SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
NEO-CLASSIC 
A r t BY : PROMPICHET SONTIMUANG 
ARCHITECTURE 154501251024
N E O – C L A S S I C 
ศิลปะนีโอ-คลาสสิกอิสม์เกิดขึน้ครัง้แรกที่ 
โ ร ม ป ร ะ เ ท ศ อิต า ลี นีโ อ ( Neo) ห ม า ย ถึง 
ใหม่คลาสสิก (Classic) หมายถึง กรีกและโรมัน ซึ่ง 
รวมความแล้วหมายถึง ความเคลื่อนไหว ของศิลปะ 
ซึ่งมีสุนทรียภาพตามแบบศิลปะกรีกและโรมัน ที่ 
เกิดขึ้นในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงต้น 
คริสต์ศตวรรษที่19 (ค.ศ. 170 1- ค.ศ. 1801) 
นีโอคลาสสิกเป็นรูปแบบศิลปะที่อยู่ใน 
ระยะหัวเลีย้วหัวต่อระหว่างสมัยใหม่กับสมัยเก่า 
ภาพเขียนจะสะท้อนเรื่องราวทางอารยธรรม 
เน้นความสง่างามของรูปร่างทรวดทรงของคน 
และส่วนประกอบของภาพ มีขนาดใหญ่โต 
แข็งแรง มั่นคง ใช้สีกลมกลืน มีดุลยภาพของ 
แสง และเงาที่งดงาม สีเน้นหนักไปทางสีน้าตาล 
ดา เขียว และขาว 
ศิลปินที่สา คัญของ ศิลปะ แบบนีโ อ 
คลาสสิก ได้แก่ ชาก ลุย ดาวิด (ค.ศ. 1748- 
1825) ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานของ 
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก งานจิตรกรรมที่มี 
ชื่อเสียง เช่น การสาบานของโฮราตี (The Oath 
of Horatij) การตายของมาราต์ (The Death of 
Marat) การศึกระหว่างโรมันกับซาไบน์ (Battle 
of the Roman and Sabines) และ เบนจามิน 
เวสต์ (Benjamin West, 1738-1820) เป็นต้น 
Death of Marat",1793 AD. 
จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้ำใบ 
โดย จำค หลุยส์ เดวิด (Jacque Louis David) 
แสดงลักษณะของรูปคนที่ถูกต้อง ชัดเจน ตำมหลักกำย 
วิภำคศำสตร์ (Anatomy) 
Bonaparte crossing the st. Bernard pass 1801AD. ผลงาน 
ของดาวิด 
A R T
1 คาสัตย์สาบานของพี่น้องตระกูล 
โฮราติอี(The Oath of the Horatii) 
สีนา้มัน ขนาด14 X 11 ฟุต 
2 มรณกรรมของโสคราติส (The 
Death of Socrates) 
สีนา้มัน ขนาด 51 X 77 ½ นวิ้ 
3 
4 
บรูตุสกับร่างไร้วิญญาณของ 
บุตรชาย(Lictor Bringing Back 
to Brutus the Body of His 
Sons)สีนา้มัน ขนาด 10 ฟตุุ8 นวิ้ 
X 13 ฟตุุ10 นวิ้ 
การสู้รบระหว่างชาวโรมันกับชาว 
ซาบีน (Battle of the Romans 
and Sabins) 
สีนา้มัน ขนาด 12 ฟตุุ8 นวิ้X 
17 ฟุุต ค..ศ.1799 
N E O – C L A S S I C 
1 2 
3 4 
A R T
N E O – C L A S S I C A R T สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์ลัทธินีโอ 
คลาสสิค คือ 
1. เก่ยีวกับการจัดภาพแบบ 
สากล แสดงออกเรื่องราวรูปทรง 
ธรรมชาติของคน ในท่าทางต่างๆ และ 
เน้นกล้ามเนื้อ 
2. ทฤษฎีการถ่ายทอดแบบ 
เหมือนจริง เช่น ภาพคนเหมือน เทพ 
นิยายกรีกและเรื่องราวในสังคม 
3. ระบายสีอ่อนเน้นความ 
กลมกลืน เส้น สี แสงเงา พนื้ผิว 
ศิลปินที่มีชื่อเสียงในสมัยลัทธินีโอคลาสสิค 
ได้แก่ 
1. เดวิด ค.ศ ๑๗๔๘-๑๘๒๕ จิตร 
กรชาวฝรั่งเศส เป็นผู้นาที่มีชื่อเสียง ได้แก่ 
(1) ภาพแสดงเรื่องราวความ 
กล้าหาญของวีรบุรุษ เช่น การสาบานของ 
พวกเฮอเรส การทาศึกระหว่างโรมันและชาว 
ซาไบน์การตายของมาราท์ 
(2) ภาพนโบเลียนได้รับการเจิม 
จากสันตะปาปา ในพิธีแต่งตัง้เป็นจกัรพรรดิ์ 
ฝรั่งเศส 
2. แองส์ (Ingres) ค.ศ. ๑๗๘๐ – 
๑๘๖๗ แองส์เรียนศิลปะกับเดวิดและมี 
ความนิยมในผลงานแบบคลาสสิคมาก 
ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ภาพหญิงสาวในลา 
ธาร หญิงสาวอาบนา้แบบเตอร์ก 
"พระราชวงศ์พระเจ้าชาลส์ที่ 4" โดย ฟรานซิสโก โกยา "ใต้ร่มเงาแดด" โดย ฟรานซิสโก โกยา 
"3 พฤษภาคม พ.ศ. 2351" พ.ศ. 2357-58 สีนา้มันบนผ้าใบ ขนาดภาพ 
ราว 9 ฟุต X 11 ฟุต พิพิธภัณฑ์ปราโด กรุงมาดริด ประเทศสเปน 
"แขวนคอ" พ.ศ. 2353 ภาพพิมพ์กัดกรด จากชุด "ความหายนะของ 
สงคราม" หอสมุดสาธารณะนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา
N E O – C L A S S I C A R T 
ศิลปะนีโอคลำสสิคในอเมริกำ "George Washington“ ประติมำกรรมจอร์จ 
วอชิงตัน ในประเทศอเมริกำ มีลักษณะคล้ำย โสเครตีส ประติมำกรรมสมัย 
กรีก โดย โฮรำติโอะ กรีนอฟ (Horatio Greenough) 
ประติมากรรม มีสัดส่วนถูกต้อง ยึดระเบียบแบบแผนจาก 
สมัยกรีกและโรมันอย่างเคร่งครัด ประติมากรรมคนมักใช้ใบหน้าจาก 
แบบจริงผสมผสานกับรูปร่างแบบสมัยคลาสสิก แต่ก็ดู เหมือนให้ 
ความรู้สึกมีชีวิตชีวาน้อยกว่าสมัยเรอเนสซองซ์และบาโรก ประติมา 
กรที่สา คัญ ได้แก่ อันโตนีโอ คาโนวา (Antonio Canova) 
งานวรรณกรรม ยังคงมีอิทธิพลของศิลปะกรีก-โรมันแฝงอยู่ 
กล่าวคือ ยึดมั่นในระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์เดิม แต่เน้น 
ความสาคัญของเหตุผลและความคิด มิใช่อารมณ์อย่างเดียว มีการ 
เขียนวิพากษ์วิจารณ์และเสียดสีสังคมมากขึน้ สะท้อนถึงความ 
ต้องการที่จะปรับปรุงสังคมให้ดีงามโดยสันติวิธี ภาษาที่ใช้มีความ 
ไพเราะสละสลวย แต่ในช่วงตอนปลายของคริสต์วรรษที่ 18 งาน 
วรรณกรรมค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป การยึดมั่นในระเบียบกฎเกณฑ์ 
ของวรรณกรรมคลาสสิกลดน้อยลง แต่ให้ความสาคัญแก่เสรีภาพใน 
การเขียน โดยใช้รูปแบบที่เป็นตัวของตัวเองมากขึน้ เช่น การใช้ภาษา 
ประจาชาติของผู้ประพันธ์ เป็นต้น 
กวีนิพนธ์ ที่มีชื่อเสียงมากเป็นผลงานของอเล็กซานเดอร์โป๊ป 
(AlexanderPope) กวีชาวอังกฤษ เรื่อง "ความเรียงเรื่องมนุษย์" (Ah 
Essay on Man) เขียนตามรูปแบบและกฎเกณฑ์สมัยคลาสสิกอย่าง 
เคร่งครัด ใช้ถ้อยคาคมคาย เสียดสีมนุษย์และสังคมอย่าง 
ตรงไปตรงมา 
นาฎกรรม บทละครนีโอ คลาสสิก ได้รับอิทธิพลจากบทละคร 
กรีกที่เน้นความสมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งสอนศีลธรรมแก่ผู้ชม 
ควบคู่กับความบันเทิง มีทัง้บทละครประเภทโศกนาฎกรรมและสุข 
นาฎกรรม 
ดนตรีอิทธิพลของแนวความคิดในสมัยแห่งเหตุผลที่เชื่อมนั่ในภูมิ 
ปัญญาและความสามารถของมนุษย์ เปิดโอกาสให้นักดนตรี นักร้อง 
และนักแต่งเพลง แสดงความสามารถส่วนตัวออกมาได้อย่างเต็มที่ 
เช่น การแสดงดนตรีเดี่ยว และการร้องเดี่ยวให้เพลงโอเปร่า เป็นต้น 
การประพันธ์เพลงจะยึดหลักเกณฑ์โดยเคร่งครัด นักดนตรีที่สาคัญ 
ได้แก่ โมสาร์ท (Mozart) และ บีโธเฟน (Beethoven) 
บีโธเฟน (Beethoven) 
โมสาร์ท (Mozart)
N E O – C L A S S I C 
การปฏิวัติอุตสาหกรรมช่วงแรก (อังกฤษ: Industrial 
Revolution) คือช่วงเวลาตัง้แต่ค.ศ. 1750 ถงึค.ศ. 1850 
เมื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การ 
ทาเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผล 
กระทบอย่างลึกซึง้ต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และ 
วัฒนธรรมในขณะนัน้การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราช 
อาณาจักร จากนัน้จึงแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก 
, อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไปทวั่ทัง้โลกในเวลาต่อมา 
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครัง้สาคัญใน 
ประวัติศาสตร์โลก ซึ่งส่งผลกระทบในเกือบทุกแง่มุมของ 
ชีวิตประจาวันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ที่เห็นเด่นชัดที่สุดคือ 
การที่รายได้และจานวนประชากรโดยเฉลี่ยเริ่มที่จะขยาย 
ตัวอย่างยงั่ยืนในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทาให้สองร้อย 
ปีหลังจาก ค.ศ. 1800 ค่าเฉลี่ยรายได้ต่อหัวของโลก 
ขยายตัวมากกว่าสิบเท่า ในขณะที่จานวนประชากร 
ขยายตัวมากกว่าหกเท่า จากคากล่าวของผู้รับรางวัล 
โนเบลสาขาสันติภาพ โรเบิร์ต อี. ลูคัส จูเนียร์ "เป็นครั้ง 
แรกในประวัติศำสตร์ที่มำตรฐำนกำรดำรงชีวิตของ 
ประชำชนธรรมดำส่วนมำกจะเริ่มเติบโตอย่ำงมนั่คง ซึ่งไม่ 
เคยมีพฤติกำรณ์ทำงเศรษฐกิจเช่นนี้เกิดขึ้นมำก่อน" 
กระบวนการเริ่มต้นขึน้ในช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 
18 ด้วยการเปลี่ยนผ่านซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนจาก 
เศรษฐกิจแบบพึ่งพาแรงงานคนและสัตว์เป็นหลักไปเป็น 
เศรษฐกิจแบบพึ่งพาเครื่องจักรเป็นหลักของสหราช 
อาณาจักร โดยเริ่มในอุตสาหกรรมสิ่งทอเป็น 
อุตสาหกรรมแรก อันเป็นผลมาจากการพัฒนากรรมวิธี 
การหลอมเหล็กและความนิยมในการใช้ถ่านหินโค้กที่ 
แพร่หลายขึน้ 
โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุสาหกรรม 
เครื่องจักรไอนา้ของเจมส์วัตต์ ซงึ่เป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม 
T E C H 
N O L O G Y 
เหล็กและถ่ำนหิน โดยวิลเลียม เบลล์สกอตต์, 
ค.ศ. 1855-60
N E O – C L A S S I C 
A R C H I T E C T U R E 
สถาปัตยกรรมแบบคลาส สิคใหม่(Neo-Classic) เป็น 
รูปแบบสถาปัยกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากการเคลื่อนไหว 
ของการเกิดศิลปะแบบคลาสสิคสมัยใหม่ เนื่องจากการเผด็จ 
การทางการเมือง การต่อต้านการแบ่งชนชัน้ในฝรั่งเศสและ 
การที่ประชาชนได้รับความเจ็บปวดจากการเมืองทาให้ชาว 
ยุโรปตะวันตกหันมาสนใจในศิลปะแบบคลาสสิคอีกครั้ง 
ประกอบกับการที่การพัฒนาด้านวิทยาการวิทยาศาสตร์ด้าน 
โบราณคดีที่มากขึน้ เพราะขุดค้นพบเมืองกรีกโบราณ คือ 
เมืองเฮอคูลาเนียน (1738) และเมืองปอมเปอี (1748) ได้ ซึ่ง 
พบศิลปะวัตถุที่มีค่า 
งานสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic พบ 
มากในยุโรปและได้รับความนิยมมากในฝรั่งเศส 
รูปลักษณะที่Neo- Classic นามาใช้และสังเกต 
ได้ 
1.Symmetrical shape (รูปร่างที่สมมาตร) 
2.Tall column that rise the full height of 
building , colonian (เสาสูงขีน้ไปจนเต็มความสูง 
อาคาร) 
3.Triangular pediment (สามเหลี่ยมจั่วด้านหน้า 
อาคาร) 
4.Domed roof (หลังคายอดโดม)
N E O – C L A S S I C 
The White House ,Washington 
DC,USA,Goverment building : James Hoban 
Arc de triomphe de l'Étoile 
ประตูชัยฝรั่งเศศ 
Ananda Samakhom Throne Hall พระที่นงั่วโรภาษพิมาน 
"Monticello" 
,Charlottesville, 
Virginia.1769-84 AD. 
สถำปัตยกรรมในประเทศอเมริกำ 
โดยสถำปนิก โธมัส เจเฟอร์สัน 
(Thomas Jefferson)
N E O – C L A S S I C 
C U L T U R A L H E R I T A G E 
Kazan Cathedral 
โบสถ์คาซาน เป็นสถาปัตยกรรมในรูป 
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก เป็นลักษณะ 
รูปทรงครึ่งวงกลม มีเสาหินวางเรียงแถว 
ยาวอย่างเป็นระเบียบหลังจาก 10 ปี 
แห่งการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยคาซาน 
กลายเป็นสถานที่เพื่อมาสักการะบูชาที่ 
ได้รับความนิยมเป็น อย่าง เนื่องจาก 
สาเหตุหนึ่งมาจากเพราะตั้งอยู่ในใจ 
กลางเมือง จึงทาให้ประชาชน หรือ 
นักท่องเที่ยวพบเห็นได้ง่าย และด้วย 
ความสวยงามของมหาวิหารที่มักจะเป็น 
ที่สะดุดตาของผู้พบเห็น 
สร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 1811 
ออกแบบโดยสถาปนิก คือ 
- Charles Camelon 
- Thomas de Thomon 
- Pietro Gonzago
N E O – C L A S S I C 
C U L T U R A L L A N D S C A P E S 
เป็นเมืองหลวงของแคว้น 
ส ก อ ต แ ล น ด์ ส ห ร า ช 
อ า ณ า จัก ร ลัก ษ ณ ะ ภูมิ 
ประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่ 
กลางเมือง เอดินบะระ 
(Edinburgh) เมืองที่มี 
ทัศ นีย ภ า พ ข อ ง เ มือ ง ที่ 
สวยงาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 
สองส่วนส าคัญดังนี้คือ 
โอลด์ทาวน์ ที่มีสาคัญทาง 
ประวัติศาสตร์และเก่าแก่ มี 
ถนนหรือทาง เดินที่เก่าแก่ 
ในยุคกลาง และจอร์เจียน 
นิวทาวน์ ที่มีความงามใน 
แบบนีโอ-คลาสิค

More Related Content

What's hot

ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่BNice' Nutchayatip
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
BDC412 เอเชียตะวันออก
BDC412 เอเชียตะวันออกBDC412 เอเชียตะวันออก
BDC412 เอเชียตะวันออกPapanan Kraimate
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
BDC412 เอเชียตะวันออก
BDC412 เอเชียตะวันออกBDC412 เอเชียตะวันออก
BDC412 เอเชียตะวันออก
 

Similar to 018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการChatimon Simngam
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่BNice' Nutchayatip
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3NisachonKhaoprom
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์Pornsitaintharak
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religionfuangfaa
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้fuangfaa
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 

Similar to 018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง (20)

Content04
Content04Content04
Content04
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religion
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์Aniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญาAniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพรAniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 

018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง

  • 1. NEO-CLASSIC A r t BY : PROMPICHET SONTIMUANG ARCHITECTURE 154501251024
  • 2. N E O – C L A S S I C ศิลปะนีโอ-คลาสสิกอิสม์เกิดขึน้ครัง้แรกที่ โ ร ม ป ร ะ เ ท ศ อิต า ลี นีโ อ ( Neo) ห ม า ย ถึง ใหม่คลาสสิก (Classic) หมายถึง กรีกและโรมัน ซึ่ง รวมความแล้วหมายถึง ความเคลื่อนไหว ของศิลปะ ซึ่งมีสุนทรียภาพตามแบบศิลปะกรีกและโรมัน ที่ เกิดขึ้นในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงต้น คริสต์ศตวรรษที่19 (ค.ศ. 170 1- ค.ศ. 1801) นีโอคลาสสิกเป็นรูปแบบศิลปะที่อยู่ใน ระยะหัวเลีย้วหัวต่อระหว่างสมัยใหม่กับสมัยเก่า ภาพเขียนจะสะท้อนเรื่องราวทางอารยธรรม เน้นความสง่างามของรูปร่างทรวดทรงของคน และส่วนประกอบของภาพ มีขนาดใหญ่โต แข็งแรง มั่นคง ใช้สีกลมกลืน มีดุลยภาพของ แสง และเงาที่งดงาม สีเน้นหนักไปทางสีน้าตาล ดา เขียว และขาว ศิลปินที่สา คัญของ ศิลปะ แบบนีโ อ คลาสสิก ได้แก่ ชาก ลุย ดาวิด (ค.ศ. 1748- 1825) ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานของ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก งานจิตรกรรมที่มี ชื่อเสียง เช่น การสาบานของโฮราตี (The Oath of Horatij) การตายของมาราต์ (The Death of Marat) การศึกระหว่างโรมันกับซาไบน์ (Battle of the Roman and Sabines) และ เบนจามิน เวสต์ (Benjamin West, 1738-1820) เป็นต้น Death of Marat",1793 AD. จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้ำใบ โดย จำค หลุยส์ เดวิด (Jacque Louis David) แสดงลักษณะของรูปคนที่ถูกต้อง ชัดเจน ตำมหลักกำย วิภำคศำสตร์ (Anatomy) Bonaparte crossing the st. Bernard pass 1801AD. ผลงาน ของดาวิด A R T
  • 3. 1 คาสัตย์สาบานของพี่น้องตระกูล โฮราติอี(The Oath of the Horatii) สีนา้มัน ขนาด14 X 11 ฟุต 2 มรณกรรมของโสคราติส (The Death of Socrates) สีนา้มัน ขนาด 51 X 77 ½ นวิ้ 3 4 บรูตุสกับร่างไร้วิญญาณของ บุตรชาย(Lictor Bringing Back to Brutus the Body of His Sons)สีนา้มัน ขนาด 10 ฟตุุ8 นวิ้ X 13 ฟตุุ10 นวิ้ การสู้รบระหว่างชาวโรมันกับชาว ซาบีน (Battle of the Romans and Sabins) สีนา้มัน ขนาด 12 ฟตุุ8 นวิ้X 17 ฟุุต ค..ศ.1799 N E O – C L A S S I C 1 2 3 4 A R T
  • 4. N E O – C L A S S I C A R T สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์ลัทธินีโอ คลาสสิค คือ 1. เก่ยีวกับการจัดภาพแบบ สากล แสดงออกเรื่องราวรูปทรง ธรรมชาติของคน ในท่าทางต่างๆ และ เน้นกล้ามเนื้อ 2. ทฤษฎีการถ่ายทอดแบบ เหมือนจริง เช่น ภาพคนเหมือน เทพ นิยายกรีกและเรื่องราวในสังคม 3. ระบายสีอ่อนเน้นความ กลมกลืน เส้น สี แสงเงา พนื้ผิว ศิลปินที่มีชื่อเสียงในสมัยลัทธินีโอคลาสสิค ได้แก่ 1. เดวิด ค.ศ ๑๗๔๘-๑๘๒๕ จิตร กรชาวฝรั่งเศส เป็นผู้นาที่มีชื่อเสียง ได้แก่ (1) ภาพแสดงเรื่องราวความ กล้าหาญของวีรบุรุษ เช่น การสาบานของ พวกเฮอเรส การทาศึกระหว่างโรมันและชาว ซาไบน์การตายของมาราท์ (2) ภาพนโบเลียนได้รับการเจิม จากสันตะปาปา ในพิธีแต่งตัง้เป็นจกัรพรรดิ์ ฝรั่งเศส 2. แองส์ (Ingres) ค.ศ. ๑๗๘๐ – ๑๘๖๗ แองส์เรียนศิลปะกับเดวิดและมี ความนิยมในผลงานแบบคลาสสิคมาก ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ภาพหญิงสาวในลา ธาร หญิงสาวอาบนา้แบบเตอร์ก "พระราชวงศ์พระเจ้าชาลส์ที่ 4" โดย ฟรานซิสโก โกยา "ใต้ร่มเงาแดด" โดย ฟรานซิสโก โกยา "3 พฤษภาคม พ.ศ. 2351" พ.ศ. 2357-58 สีนา้มันบนผ้าใบ ขนาดภาพ ราว 9 ฟุต X 11 ฟุต พิพิธภัณฑ์ปราโด กรุงมาดริด ประเทศสเปน "แขวนคอ" พ.ศ. 2353 ภาพพิมพ์กัดกรด จากชุด "ความหายนะของ สงคราม" หอสมุดสาธารณะนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 5. N E O – C L A S S I C A R T ศิลปะนีโอคลำสสิคในอเมริกำ "George Washington“ ประติมำกรรมจอร์จ วอชิงตัน ในประเทศอเมริกำ มีลักษณะคล้ำย โสเครตีส ประติมำกรรมสมัย กรีก โดย โฮรำติโอะ กรีนอฟ (Horatio Greenough) ประติมากรรม มีสัดส่วนถูกต้อง ยึดระเบียบแบบแผนจาก สมัยกรีกและโรมันอย่างเคร่งครัด ประติมากรรมคนมักใช้ใบหน้าจาก แบบจริงผสมผสานกับรูปร่างแบบสมัยคลาสสิก แต่ก็ดู เหมือนให้ ความรู้สึกมีชีวิตชีวาน้อยกว่าสมัยเรอเนสซองซ์และบาโรก ประติมา กรที่สา คัญ ได้แก่ อันโตนีโอ คาโนวา (Antonio Canova) งานวรรณกรรม ยังคงมีอิทธิพลของศิลปะกรีก-โรมันแฝงอยู่ กล่าวคือ ยึดมั่นในระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์เดิม แต่เน้น ความสาคัญของเหตุผลและความคิด มิใช่อารมณ์อย่างเดียว มีการ เขียนวิพากษ์วิจารณ์และเสียดสีสังคมมากขึน้ สะท้อนถึงความ ต้องการที่จะปรับปรุงสังคมให้ดีงามโดยสันติวิธี ภาษาที่ใช้มีความ ไพเราะสละสลวย แต่ในช่วงตอนปลายของคริสต์วรรษที่ 18 งาน วรรณกรรมค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป การยึดมั่นในระเบียบกฎเกณฑ์ ของวรรณกรรมคลาสสิกลดน้อยลง แต่ให้ความสาคัญแก่เสรีภาพใน การเขียน โดยใช้รูปแบบที่เป็นตัวของตัวเองมากขึน้ เช่น การใช้ภาษา ประจาชาติของผู้ประพันธ์ เป็นต้น กวีนิพนธ์ ที่มีชื่อเสียงมากเป็นผลงานของอเล็กซานเดอร์โป๊ป (AlexanderPope) กวีชาวอังกฤษ เรื่อง "ความเรียงเรื่องมนุษย์" (Ah Essay on Man) เขียนตามรูปแบบและกฎเกณฑ์สมัยคลาสสิกอย่าง เคร่งครัด ใช้ถ้อยคาคมคาย เสียดสีมนุษย์และสังคมอย่าง ตรงไปตรงมา นาฎกรรม บทละครนีโอ คลาสสิก ได้รับอิทธิพลจากบทละคร กรีกที่เน้นความสมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งสอนศีลธรรมแก่ผู้ชม ควบคู่กับความบันเทิง มีทัง้บทละครประเภทโศกนาฎกรรมและสุข นาฎกรรม ดนตรีอิทธิพลของแนวความคิดในสมัยแห่งเหตุผลที่เชื่อมนั่ในภูมิ ปัญญาและความสามารถของมนุษย์ เปิดโอกาสให้นักดนตรี นักร้อง และนักแต่งเพลง แสดงความสามารถส่วนตัวออกมาได้อย่างเต็มที่ เช่น การแสดงดนตรีเดี่ยว และการร้องเดี่ยวให้เพลงโอเปร่า เป็นต้น การประพันธ์เพลงจะยึดหลักเกณฑ์โดยเคร่งครัด นักดนตรีที่สาคัญ ได้แก่ โมสาร์ท (Mozart) และ บีโธเฟน (Beethoven) บีโธเฟน (Beethoven) โมสาร์ท (Mozart)
  • 6. N E O – C L A S S I C การปฏิวัติอุตสาหกรรมช่วงแรก (อังกฤษ: Industrial Revolution) คือช่วงเวลาตัง้แต่ค.ศ. 1750 ถงึค.ศ. 1850 เมื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การ ทาเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผล กระทบอย่างลึกซึง้ต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมในขณะนัน้การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราช อาณาจักร จากนัน้จึงแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก , อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไปทวั่ทัง้โลกในเวลาต่อมา การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครัง้สาคัญใน ประวัติศาสตร์โลก ซึ่งส่งผลกระทบในเกือบทุกแง่มุมของ ชีวิตประจาวันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ที่เห็นเด่นชัดที่สุดคือ การที่รายได้และจานวนประชากรโดยเฉลี่ยเริ่มที่จะขยาย ตัวอย่างยงั่ยืนในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทาให้สองร้อย ปีหลังจาก ค.ศ. 1800 ค่าเฉลี่ยรายได้ต่อหัวของโลก ขยายตัวมากกว่าสิบเท่า ในขณะที่จานวนประชากร ขยายตัวมากกว่าหกเท่า จากคากล่าวของผู้รับรางวัล โนเบลสาขาสันติภาพ โรเบิร์ต อี. ลูคัส จูเนียร์ "เป็นครั้ง แรกในประวัติศำสตร์ที่มำตรฐำนกำรดำรงชีวิตของ ประชำชนธรรมดำส่วนมำกจะเริ่มเติบโตอย่ำงมนั่คง ซึ่งไม่ เคยมีพฤติกำรณ์ทำงเศรษฐกิจเช่นนี้เกิดขึ้นมำก่อน" กระบวนการเริ่มต้นขึน้ในช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ด้วยการเปลี่ยนผ่านซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนจาก เศรษฐกิจแบบพึ่งพาแรงงานคนและสัตว์เป็นหลักไปเป็น เศรษฐกิจแบบพึ่งพาเครื่องจักรเป็นหลักของสหราช อาณาจักร โดยเริ่มในอุตสาหกรรมสิ่งทอเป็น อุตสาหกรรมแรก อันเป็นผลมาจากการพัฒนากรรมวิธี การหลอมเหล็กและความนิยมในการใช้ถ่านหินโค้กที่ แพร่หลายขึน้ โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุสาหกรรม เครื่องจักรไอนา้ของเจมส์วัตต์ ซงึ่เป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม T E C H N O L O G Y เหล็กและถ่ำนหิน โดยวิลเลียม เบลล์สกอตต์, ค.ศ. 1855-60
  • 7. N E O – C L A S S I C A R C H I T E C T U R E สถาปัตยกรรมแบบคลาส สิคใหม่(Neo-Classic) เป็น รูปแบบสถาปัยกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากการเคลื่อนไหว ของการเกิดศิลปะแบบคลาสสิคสมัยใหม่ เนื่องจากการเผด็จ การทางการเมือง การต่อต้านการแบ่งชนชัน้ในฝรั่งเศสและ การที่ประชาชนได้รับความเจ็บปวดจากการเมืองทาให้ชาว ยุโรปตะวันตกหันมาสนใจในศิลปะแบบคลาสสิคอีกครั้ง ประกอบกับการที่การพัฒนาด้านวิทยาการวิทยาศาสตร์ด้าน โบราณคดีที่มากขึน้ เพราะขุดค้นพบเมืองกรีกโบราณ คือ เมืองเฮอคูลาเนียน (1738) และเมืองปอมเปอี (1748) ได้ ซึ่ง พบศิลปะวัตถุที่มีค่า งานสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic พบ มากในยุโรปและได้รับความนิยมมากในฝรั่งเศส รูปลักษณะที่Neo- Classic นามาใช้และสังเกต ได้ 1.Symmetrical shape (รูปร่างที่สมมาตร) 2.Tall column that rise the full height of building , colonian (เสาสูงขีน้ไปจนเต็มความสูง อาคาร) 3.Triangular pediment (สามเหลี่ยมจั่วด้านหน้า อาคาร) 4.Domed roof (หลังคายอดโดม)
  • 8. N E O – C L A S S I C The White House ,Washington DC,USA,Goverment building : James Hoban Arc de triomphe de l'Étoile ประตูชัยฝรั่งเศศ Ananda Samakhom Throne Hall พระที่นงั่วโรภาษพิมาน "Monticello" ,Charlottesville, Virginia.1769-84 AD. สถำปัตยกรรมในประเทศอเมริกำ โดยสถำปนิก โธมัส เจเฟอร์สัน (Thomas Jefferson)
  • 9. N E O – C L A S S I C C U L T U R A L H E R I T A G E Kazan Cathedral โบสถ์คาซาน เป็นสถาปัตยกรรมในรูป ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก เป็นลักษณะ รูปทรงครึ่งวงกลม มีเสาหินวางเรียงแถว ยาวอย่างเป็นระเบียบหลังจาก 10 ปี แห่งการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยคาซาน กลายเป็นสถานที่เพื่อมาสักการะบูชาที่ ได้รับความนิยมเป็น อย่าง เนื่องจาก สาเหตุหนึ่งมาจากเพราะตั้งอยู่ในใจ กลางเมือง จึงทาให้ประชาชน หรือ นักท่องเที่ยวพบเห็นได้ง่าย และด้วย ความสวยงามของมหาวิหารที่มักจะเป็น ที่สะดุดตาของผู้พบเห็น สร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 1811 ออกแบบโดยสถาปนิก คือ - Charles Camelon - Thomas de Thomon - Pietro Gonzago
  • 10. N E O – C L A S S I C C U L T U R A L L A N D S C A P E S เป็นเมืองหลวงของแคว้น ส ก อ ต แ ล น ด์ ส ห ร า ช อ า ณ า จัก ร ลัก ษ ณ ะ ภูมิ ประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่ กลางเมือง เอดินบะระ (Edinburgh) เมืองที่มี ทัศ นีย ภ า พ ข อ ง เ มือ ง ที่ สวยงาม ซึ่งแบ่งออกเป็น สองส่วนส าคัญดังนี้คือ โอลด์ทาวน์ ที่มีสาคัญทาง ประวัติศาสตร์และเก่าแก่ มี ถนนหรือทาง เดินที่เก่าแก่ ในยุคกลาง และจอร์เจียน นิวทาวน์ ที่มีความงามใน แบบนีโอ-คลาสิค