SlideShare a Scribd company logo
SOREN
KIERKEGAARD (1813-1855)
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญำอัตถิภำวนิยม โดย อ.สรณีย์ สำยศร
ซอเร็น เกียกเกอการ์ด คือ ใคร?
เกียกเกอการ์ดเป็น นักปรัชญาอัตถิภาวนิยม ที่เป็น “เทวนิยม”
(Theism) คือ ศรัทธาในความมีอยู่ของพระเจ้า
ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
เขาปฏิเสธระบบปรัชญาของเฮเกล และเห็นว่า >> ความเป็น
จริง คือ สถานการณ์ในแต่ละขณะที่บุคคลแต่ละคนได้
เผชิญหน้า
บุคคลมีหน้าที่ที่จะตัดสินใจกระทาในสถานการณ์นั้นๆ ของตน
มนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการตัดสินใจได้
เป็นแนวคิดที่เน้นให้ความสาคัญแก่ความเป็นปัจเจกชน
ประวัติและชีวิตของ ซอเร็น เกียกเกอการ์ด
เกียกเกอการ์ด เกิดที่เมืองโคเป็นฮา
เก็น ประเทศเดนมาร์ก ในปี ค.ศ. 1813
เป็นคนหนุ่มที่ช่างคิด ช่างสงสัย และ
คิดถึงชีวิตอย่างลึกซึ้ง
ตกหลุมรัก และหมั้นหมายกับสาวสวย
เรจิน่า ออลเซน แต่หลังจากนั้นชีวิต
รักของทั้งสองเต็มไปด้วยคาถามและ
ความทุกข์ทรมาน...
เขาพยายามหาเหตุผลในการถอนหมั้น
ทั้งๆที่ยังรัก....
เกิดอะไรขึ้นกับความคิดคานึงของเขาต่อความรัก..?
เกียกเกอการ์ด คิดว่า การแต่งงานเป็นชีวิตที่ท้า
ทายอย่างหนักหน่วง และเขากลุ้มใจกับความ
รับผิดชอบที่จะตามมากับการแต่งงาน
เขาเชื่อว่า...การอยู่คนเดียวเท่านั้น จะทาให้ชีวิต
มั่นคง
เขาเกิดคาถามมากมายต่อความรักและการ
แต่งงาน...
“การแต่งงานเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงวิถี
ชีวิตประจาวันเท่านั้นเองหรือ หรือชีวิตทั้งหมด
ของคนเราจะตกอยู่ในอันตรายเมื่อเขา
แต่งงาน??”
“การสาบานที่จะรักและซื่อสัตย์ต่อกันตลอดไปนั้น เป็นการ
กระทาที่ฉลาดหรือไม่?”
“คนสองคนจะนาพาชีวิตร่วมกันอย่างสมบูรณ์ โดยไม่ทาให้
ความเป็นตัวของตัวเองหายไปได้อย่างไร?”
“คนจะสามารถมีเสรีที่จะทาทุกๆอย่าง อย่างที่ปรารถนา
ทั้งๆ ที่เขาแต่งงานหรือไม่?”
...คุณคิดอย่างไร ต่อคาถามเหล่านี้...ความรักทาให้ตัวตน
ของคุณหายไป....ทาให้คุณสูญเสียความเป็นตัวเองหรือการ
มีชีวิตที่แท้จริงหรือไม่.....และการเลือกที่จะรัก คุ้มค่ากับ
การเสี่ยงหรือไม่....?
หลังจากถอนหมั้น ได้เดินทางไปเรียนที่เบอร์ลิน และเริ่มมีความคิด
เป็นปฏิปักษ์กับปรัชญาของเฮเกล (Hegel) และโจมตีปรัชญาที่เน้น
ในระบบมากกว่าที่จะเน้นในความสัมพันธ์กับชีวิตมนุษย์
เขาได้เขียนบทความโต้แย้งและแสดงความไม่เห็นด้วยกับทัศนะ
ทางการเมืองของหนังสือพิมพ์คอร์แซร์ ทาให้เกิดการตอบโต้ทาง
ความคิดกันอย่างรุนแรง >> เกียกเกอการ์ดได้กลายเป็นคนที่
โดดเดี่ยวมากยิ่งขึ้น และมีความคิดว่า....
“ฝูงชนเป็นอันตรายต่อชีวิตที่แท้จริงของคนที่เป็นตัวของเขา
เอง โดยไม่เกรงอิทธิพลของฝูงชนภายนอก และการอยู่ตัว
คนเดียวได้นั้นเป็นคุณธรรมที่สาคัญยิ่งของการมีชีวิตที่ดี”
เกียกเกอการ์ด.....มุ่งเป้ าโจมตีศาสนจักร
หลังจากที่ หนังสือพิมพ์คอร์แซร์ปิดตัวลง
เขาเริ่มพุ่งเป้ าการโจมตีทางความคิดไปยัง
ศาสนจักรของเดนมาร์ก
ระหว่างปี 1847-1851 งานเขียนของเขาเต็มไป
ด้วยทัศนะเกี่ยวกับศาสนาคริสต์
คนส่วนใหญ่ตกใจในการกระทาของเขา และไม่
เห็นด้วยกับเขา
สุขภาพของเกียกเกอการ์ดเริ่มอ่อนแอลง
และเสียชีวิตในโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 11
พฤศจิกายน ค.ศ. 1855
งำนเขียนสำคัญของเกียกเกอกำร์ด
The Concept of Trony (1840)
Either-or (1842)
Edifying Discourse (1843)
Fear and Trembliny (1843)
The Concept of Dread (1844)
Concluding Unscientific Postscript (1846)
The Point of Views for my Work as an
Author (1848)
The Sickness Unto Death (1849)
Attack upon Christendom (1854)
ความสัมพันธ์ของพระผู้เป็นเจ้าต่อมนุษย์
เกียกเกอการ์ด เป็นนักปรัชญาอัตถิภาวนิยมแบบเทวนิยม
>> ยอมรับในพระผู้เป็นเจ้า
เน้นในความสาคัญของมนุษย์และความสัมพันธ์ของมนุษย์
กับพระผู้เป็นเจ้า
เกียกเกอการ์ดไม่เคยสงสัยในพระผู้เป็นเจ้า แต่เขาไม่เห็น
ด้วยกับคาสอนและการปฏิบัติตัวของคริสตชนในยุคของเขา
และไม่เห็นด้วยกับการสร้างอิทธิพลของศาสนจักร เพราะทา
ให้คาสอนอันเรียบง่ายของพระเยซูถูกบิดเบือนไป
พระผู้เป็นเจ้าเป็นสิ่งเดียวกับความเป็นนิรันดร ความเป็นอนันต์
และความเป็นสิ่งสมบูรณ์ >> มนุษย์ถูกสร้างขึ้นตามพระฉายา
ลักษณ์ของพระเจ้า
ด้วยเสรีภาพที่มนุษย์มีอยู่ในตัว มนุษย์ได้ทาตัวเองให้แปลกแยก
ออกจากพระเจ้า ไม่ปฏิบัติตามพระประสงค์ของพระเจ้า
มนุษย์เป็นเพียงสิ่งจากัด (finite) เป็นเพียงสิ่งเฉพาะ (particular)
ขณะที่พระเจ้าเป็นสิ่งไม่จากัด (infinite) เป็นสากล (universal)
ดังนั้นมนุษย์กับพระเจ้าจึงมีช่องว่างที่มาสามารถบรรจบ รวมกัน
ได้
แนวคิดของเฮเกล >> ระบบวิภาษวิธี สามารถอธิบายทุก
เหตุการณ์อย่างมีเหตุผลด้วยกฎเกณฑ์เดียวกัน (รวมทั้ง พระเจ้า
มนุษย์ และศาสนาก็อยู่ในระบบวิภาษวิธีด้วย)
แนวคิดปรัชญาวิภาษวิธีของเฮเกล
 ปรัชญาของเฮเกล คือ ลัทธิจิตนิยม (idealist) >>สิ่งที่เป็นความจริงจะต้องมี
ลักษณะสมบูรณ์ทั่วด้าน ที่เรียกว่า จิตสัมบูรณ์ เป็นตัวตนสมบูรณ์ ครอบงาสรรพสิ่ง
และเป็นสิ่งตรงข้ามกับโลกความเป็นจริงที่มนุษย์เห็นอยู่โดยทั่วไป หรือสัมผัสได้
 จุดเด่นในปรัชญาเฮเกล คือ ทัศนะแบบวิภาษวิธี (dialectic) ที่อธิบายว่า จิต หรือ
ตัวตนสมบูรณ์นี้แสดงออกในรูปของความขัดแย้ง 2 ด้าน คือ ด้านสนับสนุน และ
ด้านปฏิเสธ ด้านหนึ่งเป็นบทเสนอ (thesis) ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นบทแย้ง
(antithesis) และวิวัฒนาการการต่อสู้ระหว่าง 2 ด้านที่ขัดแย้งนี้เอง จะนามาสู่การ
พัฒนาของสิ่งใหม่ ที่จะเรียกว่า บทสังเคราะห์ (synthesis) และบทสังเคราะห์นี้ก็จะ
กลายเป็นบทเสนอ (thesis) ใหม่ ก่อให้เกิดบทแย้ง (antithesis) ใหม่ และนามาสู่
บทสรุป (synthesis) ใหม่ ไปจนสิ้นสุดกระบวนการพัฒนา (ปฏิพัฒนา) ที่จะนาไปสู่
ความเป็น จิตสมบูรณ์อันแท้จริง
การดาเนินชีวิตแบบคนคริสเตียนนั้น คนจะต้องใช้
ประสบการณ์ทั้งหมดในชีวิตเข้ามาสัมพันธ์กันกับพระเจ้า
อย่างแท้จริง นั่นคือ มอบชีวิตจิตใจทั้งหมดให้กับพระเจ้า
การเป็นคนคริสเตียนที่แท้ >> คนผู้นั้นจะต้องเข้าไปมี
ประสบการณ์ของศาสนา ทั้งชีวิต จิตใจ คาสอน และการ
ดาเนินชีวิตจะกลายเป็นสิ่งๆเดียวกัน
ต้องมีความสานึกว่า แม้จะรัก ศรัทธาและทาตามคาสอนของ
พระเจ้า...แต่มนุษย์ก็เป็นเพียงมนุษย์ ไม่มีวันที่มนุษย์จะก้าว
พ้นช่องว่างของความแตกต่างระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าไปได้
เป็นอันขาด
ประสบการณ์ชีวิต หรือ ปรัชญาชีวิต ๓ ขั้นตอน
๑. ขั้นสุนทรียะ หรือ ขั้นผัสสะ
๒. ขั้นจริยธรรม
๓. ขั้นศาสนา
ชีวิตทั้ง ๓ ขั้น สะท้อนให้เห็นความ
พยายามของมนุษย์ที่จะเข้าถึง
หนทางรอดพ้นสูงสุด / ที่จะพบกับ
ความสมหวัง หรือสิ่งดีที่สุดของชีวิต
๑. ชีวิตขั้นสุนทรียะ หรือ ผัสสะ (aesthetic stage)
ปัจเจกชน อาจเป็นพวกสุขนิยมที่แสวงหาความพึงพอใจ
หรือพวกปัญญาชนที่สนใจขบคิดปรัชญา
คนเหล่านี้จะไม่ตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งต่างๆในชีวิตด้วย
ตนเอง
พวกปัญญาชน เช่น พวกเหตุผลนิยม ขบคิดแต่ทฤษฎี
ปรัชญา แต่ห่างไกลจากประสบการณ์อันแท้จริงในชีวิต
พวกสุขนิยม เพลิดเพลินกับความสุขทางกาย พึงพอใจใน
ด้านกิเลสตัณหากับเพศตรงข้ามแบบไม่มีข้อจากัด และไม่มี
ข้อผูกมัด
พวกสุขนิยม มักจะไม่ยอมผูกมัดตัวเองกับความรักและการ
แต่งงานเป็นอันขาด เพราะจะนามาซึ่งความรับผิดชอบ
หน้าที่ และความสัมพันธ์แบบถาวร
พวกเขาจะปฏิบัติต่อผู้หญิงที่เขารักราวกับว่าพวกเธอไม่ได้
เป็นคนมีชีวิตจิตใจ และมีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัว >>
พวกเธอเป็นแค่ “เครื่องที่ให้ความพอใจ”
พวกเขาต้องการรสชาติของชีวิตในขณะหนึ่งๆ ให้เข้มข้น
ที่สุด >> เป็นชีวิตที่ไม่เป็นเอกภาพและไม่มีความต่อเนื่อง
ชีวิตแบบสุนทรียะ/ผัสสะ เป็นสิ่งที่ไร้
ประโยชน์ เพราะปัจเจกชนจะตกอยู่ใน
ความเบื่อ >> เบื่อชีวิต / เบื่อสภาพ
รอบตัว
การเบื่อตัวเอง/เบื่อชีวิต เป็นความว่าง
เปล่า (Nothingness) ที่ทาให้ชีวิตหมด
ความหมาย เกิดความทุกข์ทรมานทาง
ใจ >> มนุษย์จะรู้สึกไม่พอใจกับชีวิต
การดารงอยู่อย่างรุนแรงมาก
คุณคิดว่า การวิ่งเข้าหาความสนุก
ตื่นเต้นของชีวิตแบบสุขนิยมจะจบลงที่
ความเบื่อจริงหรือไม่...จากสุขจะ
กลายเป็นทุกข์ได้จริงหรือ??
ประสบการณ์ชีวิตแบบสุนทรียะ จะจบลงใน
ความสิ้นหวังในชีวิต
ตัวตนที่แท้จริงของปัจเจกชน ไม่อาจพบได้ใน
สิ่งภายนอก แต่พบได้ในความรู้สึกภายใน >>
เสรีภาพ / การตัดสินใจ / การลงมือกระทาจริง
>> ประสบการณ์ของชีวิตภายในตัวมนุษย์
(Subjectivity)
การมีชีวิตอยู่ คือ การเลือกกระทาการต่างๆ ใน
ชีวิตของเราด้วยตัวเราเอง
ความสิ้นหวังท้อแท้จะช่วยให้มนุษย์กลับมาฉุก
คิดเกี่ยวกับตัวตนที่แท้จริง >> จิตวิญญาณจะ
ก้าวกระโดดจากโลกนามธรรมไปสู่โลกของชีวิต
>> กระโดดจากชีวิตขั้นสุนทรียะ ไปสู่ขั้นจริยะ
ต่อไป
๒. ชีวิตขั้นจริยธรรม (The Ethical Stage)
เป็นประสบการณ์ชีวิตของการตัดสินใจ และมีพันธกิจอย่างแน่ว
แน่ในการลงมือกระทาสิ่งต่างๆ ที่ได้ตัดสินใจแล้ว >> เป็นอิสระ
จากสิ่งต่างๆในชีวิตขั้นสุนทรียะ
การตัดสินใจ หรือ การรับรู้อย่างมีสติ ** เป็นปัจจัยที่จาเป็นที่สุด
ในการที่ตัวตนค้นพบความมั่นคงและความเป็นเอกภาพ
การเลือกอย่างแท้จริงจะเป็นการเลือกจากภายในที่ประกอบด้วย
อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ >> คนที่กาลังเผชิญกับความตายนั้น
จะเลือกได้อย่างแท้จริง
คุณคิดอย่างไรกับ “ความตาย”....สาคัญกับการดารงอยู่ของคุณ
หรือไม่?
การเข้าไปเกี่ยวข้องกับความตายของ
ตัวเอง จะทาให้การดาเนินชีวิตของ
ปัจเจกชนเปลี่ยนแปลงไป >> เรา
จะต้องดาเนินชีวิตแต่ละวันนั้นให้
เป็นราวกับว่าแต่ละวันนั้นเป็นวัน
สุดท้ายของชีวิตเรา...^__^
การเลือกด้วยตัวเราเอง จะทาให้เรา
ค้นพบ “ตัวตนที่แท้จริง”
๓. ชีวิตขั้นศาสนา (Religion Stage)
คนเราจะต้องมีอยู่ก่อนที่เขาจะบรรลุถึง หรือได้มาซึ่งตัวตนที่
แท้จริงของเขา (existence is prior to humanity)
เป็นชีวิตที่ยึดมั่นในพันธกิจ (Commitment) และความเชื่อฟัง
ต่อพระผู้เป็นเจ้า
ในขั้นศาสนา ความเป็นจริงภายในตัวเองจะเข้มข้นที่สุด อยู่ภายใน
ความทุกข์ทรมาน
“บาป” คือ การหมดสิ้นหวังที่ไม่ปรารถนาจะเป็นตัวของตัวเอง
หรือ การไม่ปรารถนาจะเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระต่อหน้า
พระเจ้า
ศรัทธา หมายถึง การกระทาของตัวตนที่สัมพันธ์กับตัวตนที่
แท้จริง โดยการปรารถนาที่จะเป็นตัวเอง (มีชีวิตอยู่อย่าง
แท้จริง – authenticity) และแสดงความเคารพ ภักดี ซื่อตรงต่อ
พระผู้เป็นเจ้า
ความหมดสิ้นหวัง คือ เจตจานงที่ไม่ประสงค์จะเป็นตัวของ
ตัวเอง
บาปและความหมดสิ้นหวังนั้น จะถูกเอาชนะได้ด้วยศรัทธา
เท่านั้น >> นั่นก็คือ การกลับมาเป็นตัวของตัวเอง และการ
เต็มใจที่จะเป็นตัวของตัวเอง >> ตัวตนจะเข้าไปมีพื้นฐานอยู่
ในพลังสูงสุดที่สร้างตัวตนขึ้นมา (GOD)
www.padvee.com
ปรัชญา EXISTENTIALISM ของเกียกเกอการ์ด
ปรัชญาของเกียกเกอการ์ด จะมีแนวคิดที่โจมตีปรัชญาของเฮเกล >>
เฮเกลจะเห็นความจริงในระบบการคิดด้วยเหตุผล / เกียกเกอการ์ด จะ
เน้นความสาคัญของชีวิตการดารงอยู่จริงๆ ของมนุษย์
ปรัชญาของเฮเกลจะแสวงหาสิ่งสากล / เกียกเกอการ์ดจะแสวงหา
ความหมายของปัจเจกชน หรือสิ่งเฉพาะ
เฮเกล เน้นในความจาเป็นที่ต้องเป็นเช่นนั้น / เกียกเกอการ์ดจะเน้นใน
เสรีภาพ
เฮเกลเน้นความสาคัญในการคิด / คนที่มีชีวิตของปรัชญา
Existentialism จะเน้นอย่างแข็งขันในการดาเนินชีวิต
สาหรับเกียกเกอร์การ์ด >> ความจริง ก็คือ ความจริงของ
ปัจเจกชน ซึ่งเป็นความจริงที่อยู่ในตัวเอง (Subjectivity)
เป็นความจริงแท้ (truth) ซึ่งขึ้นอยู่กับจิตภายใน หรือ
อารมณ์ ความรู้สึก (Passion)
การคิดแบบอัตถิภาวะ (existentially) หรือ “การคิดแบบยึด
ชีวิตการดารงอยู่เป็นสาคัญ” หมายถึง การคิดด้วยอารมณ์
ความรู้สึกภายใน
การตัดสินใจทุกครั้งนั้น เป็นการตัดสินใจที่ต้องขึ้นอยู่กับ
ความจริงภายในของจิต (subjectivity)
ความไม่แน่นอนของอารมณ์
ความรู้สึกภายในจิตใจ จะสร้างความ
กระวนกระวาย หรือ ความทุกข์ใจขึ้น
ซึ่งจะสงบลงได้ โดยการใช้ “ศรัทธา”
(faith)
ศรัทธาไม่สามารถมีได้ ถ้าไม่มีการ
เสี่ยง ไม่มีการเลือก ไม่มีอารมณ์
ความรู้สึก และไม่มีประสบการณ์
ภายใน
ชีวิตการดารงอยู่นั้น (existence) ไม่
สามารถจะถูกคิดได้ >> ชีวิตไม่ใช่
เรื่องที่จะคิด แต่เป็นเรื่องที่เราจะต้อง
มีชีวิตอยู่จริงๆ (be lived)
“พระผู้เป็นเจ้าไม่คิด พระองค์
ทรงสร้าง พระผู้เป็นเจ้าไม่ได้มี
ชีวิตดารงอยู่เพราะพระองค์นั้น
เป็นนิรันดร มนุษย์คิดและมี
ชีวิตดารงอยู่ และชีวิตการดารง
อยู่นั้น (existence) จะเป็นตัว
แยกความคิด และความเป็น
มนุษย์ออกจากกัน” (thought
and being)
Soren Kierkegaard
ความจริง เป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ภายในตัวคน
(Truth as Subjectivity)
เนื้อหาสาคัญของปรัชญาเอ็กซิสท์ฯ >> ฉันต้องดารงชีวิตอยู่
อย่างไร?
เกียกเกอการ์ด >> การเข้าใจตัวของข้าพเจ้าเอง คือ การที่จะต้อง
เห็นในสิ่งที่พระผู้เป็นเจ้าทรงปรารถนาให้ข้าพเจ้าทา
สิ่งสาคัญ คือ การได้ค้นพบสัจธรรมซึ่งเป็นจริงสาหรับตัวข้าพเจ้า
คือ การได้ค้นพบความคิดที่จะเป็นแนวทางให้ข้าพเจ้าสามารถที่จะ
ใช้นาทางในการดาเนินชีวิต หรือใช้นาทางไปสู่จุดสิ้นสุดของชีวิต
ข้าพเจ้าได้...มิใช่สัจธรรมอันเย็นชาและเปลือยเปล่า
เกียกเกอการ์ด >> ความจริง
แท้ จะต้องเป็นสภาพภายใน
จิตใจของมนุษย์ (Truth is
subjectivity) >> ได้แก่ สภาพ
แห่งอารมณ์ ความรู้สึก และ
ความคิด
คุณเห็นด้วยกับเกียกเกอการ์ด
หรือไม่? / อารมณ์ ความรู้สึก
ภายในที่สะท้อนความเป็นตัว
เรา สาคัญกว่าความสนใจใน
สิ่งภายนอกหรือไม่ อย่างไร?
ความรู้ ความเข้าใจวิทยาศาสตร์
หรือแบบปรนัย ไม่สามารถจะให้
เหตุผลแก่คนใดคนหนึ่งในการที่
จะดารงชีวิตต่อไปได้ เพราะไม่
สามารถที่จะตอบคาถามได้ว่า >>
“ฉันต้องทาอะไร?” >> ไม่
สามารถที่จะให้ความคิด หรือ
ความหมาย หรืออุดมการณ์ ที่
ฉันจะสามารถนาชีวิตของฉันได้
หรือ ให้เหตุผลถึงการที่ฉันจะมี
ชีวิตอยู่ หรือจะตายได้
เกียกเกอการ์ด ให้ความสาคัญกับปัจเจกชนแต่ละคน >> “เรา
ต้องเรียนรู้ตัวเราเองก่อนที่จะรู้สิ่งอื่นใดทั้งหมด” / “อัตนัยภาพ
คือความจริง”
ระบบและทฤษฎี ทาได้เพียงแต่จาแนกแยกแยะแบบแผนและ
นามธรรมต่างๆ เท่านั้น ระบบและทฤษฎีไม่เคยแม้แต่มอง
“ปัจเจกชนที่มีชีวิตอยู่” เลย
 “ข้าพเจ้าถือว่าเป็นหน้าที่ที่จะสร้างความ
ยากในทุกแห่ง”
 “ข้าพเจ้ามีหน้าที่ทาให้เรื่องยาก เพราะว่า
เรื่องยากๆ เท่านั้นที่สามารถบันดาลใจนัก
คิดที่มีใจสูง”
 เขาเป็นคนแรกที่ยกปัญหา อัตถิภาวะ
ขึ้นมาพิจารณาโดยตรง และถือว่า
อัตถิภาวะเป็นพื้นฐานของความรู้/
เทววิทยา/จริยธรรม /เป็นจุดหมายของ
การสร้างโลก
 ^__^ สวัสดีจ้า
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
Padvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
Thanapat Vimonsat
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
Padvee Academy
 

What's hot (20)

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 

Similar to แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
เกมส์ 'เกมส์'
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
Poramate Minsiri
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
wiriya kosit
 
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGmsประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
pyopyo
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
Taraya Srivilas
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
jirawat_r
 

Similar to แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
10
1010
10
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
You Are The One How Can You Chage The World (PDF)
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGmsประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
ประเพณีไทยและการฝังศพของชุมชนโบราณในGms
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard