SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของ
ประเทศในยุโรป
1.ทวีปอเมริกา

1.1 การเมืองการปกครอง
หลังจากประกาศอิสรภาพ อดีตอาณานิคมอเมริกา ใช้
รัฐธรรมนูญแห่งสมาพันธรัฐในการปกครองดินแดนทั้ง 13 แห่ง
แต่รัฐธรรมนูญนี้ยังมีความบกพร่อง จึงเป็นเหตุให้ผู้นาทางการ
เมืองของมลรัฐต่างๆ ได้คิดปรับปรุงแก้ไข โดยจัดทารัฐธรรมนูญ
ฉบับใหม่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา” โดย
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 21 กันยายน
ค.ศ. 1788


บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ส่วนใหญ่เป็นข้อเขียนของ ผู้นาทาง
การเมือง 3 คน ได้แก่
อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน
เจมส์ เมดิสัน
และ จอห์น เจย์
โดยนักการเมืองดังกล่าวนี้ได้แนวคิดมาจากนักปรัชญาชาวยุโรปและ
อเมริกัน ซึ่งที่สาคัญที่สุดมาจากหนังสือเจตนาของกฎหมาย (The spirit
of Laws) ของมองเตสกิเออ นักเขียนและนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส
รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกานี้แบ่งอานาจออกเป็น3ฝ่ายคือ
- นิติบัญญัติ
- ตุลาการ
- และบริหาร โดยให้ทั้ง3ฝ่ายคานอานาจซึ่งกันและกัน

รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาฉบับนี้
เป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่มีอายุยืน
ยาวและเก่าแก่ที่สุดฉบับหนึ่งของโลก
1.2 เศรษฐกิจ
ความสาเร็จในการทาการการปฏิวัติอตสาหกรรมของประเทศอังกฤษในช่วง
ุ
กลางคริสต์ศตวรรษที่18 ได้กลายเป็นแรงผลักดันให้ประเทศในยุโรป อเมริกา
รวมทั้งดินแดนอื่นๆ ของโลกเห็นความสาคัญของระบบอุตสาหกรรม กระทั่งปลาย
คริสต์ศตวรรษ สหรัฐอเมริกาได้กลายเป็นประเทศหนึงที่มีการเติบโตในทาง
่
อุตสาหกรรมทัดเทียมกับประเทศอังกฤษ

โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม

เครื่องจักรไอน้าของเจมส์ วัตต์
จุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม
พื้นฐานที่เอื้อประโยชน์ต่อความก้าวหน้าของอุตสาหกรรมคือการคิดค้น
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่สาคัญได้แก่ เรือกลไฟ,โทรศัพท์,หลอดไฟ, เครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า,รถยนต์ที่ใช้น้ามัน

เรือกลไฟ
โดย โรเบิร์ต ฟูลตัน
ค.ศ. 1765-1815
อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม
เบลล์ (Alexander Graham
Bell)สาธิตการใช้โทรศัพท์
เครื่องแรก

หลอดไฟรุ่นแรกของโลก ไส้คาร์บอน
ที่อดิสันประดิษฐ์เมื่อ ค.ศ. 1879

โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva
Edison) กับหลอดไฟหลอดแรกและเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า
การผลิตรถยนต์ทใช้นามัน
ี่ ้
โดย เฮนรี ฟอร์ด(Henry Ford)

นอกจากนี้ยงมีเครืองจักรกลทางเกษตรช่วยทุ่นแรงและช่วยเพิ่ม
ั
่
ปริมาณการผลิต รวมทังขยายพืนที่เพาะปลูกอย่างกว้างขวาง
้
้
สิ่งประดิษฐ์ยุโรปถูกนามาปรับใช้เพื่ออานวยความสะดวกเมือ ค.ศ.1825 การ
่
ประดิษฐ์หัวรถไฟไอน้าของ จอร์จ สตีเฟนสัน นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางคมนาคม
ขนส่ง ซึ่งได้เปิดวิ่งระหว่างเมืองลิเวอร์พูล และเมืองแมนเชสเตอร์เป็นสายแรก ต่อมา
ได้พัฒนาจนครอบคลุมไปทั่วอเมริกา
ในอเมริกาทางรถไฟสายสาคัญที่ได้ก่อสร้างในเวลานีคือ สายข้ามทวีปเชื่อมต่อ
้
ภาคตะวันออกกับภาคตะวันตก โดยบริษัทยูเนียนแปซิฟิกเป็นผู้รบสัมปทานสร้าง
ั
จากตะวันตกมาตะวันออก และบริษัทเซ็นทรัลแปซิฟิกผู้สร้างทางจากตะวันออกมา
ตะวันตก บริษัททังสองสามารถเชื่อมต่อทางรถไฟได้ที่เมือง โพรมอนโทรี
้
(Promontory) มลรัฐยูทาห์ และหลังจากนั้นก็มการสร้างทางรถไฟอีกหลายสาย
ี
ต่อมา
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อเมริกายังได้ทาเหมืองแร่เหล็กและเหล็กกล้า เมื่อ
มีการค้นพบแหล่งแร่เหล็กที่สาคัญในเทือกเขาเมซาบิ ซึ่งเทือกเขานี้เป็นแหล่ง
แร่เหล็กที่มีปริมาณมากและเป็นเหล็กชั้นดี

ต่อมาได้พบแหล่งแร่เหล็กคุณภาพสูงในบริเวณอื่นอีกหลายแห่ง เช่นบริเวณ
ทะเลสาบเกรดเลกส์ มลรัฐเพนซิลเวเนีย
ผู้ทาให้อุตสาหกรรมเหล็กกล้าเฟื่องฟูในอเมริกาคือ แอนดรูว์ คาร์เนกี
(Andrew Carnegie)
1.3 สังคม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้ชุมชนเมืองขยายตัวอย่างมาก เนื่องจากเมืองเป็น
แหล่งที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมและชาวอเมริกันสามารถหางานทาได้สะดวกขึ้น
โดยชาวชนบทและชาวต่างประเทศได้อพยพเข้ามาอยูในเมืองใหญ่เป็นจานวน
่
มาก ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับทีอยู่อาศัย เช่นในชิคาโกหรือนิวยอร์คทาให้ต้อง
่
ก่อสร้างตึกสูงๆหรือทีเ่ รียกว่า ตึกระฟ้า เช่น ตึก Empire State
ผลจากการอพยพเข้ามาของชาวยุโรปจานวนมากก็ได้มีการวางรากฐาน
การศึกษาในสหรัฐอเมริกาด้วย โดยก่อตั้งโรงเรียนและมหาวิทยาลัยทุกรัฐ
มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่แล้วมีชอเสียงของสหรัฐอเมริกา ได้แก่
ื่

มหาวิทยาลัย Harvard

มหาวิทยาลัย Yale
1.4ศิลปกรรม
1.จิตรกรรม
จิตรกรรมสมัยใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19ส่วนมากได้รับ
อิทธิพลจากฝรั่งเศสโดยลัทธิที่เผยแพร่เข้ามาคือลัทธิอิมเพรสชันนิสต์
มีเนื้อหาเกี่ยวกับชนชั้นกลางและวิวทิวทัศน์

ภาพศิลปะอิมเพรสชันนิสต์
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ศิลปะเอ็กซเพรสชันนิสต์ได้รับความนิยม โดย
กลุ่มศิลปินอเมริกันได้รวมตัวกับศิลปินชาติอื่นๆ เช่น รัสเซีย เยอรมัน สวิส
สร้างสรรค์ผลงานโดยใช้สีแบบอิสระและลดการใช้รูปทรง โดยแรงบันดาลใจ
ใหม่ๆของศิลปินอเมริกัน คือ สังคมเมือง

ภาพศิลปะเอ็กซเพรสชันนิสต์
2.สถาปัตยกรรม
วัสดุในการก่อสร้างที่สาคัญของยุคนี้ คือ เหล็ก ประกอบกับความสามารถ
ทางวิศวกรรม ทาให้เกิดสิ่งก่อสร้างมีทขนาดสูงใหญ่แข็งแรงมากมาย เช่น
ี่

อาคาร Chicago Tribune Tower
เมือง Chicago

สะพาน Golden Gate
เมืองSan Francisco
เป็นสะพานแขวนที่มีความยาว
ที่สุดในโลก

อาคาร Home insurance
เมือง Chicago
2.ทวีปแอฟริกา
ชาวตะวันตกเข้ามาในทวีปแอฟริกาตังแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที15
้
่
จากการสารวจทางทะเล เพราะด้วยสาเหตุที่ว่าเป็นหน้าที่ของตนเองที่
จะต้องนาเอาความเจริญไปสู่การเข้าครอบครองแอฟริกา
ถึงแม้อาณานิคมในแอฟริกาจะสั้นมาก กล่าวได้ว่า ดินแดนเกือบทุกแห่ง
ถูกปกครองไม่เกิน 60 ปี แต่อิทธิพลที่แอฟริกาได้รับจากชาติตะวันตกก็
กลายเป็นรากฐานของสังคมจนมาถึงปัจจุบัน

ยุคจักรวรรดินิยม เริ่มต้นตั้งแต่การสารวจทางทะเล
2.1 การเมืองการปกครอง
อานาจของกษัตริย์ในแอฟริกาอ่อนกาลังลงแล้วถูกทาลายไป เมื่อมหาอานาจอาณานิคมมี
อานาจทางการเมืองโดยสมบูรณ์แบบ โดยการจัดทาเขตแดนต่างๆภายในชาวตะวันตก
เจ้าของอาณานิคมสามารถกั้นเขตแดนระหว่างเผ่าต่างๆในทวีปแอฟริกาตามความพึง
พอใจ ทาให้เอกภาพของแอฟริกานั้นได้รับผลกระทบอย่างหนักเป็นเวลานานและกลายเป็น
อุปสรรคขัดขวางการพัฒนาเศรษฐกิจมาจนถึงทุกวันนี้

ชนเผ่ามาไซในแอฟริกา

เผ่าซูลู แอฟริกาใต้
แอฟริกาได้รับผลประโยชน์ด้านต่างๆจากตะวันตก
1.ด้านกฎหมายที่ทันสมัย
2.ระบบราชการพลเรือน
3.ระบบกองตารวจที่มีประสิทธิภาพ
4.กองทัพที่ได้รับการฝึกฝนกับอาวุธอย่างดี
5.ดินแดนมีความเข้มแข็งมากกว่าอดีต
2.2เศรษฐกิจ
 การจัดหาวัตถุดิบสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมเป็นปัญหาสาคัญ โรงงานทอผ้าของ

อังกฤษต้องการฝ้ายจานวนมาก แต่หลังจากสงครามกลางเมืองในสหรัฐอเมริกาแล้ว
ก็ไม่สามารถจัดหาฝ้ายได้เหมือนเดิม ผลก็คือทาให้มีการปลูกฝ้ายในอินเดีย อียิปต์
และอาณานิคมอื่นๆของอังกฤษ วัตถุประสงค์สาคัญในการแผ่ขยายอานาจของ
อังกฤษก็เพื่อหาทีใหม่สาหรับการปลูกฝ้าย ยางก็เป็นวัตถุดิบอีกอย่างหนึ่งทีอังกฤษ
่
่
ต้องการมาก สิ่งเหล่านี้กระตุ้นให้ชาวยุโรปบุกเบิกเข้าไปในป่าทึบในคองโก ชาติ
ตะวันตกยังเปลี่ยนรูปแบบการค้าแบบดังเดิมให้เป็นการค้านอกประเทศ และสินค้าที่
้
ทารายได้ให้ประเทศเจ้า
ของอาณานิคม คือ ทาส
ทาสได้กลายเป็นสาเหตุหนึงของปัญหาการเหยียดสีผิวและเชื้อชาติที่ขยาย
่
ไปทั่วยุโรปและอเมริกา จนกระทังคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงยกเลิกการค้าทาสแล้ว
่
ส่งออกพืชไร่ เช่น น้ามันปาล์ม กาแฟ สาหรับสินค้านาเข้า โดยเฉพาะที่ส่งเข้ามา
จาหน่ายในแอฟริกาตะวันตกเป็นสินค้าจากยุโรป เช่น เสื้อผ้า ปืน และของใช้
ประเภททาด้วยโลหะ สินค้าเหล่านี้กลายเป็นอุปสรรค นอกจากนั้นการค้าในรูปแบบ
ดังกล่าวทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงฐานะทางเศรษฐกิจของชาวแอฟริกันใน
ดินแดนต่างๆ
หลังจากดินแดนแอฟริกาต่างทยอยกันประกาศอิสรภาพ แอฟริกาสามารถ
ปรับตัวให้เหมาะสมกับระบบทุนนิยม และจากระบบคมนาคมขนส่งที่ชาวตะวันตก
วางรากฐานเอาไว้เป็นส่วนช่วยแอฟริกาในการพัฒนาเศรษฐกิจ
2.3 สังคม
เมื่ออายุย่างเข้า 3 เดือน ก็จะต้องโกนหัวโดยเหลือไว้แ ค่ผมที่อยู่บริเวณหน้าผากเรื่อยลงมาถึง หลังต้นคอ ซึ่งทรงที่ออกมาจะคล้ายกับทรงพัง ค์นั่น เชื่อกัน ว่าผมทรงนี้จะสร้างความสง่างามให้กับทารก

ถึงแม้ว่าชาวแอฟริกาจะยังคงอาศัยอยู่ในหมู่บ้าน และ ยังคงดาเนินชีวิตตามหลัก
ประเพณีเดิม รวมทั้งยังคงมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องเวทมนตร์คาถาและวิญญาณ
จนถึงปัจจุบัน แต่ชาวตะวันตกก็ได้ปลูกฝังความคิดที่ทันสมัยให้กับชาวแอฟริกา
ด้วย เช่น การสร้างโรงเรียน การสร้างโรงพยาบาล การออกหนังสือพิมพ์ การ
กระจายเสียงวิทยุ ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดีขึ้น

เมื่ออายุย่างเข้า 3 เดือน ก็จะต้องโกนหัวโดยเหลือไว้แค่
ผมที่อยู่บริเวณหน้าผากเรื่อยลงมาถึงหลังต้นคอ ซึ่ง
ทรงที่ออกมาจะคล้ายกับทรงพังค์นั่น เชื่อกันว่าผมทรง
นี้จะสร้างความสง่างามให้กับทารก
2.4 วัฒนธรรม
เมื่อคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลามเผยแพร่ เข้ามาในทวีป
แอฟริกา ความสาคัญของศาสนาประจาเผ่าก็ค่อยๆลดบทบาทลง ถือ
เป็นการก้าวไปสู่ระบบศาสนาในระดับโลก นอกจากการได้รับอิทธิพล
ของศาสนาเข้ามาแล้วยังมีการได้รับการถ่ายทอดทางภาษาจากเจ้าของ
อาณานิคมด้วย เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
2.5 ศิลปกรรม
ศิลปินคนสาคัญของแอฟริกาจานวนมากได้รับ
การศึกษางานศิลปะชั้นสูงมากจากตะวันตก ซึงมีการ
่
ฝึกสอนงานศิลปะตาม จารีตประเพณี ศิลปินยุดใหม่ของ
แอฟริกานั้นจะสัมผัส เทคนิค คุณค่า และ ประเพณีของ
ตะวันตก จึงเป็นการขยายขอบเขตวิสัยทัศน์ของตนเอง
ให้กว้างขว้างยิ่งขึ้น ศิลปินบางคนถึงกับปฏิเสธงาน
ศิลปะในศาสนาเดิมของบรรพบุรษ อย่างไรก็ตามเมื่อ
ุ
ศิลปินมีความเชี่ยวชาญในศิลปะของตะวันตกดีแล้วก็
มักจะหันมาให้ความสนใจกับงานศิลปะในอดีตของ
แอฟริกาด้วย จึงเกิดการผสมผสานกัน ของงานศิลปะ
ทั้งสองยุค เช่น การเขียนนวนิยายจากนิทานพื้นบ้านให้
ใกล้เคียงกับการเขียนยุคใหม่
3.ทวีปเอเชีย

3.1 การเมืองการปกครอง
อานาจและบทบาททางการเมืองของชนชั้นปกครองพื้นเมือง
และสถาบันทางการเมืองถูกเปลียนแปลงเป็นระบบใหม่
่
ที่ดาเนินงานอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพอานาจ
และบทบาททางการเมืองถูกโอนไปที่ข้าหลวงชาวตะวันตก
เช่น อินเดีย มลายู กัมพูชา ลาว เวียดนาม หมูเ่ กาะอินเดีย
ตะวันออก
นอกจากนี้ดินแดงบางแห่งถูกกาหนดให้เป็นดินแดนใน
อารักขาโดยชาวตะวันตกเข้าควบคุมด้านทหาร การคลัง และ
การต่างประเทศประเทศ
จีนซึ่งมีอิทธิพลในทวีปเอเชียแม้จะไม่ได้ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกแต่
ดินแดนบางส่วนก็กลายเป็นเขตอิทธิพลของชาวตะวันตกเนื่องจากความ
ขัดแย้งทางการค้าระหว่างพ่อค้าจีนกับพ่อค้าชาวอังกฤษ ทาให้เกิดสงครามฝิ่น
เมื่อ ค.ศ. 1839 จีนเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมทาสนธิสัญญานานกิง
ในค.ศ. 1842 ระหว่างสหราชอาณาจักร- บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และจีน
ราชวงศ์ชิง เป็นครั้งแรกที่จีนใช้คาว่า"สนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม" เนื่องจาก
อังกฤษไม่มีพันธกรณีเป็นการตอบแทนกับอังกฤษ เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม
ฝิ่นครั้งที่หนึ่ง
ตามสนธิสัญญานี้ จีนต้องยกเกาะฮ่องกงให้อังกฤษ เปิดเมืองท่า 5 แห่งออก
ต้อนรับชาวต่างชาติ ให้สิทธิภาพนอกอาณาเขตแก่ชาวต่างชาติทอาศัยอยู่ในจีน ทา
ี่
ให้จีนเสียเปรียบชาวต่างชาติ หลังจากนั้น จีนต้องทาสนธิสัญญาในลักษณะเดียวกัน
นี้กับชาติต่าง ๆ ในยุโรปและสหรัฐอเมริกา เป็นการเปิดโอกาสให้ประเทศเหล่านั้น
เข้ามาแข่งขันกันแสวงหาผลประโยชน์เมื่อใกล้จะสิ้นศตวรรษที่ 19 อ่าวและเมืองท่า
ที่สาคัญที่สุดของจีนกลายเป็นเขตเช่าของพ่อค้าชาวต่างชาติ การค้าตามริมฝั่งทะเล
ตลอดจนการค้าภายในประเทศถูกพ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาควบคุม

การลงนามและประทับตราในสนธิสญญานานกิง
ั
3.2 เศรษฐกิจ
เป้าหมายสาคัญของจักรวรรดินิยมตะวันตกอยู่ทการเปลี่ยนแปลงให้เอเชีย
ี่
กลายเป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมของโลกตะวันตกและเป็น
ตลาดระบายสินค้าอุตสาหกรรมวิถีชีวตของชาวนาและคนชั้นล่างส่วนใหญ่เริ่ม
ิ
ถูกครอบงาจากระบบเศรษฐกิจทีมุ่งผลิตเพื่อการขายและหารายได้เพื่อซื้อ
่
สินค้าอุปโภคบริโภค เช่น ประเทศอินเดีย และประเทศญี่ปุ่น
ประเทศอินเดียในฐานะอาณานิคมของอังกฤษ ได้ก้าวเข้าสู่ระบบ
อุตสาหกรรมที่สาคัญได้แก่การทอผ้า กระสอบ เหล็ก กระดาษ และเครื่องหนัง
ทาให้สินค้าหัตถกรรมเก่าแก่ของอินเดียต้องถูกทาลายลง
ประเทศญี่ปุ่น ถูกวางรากฐานให้เป็นประเทศอุตสาหกรรมหนัก เช่นอุตสาหกรรม
เหล็ก และอุตสาหกรรมเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภค โดยรัฐบาลได้สร้างถนน และทาง
รถไฟเพื่อความสะดวกในการขนส่ง

อุตสาหกรรมในญี่ปุ่น
3.3 สังคม
ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่นี้ การเกษตรแบบพอยังชีพได้เสื่อมโทรมลง โอกาสทาง
เศรษฐกิจ บริการด้านสาธารณูปโภค สาธารณสุข การศึกษาทีดีกว่า ไปรวมตัวอยู่
่
ในสังคมเมือง ผู้คนย้ายเข้าเมือง ก่อให้เกิดวัฒนธรรมเมือง ทาให้วถีชีวิตดั้งเดิม
ิ
ของชาวพื้นเมืองได้เปลี่ยนไป มีการเลียนแบบชาวตะวันตกมากขึน
้
ที่เห็นได้ชดคือ การแต่งกาย ค่านิยม การศึกษา
ั
การเติบโตของจานวนประชากร ปัญหาของแหล่ง
เสื่อมโทรม แต่การทีชาวเอเชียอยูภายใต้การควบ
่
่
คุมของชาติตะวันตก ก็ก่อให้เกิดความรู้สึกชาติ
นิยมมากขึ้น ทาให้ชาวพื้นเมืองมีโลกทัศน์ที่กว้าง
ขวางกว่าเดิม ทั้งในด้านของภาษา และวัฒนธรรม
3.4 วัฒนธรรม
เดิมวัฒนธรรมเอเชียมีความหลากหลาย เป็นแบบ
เฉพาะกลุ่มหรือชนชาติ เมื่อชาวตะวันตกเข้ามา ได้
รวบรวมชนชาติตาง ๆ ให้เป็นปึกแผ่นเดียวกัน
่
วัฒนธรรมจากหลากหลายกลุ่มจึงถูกรวบรวมให้เป็น
วัฒนธรรมของคนหมู่มาก เช่น การที่อังกฤษนา
ภาษาอังกฤษเข้ามาใช้เป็นภาษาราชการ นั่นทาให้คน
อินเดียมีสื่อกลางในการสื่อสาร
3.5 ศิลปกรรม
ศิลปกรรมและความเจริญทางความคิดของ
เอเชีย เป็นที่สนใจของชาติตะวันตก ในทางกลับกัน
ชาวเอเชียก็ได้รับอิทธิพลของชาวตะวันตกด้วย คือรับ
ศิลปกรรมทางตะวันตกมาผสมผสานกับของตน โดย
ใช้วิธีคิดที่เป็นเหตุเป็นผลของตะวันตกรวมกับมรดก
ทางปัญญาในงานศิลปกรรม
ต่อมาศิลปกรรมตะวันตกก็มีรูปแบบชัดเจนจนกลายเป็นแบบ
ตะวันตกอย่างเต็มตัว เช่น ถนนสายหลักของเมืองกินซ่าในญี่ปุ่นสร้างด้วย
อิฐ มีการใช้ตะเกียงก๊าซให้แสงสว่าง มีการจ้างสถาปนิกชาวอังกฤษเข้า
มาอานวยการสร้าง สร้างตึกแบบยุโรป มีการวาดภาพตามแบบยุโรป
เป็นการวาดภาพแบบสามมิติ ใช้ภาษาพูดในการเขียนวรรณกรรมแทน
ภาษาเขียนเพื่อให้เข้าใจได้งาย เป็นต้น
่
1.ด้านสถาปัตยกรรม เมืองโตเกียวมีการจ้างสถาปนิกจากประเทศ
อังกฤษเข้ามาอานวยการก่อสร้างถนน และมีการสร้างตึกแบบยุโรป
เช่น ตึกโระกุเมะอิคัง ซึงเป็นสถานที่จัดเลี้ยงแบบตะวันตก
่
2.ด้านจิตรกรรม มีการวาดภาพแบบยุโรป เช่น ผลงานของขรัวอิน
โข่ง จิตรกรเอกในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่เน้นวาดภาพแบบสามมิติ
3.ด้านวรรณกรรม มีการใช้ภาษาพูดในการเขียนวรรณกรรม เนืองจาก
่
ภาษาพูดเข้าใจได้งาย วรรณกรรมจึงเป็นที่แพร่หลายในหมู่ผู้อ่าน
่
อย่างกว้างขวาง
รวมทั้งมีแนวคิดใหม่ๆในการสร้างสรรค์เนือเรื่อง อย่างแนวคิดสัจนิยม
้
ที่นักเขียนจีนละญี่ปุ่นสะท้อนให้เห็นถึงความทุกข์ของกรรมกรใน
โรงงานอุตสาหกรรม ความสื่อมโทรมของสังคม
จัดทาโดย
 นางสาวพรปวีณ์
 นางสาวพรรณรัตน์

วีระภาคย์การุณ ม.6.5 เลขที่ 27
พรรณรัตน์
ม.6.5 เลขที่ 28

More Related Content

What's hot

ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 

What's hot (20)

ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 

More from Pannaray Kaewmarueang

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (15)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป