาการพัฒนาทางการเมืองของยุโรป หลังจาก
พานักอยู่ในอังกฤษเป็นเวลา 2 ปี และเป็นที่ชื่อชมของจอห์น ล็อค (John Lock) และ
รัฐสภาอังกฤษ มองเตสกิเออร์ได้ประพันธ์งานที่โด่งดังไปทั่วเรื่อง “The Spirits of the
Laws” ซึ่งเป็นหนังสือที่เป็นที่กล่าวขวัญทั่วยุโรปหลังจากได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน
ปี ค.ศ. 1748 เป็นช่วงเวลาที่เขาได้สร้างสิ่งที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันนี้ กล่าวคือ ทฤษฎี
แบ่งแยกอานาจในระบอบการปกครองที่เสรีและใช้ได้จริง หากปราศจากการการคาน
อานาจกันระหว่างอานาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการก็จะไม่เกิดเสรีภาพและการ
ป้องกันการใช้อานาจในทางที่ผิด พื้นฐานแนวคิดดังกล่าวกลายเป็นต้นแบบของ
แนวคิดประชาธิปไตยเสรีที่นามาใช้ในประเทศที่มีอารยะทั่วโลก แม้ว่าระบอบเผด็จ
การยังอยู่รอดอย่างดีมาด้วยก็ตาม มองเตสกิเออร์ยังเป็นต้นแบบในเศรษฐศาสตร์
การเมืองจากการศึกษาความแตกต่างของการพัฒนาเศรษฐกิจของยุโรปและเอเชีย
รวมทั้งให้ความสาคัญกับการแข็งขันในตลาดเสรีเพื่อกาหนดราคาที่ถูกต้องให้แก่
สินค้า
2.วิลเฮลม์ ฟอน ฮุมโบลด์ (Wilhelm von Humboldt)
ผลงานเรื่อง “The Limits of State Action” ทาให้เขา
กลายเป็นหนึ่งในนักคิดที่สาคัญของเยอรมนี แนวคิดของเขา
เรื่องการพัฒนาตนเองของมนุษย์และบทบาทของรัฐได้สร้าง
แรงบันดาลใจให้แก่นักปรัชญาและนักการเมืองหลายคน
หนึ่งในนั้นได้แก่ จอห์น สจวตต์ มิลล์ได้เสนอข้อโต้แย้งใน
เรียงความอันโด่งดังของเขาว่ารัฐหนึ่งที่มุ่งแต่ค้นหาสิ่งต่าง
รวมทั้งความปลอดภัยทางร่างกายต่อประชาชนนั้นจะทาลาย
เสรีภาพและความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละปัจเจกบุคคลอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งเดียวที่จะนาไปสู่ความก้าวหน้าในสังคม
แบบเสรีนั้นคือการปฏิสัมพันธ์กันอย่างเสรีตามความคิดของ
เขานั้นมนุษย์จะต้องขวนขวายเพื่อฝึกฝนตนเองในสังคมโดย
จาเป็นต้องใช้สังคมในการนาไปสู่การพัฒนา
3.เอฟ อาร์ ฟอน ฮาเย็ค (F. A. von Hayak)
ผลงานของฮาเย็คที่นาเสนอปัญหาของข้อมูลในระเบียบวิธีของ
ลุดวิค ฟอน ไมส์ (Ludwig von Mises) และการใช้และข้อจากัดของ
ความรู้ เป็นแนวคิดเชิงทฤษฎีสาคัญที่สร้างคุโณปการอย่างยิ่งต่อ
ปรัชญาสังคม, กระบวนการเชิงซ้อนของการจัดระเบียบตาม
สัญชาตญาณหรือแม้แต่ชีววิทยาประสาทในปัจจุบัน เช่นเดียวกับ
ผลงานทางทฤษฎีชิ้นอื่นๆของเขา ผลงานชิ้นดังกล่าวนี้สัมพันธ์กัน
อย่างแนบแน่นกับแนวคิดของเขาที่สนับสนุนการแข่งขันในตลาด
เสรีและการก่อตั้งระบบการการจายอานาจอานาจทางการเมือง
รวมทั้งการควบคุมการใช้อานาจรัฐ กล่าวคือ ฮาเย็คเห็นว่า การ
แข่งขันเป็นกระบวนการที่ดีที่สุดในการค้นหาทางใหม่ๆภายใต้
สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และเป็นทางออกที่เปิดโอกาสให้แต่ละ
บุคคลแสวงหาความสุขสู่ชีวิตที่มีคุณค่าตามครรลองครองธรรม
4.ลุดวิก ฟอน ไมส์ (Ludwig von Mises)
ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1922 เขาได้คาดการณ์ถึงการล่มสลาย
ของการวางแผนจากส่วนกลางในระบบเศรษฐกิจในหนังสือ
ของเขาที่ชื่อว่า “Die Gemeinschaft” (หรือ “Socialism” ใน
ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ) ไมส์ยืนยันว่าระบบสังคมนิยมนั้น
ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะว่าแนวคิด
ดังกล่าวไม่มีระบบกลไกราคาของตลาดเพื่อคานวณผลกาไร
และขาดทุน ในหนังสือ “Liberalism” ไมส์ได้อธิบายถึงแนวคิด
สังคมเสรีและระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาดว่าเป็นเหมือน
แนวคิดโต้กลับของอุดมคติที่แพร่หลายไปหมู่นักวิชาการและ
นักการเมืองในเวลานั้น ตลอดช่วงชีวิตของไมส์ได้ต่อสู้เพื่อ
ต่อต้านอานาจการควบคุมของรัฐและรณรงค์ให้เกิดเสรีภาพ
ส่วนบุคคลและกลไกตลาดทางเศรษฐกิจ
5.อเล็กซิส เดอ ท็อกเกอร์วิลล์ (Alexis de Tocqueville)
ท็อกเกอร์วิลล์มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญใน
สาธารณรัฐที่สองและดารงตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวง
ต่างประเทศของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1849 หลังจากสละ
ตาแหน่งรัฐมนตรีในปีเดียวกัน เขาเอาใจใส่ผลงานประพันธ์
ของเขาเรื่อง “The Old Regime and the French Revolution”
เขาไม่เห็นด้วยที่การปฏิวัติได้นาไปสู่การเพิ่มภาษีอันเป็นการ
เพิ่มภาระและการดึงอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางมากกว่าการสร้าง
รูปแบบอานาจเบ็ดเสร็จ
คำถำม
1.เสรีนิยมคลาสสิกที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษใด
ก.19
ข.20
ค.15
ง.18
2. ผลงานของฮาเย็คที่นาเสนอปัญหาของข้อมูลในระเบียบ
วิธีของใคร
ก. อเล็กซิส เดอ ท็อกเกอร์วิลล์
ข. ลุดวิค ฟอน ไมส์
ค. ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์
ง. วิลเฮลม์ ฟอน ฮุมโบลด์
3.เสรีนิยมมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ก.2ประเภท เสรีนิยมทางการเมือง และเสรีนิยมคลาสสิกกับเสรีนิยมสมัยใหม่
ข.3ประเภท เสรนิยมทางการเมือง และเสรีนิยมสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ค.1ประเภท เสรีนิยมทางการเมือง
ง.ถูกข้อ ก และ ข

More Related Content

What's hot

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
Watermalon Singha
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Nonsawan Exschool
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 

Similar to แนวคิดเสรีนิยม

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
AlittleDordream Topten
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757
CUPress
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
Lilrat Witsawachatkun
 
Ep9
Ep9Ep9

Similar to แนวคิดเสรีนิยม (9)

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
Pw6
Pw6Pw6
Pw6
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
 
57
5757
57
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
 
Ep9
Ep9Ep9
Ep9
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 

แนวคิดเสรีนิยม

  • 1.
  • 2. จัดทำโดย น.ส.ชวัลพัชร ศิริอังกุล ชั้น ม.4/1ภ เลขที่ 15 น.ส.ชุฏิมำ นันไชย ชั้น ม.4/1ภ เลขที่ 16
  • 3. แนวคิดเสรีนิยม (Liberalism) นักเสรีนิยมมองว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการเสรีภาพอยู่ แล้ว มนุษย์และสังคมไม่สามารถอยู่รอดได้หากไร้ซึ่งเสรีภาพ จึงไม่แปลกที่แนวคิดเกี่ยวกับเสรีภาพจะมีบทบาทสาคัญในทุกๆที่ และทุกๆช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ การเรียกร้องพื้นที่ที่ปลอดจากการถูกคุกคามจากผู้มีอานาจ ได้ปรากฏให้เห็นตั้งแต่ในยุคโบราณและยุโรปยุคกลาง แต่ในตอนนั้น จะมีการให้ความสาคัญกับเสรีภาพส่วนรวมมากกว่าเสรีภาพส่วน บุคคล
  • 4. เน้นการเคลื่อนไหวให้มีเสรีภาพทางการเมือง เศรษฐกิจและ สังคม รวมทั้งการเรียกร้องสิทธิเสมอภาค นาไปสู่การ แข่งขัน สอดคล้องกับความต้องการของชนชั้นกลางที่เติบโตขึ้น เพราะชนชั้นกลางสามารถเลื่อนฐานะทางสังคมได้ง่าย โดยไม่ต้อง คานึงถึงชาติกาเนิด แนวคิดนี้ทาให้เกิดการเรียกร้อง ประชาธิปไตย นาไปสู่การปฏิวัติอเมริกา ค.ศ.1776 และการปฏิวัติใน ฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ในทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอย่างต้องดาเนินไป อย่างมีเสรีภาพ รัฐบาลต้องไม่แทรกแซง หน้าที่ของรัฐคือการ ควบคุมให้การดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างเรียบร้อย
  • 5. การปฏิวัติของชาวอเมริกัน (ค.ศ.175 – 1783) เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอังกฤษ และทวงสิทธิ เสรีภาพอันชอบทาที่พึงมีตลอดจนการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบเก่า ได้ก่อให้เกิดแนวคิดลัทธิเสรี นิยมเป็นแรงบันดาลใจให้นักเสรีนิยมยุโรป แนวคิดเสรีนิยมจึง แพร่หลายไปยังประเทศอื่นๆรวดเร็ว
  • 6.
  • 7. แนวความคิดแบบเสรีนิยมก็กลายเป็นแนวความคิดทางการเมืองที่มีอิทธิพล อย่างมาก หลังจากปฏิวัติอเมริกาในปี ค.ศ. 1776 และการปฏิวัติฝรั่งเศสในค.ศ. 1789 ศตวรรษที่ 19 คือช่วงที่แนวคิดเสรีนิยมได้พัฒนาเป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองทั่ว โลก มีการนาแนวคิดเรื่องนิติรัฐไปใช้จริงอย่างแพร่หลาย เสรีภาพในการแสดงออก ได้รับการรับประกัน แม้ในที่ที่ลัทธิเสรีนิยมดูเหมือนจะล้มเหลว เช่นในการปฏิวัติปี ค.ศ. 1848 ก็ยังเห็นได้ชัดเจนว่า เป็นไปไม่ได้ที่การเมืองตามแนวคิดแบบเสรีนิยมจะ ถูกขัดขวางอีกต่อไป ในเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว แนวความคิดแบบเสรีนิยมซึ่งเชื่อในระบบเศรษฐกิจ แบบกลไกตลาดสามารถสร้างความมั่งคั่งให้กับปวงชนได้ การปฏิวัติ อุตสาหกรรม ถือเป็นก้าวแรกในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ที่มนุษย์อย่างน้อยก็ ในยุโรป สามารถเอาชนะความโหดร้ายจากความอดอยากที่เกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าเล่าจาก ได้หลังจากปีค.ศ. 1847 เป็นต้นมาความอดอยากไม่เกิดขึ้นอีกเลยในยุโรปในช่วงที่มี สันติภาพ
  • 8. อาจเป็นไปได้ว่า การที่ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจนี้เป็นข้อพิสูจน์ถึงความสาเร็จ อันยิ่งใหญ่ของแนวความคิดแบบเสรีนิยม นักวิจารณ์ทั้งหลายจากฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย กับแนวความคิดแบบเสรีนิยมต่างดาหน้ากันต่อต้าน เช่น ชาร์ลส์ ดิกเกนส์ (Charles Dickens) (แม้จะเป็นผู้สนับสนุนการมีทาส แต่ก็น่าแปลกใจที่ชื่อเสียงของเขาใน ฐานะนักมานุษยนิยมกลับไม่กระทบกระเทือน) หรือ พวกที่อ้างว่าเป็นพวก “หัว ก้าวหน้า” เช่นคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) อย่างไรก็ดี คาทานายทั้งหลายถึงความ พินาศย่อยยับของระบบเสรีนิยมก็ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าไม่ถูกต้อง ไม่มีที่ไหนเลยที่ความมั่งคั่งจะเกิดขึ้นได้โดยปราศจากระบบเศรษฐกิจแบบ ตลาดเสรี นี่เป็นวิถีทางเดียวที่จะนาไปสู่การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
  • 9. 1.เสรีนิยมทางการเมือง คริสต์ศตวรรษที่19 ก่อให้เกิดการเรียกร้องการปฏิรูปการเมืองเป็นประชาธิปไตย แบบมีรัฐสภาที่ประชาชนมีส่วนร่วม แนวคิดเสรีนิยมในประเทศต่างของยุโรป ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวทางการเมืองต่อมาได้นาไปสู่การปฏิรูปทางการเมือง เพื่อขยายสิทธิการเลือกตั้งให้แก่ประชาชนในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่19 ทั่วยุโรปแนวคิดเสรีนิยมมีบทบาทเป็นแรงผลักดันให้เกิดการปฏิรูปทาง การเมืองในประเทศต่างๆในยุโรปจนระบอบประชาธิปไตยกลายเป็นระบอบของ ทุกๆประเทศในที่สุด โดยนักเสรีนิยมที่สาคัญในระยะแรกๆคือ
  • 10. จอห์น ล็อค นักปรัชญาชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ให้ความสนใจในเรื่อง สังคม และทฤษฎีความรู้ แนวคิดของล็อกที่เกี่ยวกับ การจัดการกับทรัพย์สมบัติและกับตัวของเขาเอง อย่างไรก็ได้ตามที่เห็นสมควร ภายใต้ขอบเขตของกฎธรรมชาติ โดยไม่ขึ้นอยู่กับ หรือเป็นทาสของเจตจานงผู้อื่น จากแนวความคิดดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า เสรีภาพ นี้ไม่ใช่การกระทาอะไรตามอาเภอใจ แต่กระทาภายใต้กรอบของกฏเกณฑ์ จากแนวคิดของล็อคดังที่กล่าวมาแล้ว อิทธิพลของงล็อคได้ส่งผลโดยสมบูรณ์ต่อ การปฏิวัติอเมริกา ในศตวรรษที่ 18 ในศตวรรษนั้นแนวความคิดของล็อคนิยม โดยทั่วไป
  • 11.
  • 13. 2.เสรีนิยมคลาสสิกกับเสรีนิยมสมัยใหม่ เสรีนิยมคลาสสิกที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 ใน. แม้ว่าเสรีนิยมคลาสสิกที่สร้างขึ้น บนความคิดที่ได้พัฒนาแล้วในตอนท้ายของศตวรรษที่ 18 ที่จะสนับสนุนเป็นชนิดที่ เฉพาะเจาะจงของนโยบายสังคมของรัฐบาลและประชาชนต้องเป็นผลของการปฎิวัติ อุตสาหกรรมและกลายเป็นเมือง บุคคลที่มีชื่อเสียงที่มีส่วนร่วม เสรีนิยมคลาสสิกรวม Jean-baptisite say, Tomas malthus และ David ricardo. แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจขอ งอดัมสมิธ ความเข้าใจทางจิตวิทยาของเสรีภาพส่วนบุคคลกฎหมายของธรรมชาติและ ประโยชน์และความเชื่อมั่นในความคืบหน้า คลาสสิก Liberals จัดตั้งพรรคการเมืองที่ถูก เรียกว่า"เสรีนิยม"แม้ว่าในสหรัฐอเมริกาเสรีนิยมคลาสสิกมาครองทั้งที่มีอยู่ในพรรค การเมืองที่สาคัญ มีการฟื้นตัวของความสนใจในเสรีนิยมคลาสสิกในศตวรรษที่ 20 นา โดย Friedrich hayek และmildan friedman
  • 14. รัฐที่มีขอบเขตอานาจที่จากัด (Minimal State) ตลาดเสรี และสันติภาพ แนวความคิดที่ว่ากฎหมายจะมีความชอบธรรมก็ต่อเมื่อเสรีภาพส่วนบุคคลได้รับ การยอมรับเริ่มปรากฎให้เห็นเด่นชัดในศตวรรษที่ 18 ในยุคภูมิธรรมของยุโรป ใน Two Treatises on Government (1690) จอห์น ล็อค (John Locke) เป็นคนแรกที่เขียนว่า บุคคลแต่ละคนย่อมเป็นเจ้าของ ความชอบธรรมของรัฐซึ่ง อยู่บนพื้นฐานของ "สัญญาประชาคม"(Social Contract) หมายความว่าผู้ถูก ปกครองยอมอยู่ใต้อานาจของผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองทาหน้าที่ปกป้องสิทธิ ของประชาชนในการดารงมีเสรีภาพ มีชีวิต และทรัพย์สิน ในระยะเวลาที่ผ่านมา หลักการดังกล่าว ซึ่งยังเป็นหัวใจของแนวคิด แบบเสรีนิยมจนถึงปัจจุบัน ภายหลังมีการนามากลั่นกรองและพัฒนาเป็นทฤษฎี ทางการเมืองแบบเสรีนิยมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
  • 15. ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดแบบอนุรักษ์นิยมและสังคมนิยมเริ่มเข้ามา แทนที่แนวความคิดแบบเสรีนิยม พวกเขาเรียนรู้วิธีการขับเคลื่อนมวลชนด้วย แนวทางแบบประชาธิปไตยจากฝ่ายเสรีนิยม และนามาเชื่อมกับข้อเรียกร้องที่มี รากฐานความคิดที่เป็นอนุรักษ์นิยมและเพื่อผลประโยชน์พิเศษบางอย่างของตน แม้เสรีนิยมจะพยายามที่จะปรับตนเองเพื่อความอยู่รอด เช่น ปรับเป็นเสรี นิยมแบบสังคมนิยม แต่ก็ยังไม่สามารถหยุดยั้งขาลงของกระแสความคิดนี้ได้ การที่ยุโรปปฏิเสธหลักการการค้าเสรีตามแนวคิดเสรีนิยมไม่ใช่เป็นเพียงต้นเหตุ ของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเท่านั้น แต่ยังทาให้นักเสรีนิยมต้องถูกลดบทบาทและ ความสาคัญลงไปเรื่อยๆอีกด้วย ในการเผชิญหน้ากับเผด็จการในช่วงต้น ศตวรรษที่ 20 เสรีนิยมแทบจะไม่มีทางสู้เลย จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ สองแล้วเท่านั้น ที่โลกตะวันตกได้เริ่มมีการฟื้นฟูแนวความคิดเสรีนิยมอันนามา ซึ่งความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจและสันติภาพอีกครั้งหนึ่ง
  • 16. หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1989 มีความหวังที่ว่าแนวความคิด เสรีนิยมจะกลับมาเป็นกระแสแนวความคิดทางการเมืองหลักอีกครั้ง ทั้งนี้ความ เสี่ยงที่จะสูญเสียเสรีภาพยังคงมีอยู่ตลอดเวลา ความเสี่ยงดังกล่าวจะยังคงเป็นความ ท้าทายของแนวคิดเสรีนิยมตลอดไป
  • 17. แนวนโยบายหลักของรัฐแบบเสรีนิยมใหม่ ประกอบด้วย การแปรรูปบริการของ รัฐเป็นเอกชน (Privatisation) การเปิดเสรีทางการค้าและการเงิน (Trade and Financial liberalization) และการผ่อนคลายและลดกฎระเบียบ (Deregulation) เพราะหลักการของเสรีนิยมใหม่ ตั้งอยู่บนฐานความเชื่อว่า เงื่อนไขที่จาเป็นของการ อยู่ดีมีสุขของมนุษย์นั้นคือ เสรีภาพของปัจเจกบุคคล (ในการประกอบการ) ดังนั้น โครงสร้างเชิงสถาบันที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเสรีนิยมใหม่คือ การ คุ้มครองกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลอย่างเข้มงวดและระบบตลาดแข่งขันเสรี ลัทธิเสรีนิยมใหม่ปรากฏโฉมหน้าให้เห็นอย่างชัดเจนในทศวรรษ 1970 ภายหลังผู้กาหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศนาทางอุตสาหกรรมอย่างสหรัฐฯ และอังกฤษเสื่อมความเชื่อมั่นในลัทธิเศรษฐกิจการเมืองแบบเคนส์เซียน (Keynesianism) ที่ไม่สามารถควบคุมและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต่าที่มีปัญหาการ ว่างงานควบคู่กับภาวะเงินเฟ้อสูง (stagflation) ได้
  • 18. ในเดือนพฤษภาคม ปี 1979 มากาเรต แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) ได้รับเลือกตั้งให้ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ พร้อมด้วยภารกิจในการปฏิรูประบบ เศรษฐกิจ ด้วยอิทธิพลของเสรีนิยมใหม่ เธอยอมรับว่าจาเป็นจะต้องละทิ้งนโยบายแบบ เคนส์เซียนและหันมาใช้วิธีการบริหารตามแนวทฤษฎีสานักการเงินนิยม (monetarism) หรือแบบเน้นอุปทาน (supply-side) เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่อังกฤษประสบอยู่ ในช่วงทศวรรษ 1970 กระบวนการทาให้เป็นเสรีนิยมใหม่ (neoliberalisation) หยิบฉวยเอาทุนทาง วัฒนธรรมแบบเสรีนิยมที่ฝังราก (Embedded liberalism) อย่างมั่นคง ในสังคม ตะวันตก โดยผู้นากระบวนการนี้ได้เน้นนาคุณค่าที่เป็นเสาหลักของแนวคิดเสรีนิยมคือ “อิสรภาพและเสรีภาพส่วนบุคคล” รวมทั้งรังสรรค์ปั้นแต่งใหม่ด้วยกลวิธีตอกย้า (ละเลย) คุณค่าที่พึงปรารถนา (ไม่พึงปรารถนา) ในสายตาของตน เพื่อออกแบบ ผลิต และผลิตซ้าคุณค่าเหล่านั้นให้เข้าแทนที่คุณค่าเดิมและผสมกลมกลืนกับคุณค่าอื่นอย่าง แนบเนียนจนกลายเป็น “สามัญสานึก” ของสมาชิกแต่ละคนในสังคม
  • 19. ดังคากล่าวที่โด่งดังของแทตเชอร์ประโยคหนึ่งว่า « no such thing as society, only individual men and women » ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการประกาศสงครามต่อ อุดมคติแบบสังคมนิยม (หรือคุณค่าที่เสนอโดยพรรคแรงงาน พรรคการเมืองคู่แข่ง ฝ่ายซ้าย) ด้วยการตอกย้าอุดมคติแบบปัจเจกนิยม (individualism) ครั้งแล้วครั้งเล่า อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 11 ปีที่เธอดารงตาแหน่งนายกฯ ถึงความเป็นสากล แท้จริงและอยู่เหนือสังคมของสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกชน ผลที่เกิดขึ้น ก็คือ เธอประสบความสาเร็จอย่างยิ่งใหญ่ในการเปลี่ยนโฉมหน้าของเศรษฐกิจและ สังคมอังกฤษ และสามารถทาลายพื้นที่ในสังคมของขบวนการเคลื่อนไหวทางการ เมืองของชนชั้นแรงงานอย่างราบคาบ
  • 20. ประการที่1: บทบาทของรัฐจะต้องมีอยู่จากัด การดาเนินการ และ การใช้อานาจใดๆ ของรัฐ จะต้องยึดมั่นในหลักการปกป้อง สิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเคร่งครัด ความคิดดังกล่าวของล็อกได้รับการ พัฒนาเพิ่มเติมโดยมองเตสกิเออร์ (Montesquieu) เอมานูเอล คานท์ (Immanuel Kant) วิลเฮม ฟอน ฮุมโบลท์ (Wilhelm von Humboldt) โธมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) จอห์น สจ๊วร์ต มิลล์(John Stuart Mill) และนักปราชญ์อื่นๆ อีกมากมาย ประการที่2: ตลาดเสรี เสรีภาพทางเศรษฐกิจคือหนทางที่ดีที่สุดที่จะนาไปสู่ความมั่งคั่งของทุกคน เป็น แนวความคิดที่นักเศรษฐศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่นับตั้งแต่อดัม สมิธ (Adam Smith) จนถึงลุดวิค ฟอน มีซ (Ludwig von Mises) และฟรีดิช เอ ฟอน ฮาเย็ค (Friedrich A. von Hayek) ได้อธิบายอย่างเป็นระบบตลอดมา
  • 21. ประการที่3: สันติภาพ นักเสรีนิยมให้ความสาคัญทั้งกับสันติภาพภายในประเทศและสันติภาพระหว่าง ประเทศ ในปี ค.ศ. 1975 ในงานเขียนที่ชื่อว่า “ณ สันติภาพตลอดกาล” (On Eternal Peace) คานท์ได้จารึกแนวความคิดในเรื่องสันติภาพได้ลงในผลงานเขียนที่เป็นอัม ตะ สงครามเป็นต้นเหตุที่สาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดการทาลายเสรีภาพ เพราะฉะนั้นเสรีภาพจึงเป็น “ยา”ที่ใช้ในการต่อต้านสงครามได้ดีที่สุด ด้วยเหตุนี้ เองเสรีภาพในการเดินทาง การเปิดพรมแดน และ การค้าเสรี จึงเป็นข้อเรียก ร้อง พื้นฐานของนักคิดแนวเสรีนิยม
  • 22. นักคิดเสรีนิยมในช่วงหลัง 1.ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์ (Charles de Montesqieu) หรือ ชารล์ หลุยส์ เดอ เซก้องม บารอน เดอ ลา เบร์ด เอ็ท เดอ มองเตสกิเออร์ (Charles Louis de Secondat, baron de la Brede et de Montesquieu) มองเตสกิเออร์เป็นหนึ่งในบรรดาตัวแทนที่ทรง อิทธิพลและเป็นที่รู้จักในยุคภูมิธรรมในฝรั่งเศส ความสนใจ ในศาสตร์อันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ประวัติศาสตร์ ปรัชญา กฎหมาย การเมืองส่งผลให้เขาอยู่บนเส้นทางอาชีพ อันโดดเด่น ผู้พิพากษา นักการเมือง นักประพันธ์รวมทั้งนัก คิดทางการเมืองในฐานะนักวิชาการผู้ประสบความสาเร็จใน ประวัติศาสตร์การเมืองโบราณ เขาได้ประพันธ์งานเรื่อง “The Guardeur and Decadence of Romans” (1734)
  • 23. ในขณะเดินทางอย่างต่อเนื่องเพื่อศึกษาการพัฒนาทางการเมืองของยุโรป หลังจาก พานักอยู่ในอังกฤษเป็นเวลา 2 ปี และเป็นที่ชื่อชมของจอห์น ล็อค (John Lock) และ รัฐสภาอังกฤษ มองเตสกิเออร์ได้ประพันธ์งานที่โด่งดังไปทั่วเรื่อง “The Spirits of the Laws” ซึ่งเป็นหนังสือที่เป็นที่กล่าวขวัญทั่วยุโรปหลังจากได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน ปี ค.ศ. 1748 เป็นช่วงเวลาที่เขาได้สร้างสิ่งที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันนี้ กล่าวคือ ทฤษฎี แบ่งแยกอานาจในระบอบการปกครองที่เสรีและใช้ได้จริง หากปราศจากการการคาน อานาจกันระหว่างอานาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการก็จะไม่เกิดเสรีภาพและการ ป้องกันการใช้อานาจในทางที่ผิด พื้นฐานแนวคิดดังกล่าวกลายเป็นต้นแบบของ แนวคิดประชาธิปไตยเสรีที่นามาใช้ในประเทศที่มีอารยะทั่วโลก แม้ว่าระบอบเผด็จ การยังอยู่รอดอย่างดีมาด้วยก็ตาม มองเตสกิเออร์ยังเป็นต้นแบบในเศรษฐศาสตร์ การเมืองจากการศึกษาความแตกต่างของการพัฒนาเศรษฐกิจของยุโรปและเอเชีย รวมทั้งให้ความสาคัญกับการแข็งขันในตลาดเสรีเพื่อกาหนดราคาที่ถูกต้องให้แก่ สินค้า
  • 24. 2.วิลเฮลม์ ฟอน ฮุมโบลด์ (Wilhelm von Humboldt) ผลงานเรื่อง “The Limits of State Action” ทาให้เขา กลายเป็นหนึ่งในนักคิดที่สาคัญของเยอรมนี แนวคิดของเขา เรื่องการพัฒนาตนเองของมนุษย์และบทบาทของรัฐได้สร้าง แรงบันดาลใจให้แก่นักปรัชญาและนักการเมืองหลายคน หนึ่งในนั้นได้แก่ จอห์น สจวตต์ มิลล์ได้เสนอข้อโต้แย้งใน เรียงความอันโด่งดังของเขาว่ารัฐหนึ่งที่มุ่งแต่ค้นหาสิ่งต่าง รวมทั้งความปลอดภัยทางร่างกายต่อประชาชนนั้นจะทาลาย เสรีภาพและความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละปัจเจกบุคคลอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งเดียวที่จะนาไปสู่ความก้าวหน้าในสังคม แบบเสรีนั้นคือการปฏิสัมพันธ์กันอย่างเสรีตามความคิดของ เขานั้นมนุษย์จะต้องขวนขวายเพื่อฝึกฝนตนเองในสังคมโดย จาเป็นต้องใช้สังคมในการนาไปสู่การพัฒนา
  • 25. 3.เอฟ อาร์ ฟอน ฮาเย็ค (F. A. von Hayak) ผลงานของฮาเย็คที่นาเสนอปัญหาของข้อมูลในระเบียบวิธีของ ลุดวิค ฟอน ไมส์ (Ludwig von Mises) และการใช้และข้อจากัดของ ความรู้ เป็นแนวคิดเชิงทฤษฎีสาคัญที่สร้างคุโณปการอย่างยิ่งต่อ ปรัชญาสังคม, กระบวนการเชิงซ้อนของการจัดระเบียบตาม สัญชาตญาณหรือแม้แต่ชีววิทยาประสาทในปัจจุบัน เช่นเดียวกับ ผลงานทางทฤษฎีชิ้นอื่นๆของเขา ผลงานชิ้นดังกล่าวนี้สัมพันธ์กัน อย่างแนบแน่นกับแนวคิดของเขาที่สนับสนุนการแข่งขันในตลาด เสรีและการก่อตั้งระบบการการจายอานาจอานาจทางการเมือง รวมทั้งการควบคุมการใช้อานาจรัฐ กล่าวคือ ฮาเย็คเห็นว่า การ แข่งขันเป็นกระบวนการที่ดีที่สุดในการค้นหาทางใหม่ๆภายใต้ สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และเป็นทางออกที่เปิดโอกาสให้แต่ละ บุคคลแสวงหาความสุขสู่ชีวิตที่มีคุณค่าตามครรลองครองธรรม
  • 26. 4.ลุดวิก ฟอน ไมส์ (Ludwig von Mises) ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1922 เขาได้คาดการณ์ถึงการล่มสลาย ของการวางแผนจากส่วนกลางในระบบเศรษฐกิจในหนังสือ ของเขาที่ชื่อว่า “Die Gemeinschaft” (หรือ “Socialism” ใน ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ) ไมส์ยืนยันว่าระบบสังคมนิยมนั้น ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะว่าแนวคิด ดังกล่าวไม่มีระบบกลไกราคาของตลาดเพื่อคานวณผลกาไร และขาดทุน ในหนังสือ “Liberalism” ไมส์ได้อธิบายถึงแนวคิด สังคมเสรีและระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาดว่าเป็นเหมือน แนวคิดโต้กลับของอุดมคติที่แพร่หลายไปหมู่นักวิชาการและ นักการเมืองในเวลานั้น ตลอดช่วงชีวิตของไมส์ได้ต่อสู้เพื่อ ต่อต้านอานาจการควบคุมของรัฐและรณรงค์ให้เกิดเสรีภาพ ส่วนบุคคลและกลไกตลาดทางเศรษฐกิจ
  • 27. 5.อเล็กซิส เดอ ท็อกเกอร์วิลล์ (Alexis de Tocqueville) ท็อกเกอร์วิลล์มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญใน สาธารณรัฐที่สองและดารงตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวง ต่างประเทศของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1849 หลังจากสละ ตาแหน่งรัฐมนตรีในปีเดียวกัน เขาเอาใจใส่ผลงานประพันธ์ ของเขาเรื่อง “The Old Regime and the French Revolution” เขาไม่เห็นด้วยที่การปฏิวัติได้นาไปสู่การเพิ่มภาษีอันเป็นการ เพิ่มภาระและการดึงอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางมากกว่าการสร้าง รูปแบบอานาจเบ็ดเสร็จ
  • 29. 2. ผลงานของฮาเย็คที่นาเสนอปัญหาของข้อมูลในระเบียบ วิธีของใคร ก. อเล็กซิส เดอ ท็อกเกอร์วิลล์ ข. ลุดวิค ฟอน ไมส์ ค. ชารล์ เดอ มองเตสกิเออร์ ง. วิลเฮลม์ ฟอน ฮุมโบลด์
  • 30. 3.เสรีนิยมมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ก.2ประเภท เสรีนิยมทางการเมือง และเสรีนิยมคลาสสิกกับเสรีนิยมสมัยใหม่ ข.3ประเภท เสรนิยมทางการเมือง และเสรีนิยมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ค.1ประเภท เสรีนิยมทางการเมือง ง.ถูกข้อ ก และ ข