SlideShare a Scribd company logo
1
ภิสชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๕. ภิสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๘)
ว่าด้วยท้าวสักกะลักเหง้าบัวเพื่อลองใจฤๅษี
(อุปกัญจนดาบสสาบานว่า)
[๗๘] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงได้ม้า โค
เงิน ทอง และภรรยาที่น่าพอใจในโลกนี้
และจงเป็นผู้พรั่งพร้อมไปด้วยบุตรภรรยามากหลาย
(ดาบสผู้น้องชายคนที่ ๒ เมื่อจะชาระตนให้หมดจด จึงสาบานว่า)
[๗๙] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอผู้นั้นจงทัดทรงระเบียบดอกไม้ นุ่งห่มผ้าแคว้นกาสี ลูบไล้จุรณแก่นจันทน์
และเขาจงมีบุตรมากๆ อนึ่ง จงทาความเยื่อใยอย่างแรงกล้าในกามทั้งหลาย
(ดาบสน้องชายที่เหลือต่างกล่าวสาบานว่า)
[๘๐] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ผู้นั้นเป็ นกสิกร
จงมีข้าวเปลือกมากมาย เป็นคฤหัสถ์ จงมียศ มีบุตรมากหลาย มีทรัพย์
มีวัตถุที่น่าใคร่ทั้งปวง อย่าได้เห็นความเสื่อม อยู่ครองเรือนเถิด
[๘๑] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอผู้นั้นจงปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ เป็นพระราชายิ่งใหญ่กว่าพระราชาทั้งหลาย
ทรงมีพลัง ประกอบด้วยพระอิสริยยศ ทรงครอบครองแผ่นดินมีมหาสมุทรทั้ง ๔
เป็นขอบเขตเถิด
[๘๒] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ผู้นั้นเป็ นพราหมณ์
จงอย่าได้คลายความยินดี(ในตาแหน่ง)
เชี่ยวชาญในคลองแห่งฤกษ์ยามและนักษัตร เจ้าผู้ครองแคว้นผู้ทรงยศ
จงบูชาเขาเถิด
[๘๓] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอชาวโลกทั้งปวงจงสาคัญผู้นั้นว่า เป็ นครูสอนเวทมนต์ทุกชนิด มีตบะ
ขอชาวชนบทจงมุ่งไปบูชาเขาพร้อมๆ กัน
[๘๔] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอผู้นั้นจงเก็บกินบ้านส่วยที่มั่งคั่งสมบูรณ์ด้วยเหตุ ๔ ประการ (สมบูรณ์ด้วยเหตุ
๔ ประการ คือ (๑) ด้วยผู้คน เพราะมีผู้คนคับคั่ง (๒) ด้วยข้าวเปลือก
เพราะมีข้าวเปลือกมากมาย (๓) ด้วยฟืนที่หาได้ง่าย (๔) ด้วยน้า
เพราะมีน้าสมบูรณ์) เหมือนท้าววาสวะประทานให้
จงอย่าได้คลายความกาหนัดจนกระทั่งตาย
2
[๘๕] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอผู้นั้นจงเป็ นผู้ใหญ่บ้าน
บันเทิงใจอยู่ด้วยการฟ้ อนราขับร้องในท่ามกลางหมู่สหาย
จงอย่าได้รับความพินาศอะไรๆ จากพระราชาเลย
[๘๖] ท่านพราหมณ์ หญิงใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอองค์เอกอัครราชาทรงปราบปรามศัตรูทั่วพื้นปฐพี
จงสถาปนาหญิงนั้นในตาแหน่งที่ยอดกว่าหญิงพันๆ คน
และประเสริฐกว่าหญิงภายในขอบขัณฑสีมา
[๘๗] ท่านพราหมณ์ หญิงใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอหญิงนั้นอย่าได้หวาดหวั่นท่ามกลางนางทาสีทั้งหลาย ที่มาประชุมพร้อมกัน
พึงบริโภคของอร่อย จงประพฤติโอ้อวดเพราะลาภอยู่เถิด
[๘๘] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอผู้นั้นจงเป็ นผู้ปฏิบัติที่อยู่ในมหาวิหาร จงเป็นนักก่อสร้างในกชังคลนคร
จงกระทาหน้าต่างตลอดวัน (คาว่า ทาตลอดวัน
ในที่นี้หมายถึงทาให้เสร็จภายในวันเดียวเท่านั้น)
[๘๙] ท่านพราหมณ์ ช้างเชือกใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอช้างเชือกนั้นจงถูกคล้องด้วยบ่วงบาศตั้งร้อยที่อวัยวะ ๖ แห่ง (อวัยวะ ๖ แห่ง
คือ เท้าทั้ง ๔ คอ และสะเอว) จงถูกนาออกจากป่าอันน่ารื่นรมย์ไปยังราชธานี
จงถูกขอสับ ถูกปฏักแทง
[๙๐] ท่านพราหมณ์ ลิงตัวใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอลิงตัวนั้นจงสวมใส่พวงดอกรักขาว ถูกเจาะหู ห้อยดีบุก ถูกเฆี่ยนด้วยเรียวไม้
เข้าไปใกล้ปากงู จงถูกล่ามโซ่ตระเวนเที่ยวไปตามตรอกเถิด
(พระโพธิสัตว์สาบานว่า)
[๙๑] ผู้ใดแลกล่าวถึงสิ่งที่ไม่หายว่าหาย หรือว่าผู้ใดสงสัยใครๆ ก็ตาม
ขอผู้นั้นจงได้ประสบและซ่องเสพกามทั้งหลาย ท่ามกลางเรือนจนกระทั่งตาย
(ท้าวสักกะถามพระโพธิสัตว์ว่า)
[๙๒] กามเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่ารัก และน่าพอใจ
ของเทวดาและมนุษย์เป็นจานวนมากในชีวโลกนี้
ที่สัตว์ทั้งหลายเที่ยวแสวงหาอยู่ในโลก
ทาไมฤๅษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกามทั้งหลาย
(พระโพธิสัตว์แก้ปัญหาของท้าวสักกะว่า)
[๙๓] เพราะกามทั้งหลายแล สัตว์ทั้งหลายย่อมฆ่ากัน และย่อมจองจากัน
เพราะกามทั้งหลายจึงเกิดทุกข์ เกิดภัย ท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพ
เพราะกามทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายจึงประมาท ทากรรมชั่วเพราะโมหะ
3
[๙๔] สัตว์เหล่านั้นผู้มีธรรมชั่วก็ประสบสิ่งที่ชั่ว เมื่อตายไปก็ตกนรก
เพราะฉะนั้น ฤๅษีทั้งหลายเห็นโทษในกามคุณทั้งหลาย
จึงไม่สรรเสริญกามทั้งหลาย
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๙๕] โยมเมื่อจะทดลองฤๅษีทั้งหลาย
จึงหยิบเอาเหง้าบัวซึ่งวางไว้ที่ริมฝั่งแล้วไปฝังไว้บนบก
พระคุณเจ้าผู้ประพฤติพรหมจรรย์ทั้งหลาย ฤๅษีทั้งหลายอยู่อย่างบริสุทธิ์
ไม่มีผู้ชั่วช้า นี้เหง้าบัวของท่าน
(พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาว่า)
[๙๖] ฤๅษีทั้งหลายไม่ใช่นักฟ้ อนสาหรับพระองค์
และไม่ใช่บุคคลที่จะพึงล้อเล่น ไม่ใช่ญาติ และไม่ใช่สหายของพระองค์
ขอถวายพระพร ท้าวสหัสสนัยน์เทวราช อาศัยเหตุอะไร
พระองค์จึงได้ล้อเล่นกับฤๅษีทั้งหลาย
(ท้าวสักกะขอขมาพระโพธิสัตว์ว่า)
[๙๗] ท่านพราหมณ์ ขอพระคุณเจ้าจงเป็ นทั้งอาจารย์ และบิดาของโยม
ข้อนี้ขอจงเป็ นที่พึ่งแก่โยมผู้พลั้งพลาดไปแล้ว ท่านผู้มีปัญญาเพียงดังแผ่นดิน
ขอท่านจงงดโทษสักครั้งหนึ่งเถิด บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ถือโกรธ
(พระโพธิสัตว์งดโทษต่อท้าวสักกะแล้วให้หมู่ฤๅษียกโทษให้ว่า)
[๙๘] คืนเดียวที่พวกฤๅษีอยู่ในป่าก็นับว่าอยู่ดีแล้ว
เพราะพวกเราได้เห็นท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพ ขอพระคุณเจ้าทั้งปวงจงพอใจ
เพราะพราหมณ์ได้เหง้าบัวคืนมา
(พระศาสดาได้ตรัสคาถาประมวลชาดกว่า)
[๙๙] ในกาลนั้น ตถาคต สารีบุตร โมคคัลลานะ กัสสปะ อนุรุทธะ
ปุณณะ และอานนท์ ทั้ง ๗ เป็ นพี่น้องกัน
[๑๐๐] ในกาลนั้น อุบลวรรณาเป็นน้องสาว ขุชชุตตราเป็นทาสี
จิตตคหบดีเป็นทาส สาตาคิระเป็นยักษ์
[๑๐๑] ในกาลนั้น ปาลิเลยยะได้เป็นช้าง
วานรที่ถวายน้าผึ้งได้เป็ นวานรตัวประเสริฐ กาฬุทายีได้เป็นท้าวสักกะ
พวกเธอจงทรงจาชาดกไว้อย่างนี้
ภิสชาดกที่ ๕ จบ
----------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ภิสชาดก
ว่าด้วย ผู้ลักเอาเหง้ามัน
4
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงพระปรารภภิกษุผู้กระสัน ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ก็เรื่องปัจจุบันจักแจ่มแจ้งใน กุสชาดก
แต่ว่า ในกาลครั้งนั้น พระศาสดาตรัสถามพระภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ
ได้ยินว่า เธอเป็นผู้กระสันจริงหรือ ครั้นภิกษุนั้นรับว่าจริงพระเจ้าข้า.
ตรัสถามต่อไปว่าอาศัยอะไร เมื่อทูลว่ากิเลสพระเจ้าข้า.
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
เธอบวชในศาสนาอันมีธรรมเป็นเครื่องนาออกจากทุกข์ได้เห็นปานนี้
เหตุไรยังจะอาศัยกิเลสกระสันอยู่เล่า บัณฑิตในครั้งก่อน
เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่อุบัติบวชในลัทธิเป็ นพาเหียร
ยังพากันปรารภถึงวัตถุกามและกิเลสกาม กระทาได้เป็ นคาสบถอยู่ได้เลย
ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ผู้มหาศาลมีสมบัติ ๘๐ โกฏิ.
พวกญาติพากันขนานนามว่า มหากาญจนกุมาร.
ครั้นเมื่อท่านเดินได้ ก็เกิดบุตรคนอื่นอีกคนหนึ่ง
พวกญาติขนานนามว่า อุปกาญจนกุมาร โดยลาดับอย่างนี้ ได้มีบุตรถึง ๗ คน.
แต่คนสุดท้องเป็ นธิดาคนหนึ่ง พวกญาติขนานนามว่า กาญจนเทวี.
มหากาญจนกุมารโตแล้ว เรียนศิลปะทั้งปวงมาจากเมืองตักกสิลา.
ครั้งนั้นมารดาบิดาปรารถนาจะผูกพันท่านไว้ด้วยฆราวาส พูดกันว่า
เราพึงสู่ขอทาริกาจากสกุลที่มีกาเนิดเสมอกับตนให้เจ้า เจ้าจงดารงฆราวาสเถิด.
ท่านบอกว่า คุณพ่อคุณแม่ครับ ข้าพเจ้าไม่ต้องการครองเรือนเลย
เพราะภพทั้ง ๓ ปรากฏแก่ข้าพเจ้าว่า มีภัยน่าสะพรึงกลัวเหมือนไฟติดอยู่ทั่วๆ ไป
เป็นเครื่องจองจาเหมือนเรือนจา เป็นของพึงเกลียดชังอย่างยิ่ง
เหมือนกับแผ่นดินอันเป็นที่เทโสโครก
ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นเมถุนธรรมแม้แต่ความฝัน บุตรคนอื่นๆ ของท่านมีอยู่
โปรดบอกให้เขาครองเรือนต่อไปเถิด. แม้จะถูกอ้อนวอนบ่อยๆ
แม้จะถูกท่านบิดามารดาส่งพวกสหายไปอ้อนวอนก็คงไม่ปรารถนาเลย.
ครั้งนั้นพวกสหายพากันถามท่านว่า เพื่อนเอ๋ย
ก็แกปรารถนาอะไรเล่าจึงไม่อยากจะบริโภคกามคุณเลย.
ท่านบอกอัธยาศัยในการออกจากกามแก่พวกนั้น
มารดาบิดาฟังเรื่องนั้นแล้วก็ขอร้องบุตรที่เหลือ.
แม้บุตรเหล่านั้นต่างก็ไม่ต้องการ. กาญจนเทวีก็ไม่ต้องการเหมือนกัน.
อยู่มาไม่ช้า มารดาบิดาก็พากันถึงแก่กรรม มหากาญจนบัณฑิต
ครั้นกระทากิจที่ต้องทาให้แก่มารดาบิดาแล้ว
5
ก็ให้มหาทานแก่คนกาพร้าและคนขัดสนด้วยทรัพย์ ๘๐ โกฎิ แล้วชวนน้องชาย ๖
คนและน้องสาว ทาสชายคนหนึ่ง ทาสหญิงคนหนึ่ง และสหายคนหนึ่ง
ออกมหาภิเนษกรมณ์เข้าสู่ป่าหิมพานต์.
ท่านเหล่านั้นอาศัยสระปทุมในป่าหิมพานต์นั้นสร้างอาศรม ณ
ภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ แล้วพากันบวชเลี้ยงชีพด้วยมูลผลาหารในป่า.
ท่านเหล่านั้นไปป่าก็ไปร่วมกัน ผู้หนึ่งพบต้นไม้หรือใบไม้ ณ ที่ใด
ก็เรียกคนอื่นๆ ไป ณ ที่นั้น ต่างพูดกันถึงเรื่องที่เห็นที่ได้ยินเป็ นต้นไปพลาง
เลือกเก็บผลไม้ใบไม้ไปพลาง เป็นเหมือนที่ทางานของชาวบ้าน.
ดาบสมหากาญจน์ผู้อาจารย์ดาริว่า
อันการเที่ยวแสวงหาผลาผลด้วยอานาจความคะนองเช่นนี้
ดูไม่เหมาะแก่พวกเราผู้ทิ้งทรัพย์ ๘๐ โกฏิมาบวชเสียเลย
ตั้งแต่นี้ไปเราคนเดียวจักหาผลไม้มา.
พอถึงอาศรมแล้ว
ท่านก็เรียกดาบสเหล่านั้นทุกคนมาประชุมกันในเวลาเย็น
แจ้งเรื่องนั้นให้ทราบแล้วกล่าวว่า พวกเธอจงอยู่ทาสมณธรรมกันในที่นี้แหละ
ฉันจักไปหาผลาผลมา. ครั้งนั้นดาบสมีอุปกาญจนะเป็ นต้นพากันกล่าวว่า
ท่านอาจารย์ขอรับ พวกข้าพเจ้าพากันอาศัยท่านบวชแล้ว
ท่านจงกระทาสมณธรรม ณ ที่นี้แหละ
น้องสาวของพวกเราก็ต้องอยู่ที่นี้เหมือนกัน
ทาสีเล่าก็ต้องอยู่ในสานักของน้องสาวนั้น พวกข้าพเจ้า ๘
คนจักผลัดกันไปนาผลาผลมา ท่านทั้งสามคนเป็นผู้พ้นวาระ แล้วรับปฏิญญา.
ตั้งแต่บัดนั้น คนทั้ง ๘ ก็ผลัดกันวาระละหนึ่งคนหาผลาผลมา
ที่เหลือคงอยู่ในศาลาของตนนั้นเอง ไม่จาเป็นก็ไม่ได้รวมกัน.
ผู้ที่ถึงวาระหาผลาผลมาแล้ว ก็แบ่งเป็ น ๑๑ ส่วน เหนือแผ่นหินซึ่งมีอยู่แผ่นหนึ่ง
เสร็จแล้วตีระฆัง ถือเอาส่วนแบ่งของตนเข้าไปที่อยู่.
ดาบสที่เหลือพากันออกมาด้วยเสียงระฆังอันเป็นสัญญา ไม่กระทาเสียงเอะอะ
เดินไปด้วยท่าทางอันแสดงความเคารพ ถือเอาส่วนแบ่งที่จัดไว้เพื่อตน
แล้วไปที่อยู่ฉัน แล้วทาสมณธรรมต่อไป.
กาลต่อมา ดาบสทั้งหลายนาเหง้าบัวมาฉัน พากันมีตบะรุ่งเรือง
มีตบะแก่กล้า ชานะอินทรีย์ได้อย่างยอดเยี่ยม ต่างกระทากสิณกรรมอยู่.
ครั้งนั้น พิภพของท้าวสักกะหวั่นด้วยเดชแห่งศีลของดาบสเหล่านั้น.
ท้าวสักกะเล่าก็ยังทรงระแวงอยู่นั้นเองว่า
ฤาษีเหล่านี้ยังน้อมใจไปในกามอยู่หรือหามิได้หนอ. ท้าวเธอทรงดาริว่า
เราจักคอยจับฤาษีเหล่านี้
แล้วสาแดงอานุภาพซ่อนส่วนแบ่งของพระมหาสัตว์เสียตลอด ๓ วัน.
6
วันแรกพระมหาสัตว์ไม่เห็นส่วนแบ่งก็คิดว่า
คงจักลืมส่วนแบ่งของเราเสียแล้ว
ในวันที่สองคิดว่า เราคงมีโทษ
ชะรอยจะไม่ตั้งส่วนแบ่งไว้เพื่อเราด้วยต้องการจะประณาม
ในวันที่สามคิดว่า เหตุการณ์อะไรเล่านะถึงไม่ตั้งส่วนแบ่งแก่เรา
ถ้าโทษของเราจักมี เราต้องขอให้งดโทษ แล้วก็ตีระฆังเป็ นสัญญาในเวลาเย็น.
ดาบสทั้งหมดประชุมกัน พูดกันว่าใครตีระฆัง. ท่านตอบว่า ฉันเอง.
พ่อคุณทั้งหลายพากันถามว่า เพราะเหตุไรเล่า ขอรับท่านอาจารย์.
ตอบว่า พ่อคุณทั้งหลาย ในวันที่ ๓ ใครหาผลาผลมา.
ดาบสท่านหนึ่งลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้า ขอรับท่านอาจารย์.
ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนที่เหลือ แบ่งส่วนเผื่อฉันหรือไม่เล่า.
ตอบว่า แบ่งครับท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าแบ่งไว้เป็นส่วนที่เจริญขอรับ.
ถามว่า เมื่อวานเล่าเวรใครไปหามา.
ท่านผู้อื่นลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้าขอรับ.
ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนนึกถึงฉันหรือไม่.
ตอบว่า ข้าพเจ้าตั้งส่วนอันเจริญไว้เผื่อท่านครับ.
ถามว่า วันนี้เล่าใครหามา.
อีกท่านหนึ่งลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้า.
ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนได้นึกถึงฉันหรือไม่.
ตอบว่า ข้าพเจ้าตั้งส่วนที่เจริญไว้เพื่อท่านแล้วครับ.
ท่านกล่าวว่า พ่อคุณทั้งหลาย ฉันไม่ได้รับส่วนแบ่งสามวันทั้งวันนี้
ในวันแรกฉันไม่เห็นส่วนแบ่งคิดว่า ผู้แบ่งส่วนคงจักลืมฉันเสีย ในวันที่สองคิดว่า
ฉันคงมีโทษอะไรๆ ส่วนวันนี้คิดว่า ถ้าโทษของฉันมี ฉันจักขอขมา
จึงเรียกเธอทั้งหลายมาประชุมด้วยตีระฆังเป็นสัญญา เธอทั้งหลายต่างบอกว่า
พวกเราพากันแบ่งส่วนเหง้าบัวเหล่านี้ แล้วฉันไม่ได้
ควรจะรู้ตัวผู้ขโมยกินเหง้าบัวเหล่านั้น
ขึ้นชื่อว่าการขโมยเพียงเหง้าบัวก็ไม่เหมาะแก่ผู้ที่ละกามแล้วบวช.
ดาบสเหล่านั้นฟังคาของท่านแล้ว ต่างก็มีจิตเสียวสยองกันทั่วทีเดียวว่า
โอ กรรมหนักจริง.
เทวดาผู้สิงอยู่ที่ต้นไม้อันใหญ่ในป่า ณ อาศรมบทนั้น
ลงมาจากคาคบนั่งอยู่ในสานักของดาบสเหล่านั้นเหมือนกัน.
ช้างเชือกหนึ่งถูกจาปลอก ไม่สามารถทนทุกข์ได้ ทาลายปลอกหนีเข้าป่าไป
ได้เคยมาไหว้คณะฤาษีตามกาลสมควร แม้ช้างนั้นก็มายืน ณ ส่วนข้างหนึ่ง.
ยังมีลิงตัวหนึ่งเคยถูกให้เล่นกับงู รอดมาได้จากมือหมองู
เข้าป่าอาศัยอยู่ใกล้อาศรมนั้นเอง วันนั้นลิงแม้นั้นก็นั่งไหว้คณะฤาษีอยู่ ณ
7
ส่วนข้างหนึ่ง.
ท้าวสักกะดาริว่า
จักคอยจับคณะฤาษีก็ไม่ได้สาแดงกายให้ปรากฏยืนอยู่ในสานักของดาบสเหล่านั้
น.
ขณะนั้น อุปกาญจนดาบสน้องชายของพระโพธิสัตว์
ลุกจากอาสนะไหว้พระโพธิสัตว์แล้ว แสดงความนอบน้อมแก่ดาบสที่เหลือถามว่า
ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าไม่ได้ปรารถนาสิ่งอื่นเลย จะได้เพื่อจะชาระตนเองหรือไม่.
ท่านตอบว่า ได้จ๊ะ.
อุปกาญจนดาบสนั้นยืนในท่ามกลางคณะฤาษี เมื่อจะกระทาสบถว่า
ถ้าข้าพเจ้าฉันเหง้าบัวของท่านแล้ว ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด.
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงได้
ม้า วัว เงิน ทอง และภรรยาที่น่าชอบใจ
จงพร้อมพรั่งด้วยบุตรและภรรยามากมายเถิด.
คณะฤาษีได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวว่า ท่านผู้นิรทุกข์ ท่านผู้นิรทุกข์
คาสบถของท่านหนักยิ่งปานไร พากันปิดหู. ส่วนพระโพธิสัตว์กล่าวว่า พ่อคุณเอ๋ย
คาสบถของเธอหนักยิ่งนัก เธอไม่ได้ฉันจงนั่ง ณ อาสนะสาหรับเธอเถิด.
เมื่ออุปกาญจนดาบสทาสบถนั่งลงแล้ว น้องคนที่ ๒
ลุกขึ้นไหว้พระมหาสัตว์
เมื่อจะชาระตนด้วยคาสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงทัดทรงระเบียบ ดอกไม้ เครื่องลูบไล้กระแจะจันทน์แคว้นกาสี
จงเป็ นผู้มากไปด้วยบุตร จงกระทาความเพ่งเล็งอย่างแรงกล้าในกามทั้งหลายเถิด.
เมื่อน้องชายที่ ๒ นั่งแล้ว ดาบสที่เหลือต่างก็ได้กล่าวคาถาคนละคาถา
ตามควรแก่อัธยาศัยของตนว่า
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นคฤหัสถ์มีธัญชาติมากมาย สมบูรณ์ด้วยกสิกรรม มียศ
จงได้บุตรทั้งหลาย จงมีทรัพย์ ได้กามคุณทุกอย่าง
จงอยู่ครองเรือนอย่างไม่เห็นความเสื่อมเลย.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงปราบดาภิเษกเป็ นกษัตริย์บรมราชาธิราช มีกาลัง มียศศักดิ์
จงครอบครองแผ่นดินมีมหาสมุทรทั้ง ๔ เป็นขอบเขตเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นพราหมณ์ มัวประกอบในทางทานายฤกษ์ยาม
อย่าได้คลายความยินดีในตาแหน่ง ท่านผู้เป็นเจ้าแคว้นผู้มียศ จงบูชาผู้นั้นเถิด.
8
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอชาวโลกทั้งมวลจงสาคัญผู้นั้นว่า เป็ นผู้เชี่ยวชาญเวทมนต์ทั้งปวงผู้เรืองตบะ
ชาวชนบททั้งหลายทราบดีแล้วจงบูชาผู้นั้นเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงครอบครองบ้านส่วยอันพระราชาทรงพระราชทานให้
เป็นบ้านที่มั่งคั่ง สมบูรณ์ด้วยเหตุ ๔ ประการ ดุจท้าววาสวะพระราชทานให้
อย่าได้คลายความยินดีจนกระทั่งถึงความตายเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นนายบ้าน บันเทิงอยู่ด้วยความฟ้ อนราขับร้องในท่ามกลางสหาย
อย่าได้รับความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่งจากพระราชาเลย.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ หญิงใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นเอกราช ทรงปราบปรามศัตรูได้ทั่วพื้นปฐพี
ทรงสถาปนาให้หญิงนั้นเป็ นยอดสตรีจานวนพัน
ขอหญิงนั้นจงเป็นมเหสีผู้ประเสริฐกว่านางสนมทั้งหลายเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ หญิงใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้หญิงนั้นจงเป็นทาสี ไม่สะดุ้งสะเทือน กินของดีๆ
ในท่ามกลางคนทั้งปวงที่มาประชุมกันอยู่ จงเที่ยวโอ้อวดลาภอยู่เถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ผู้นั้นเป็ นเจ้าอาวาสในวัดใหญ่ๆ จงเป็นผู้ประกอบนวกรรมในเมืองกชังคละ
จงกระทาหน้าต่างตลอดวันเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ช้างเชือกใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ช้างเชือกนั้นจงถูกคล้องด้วยบ่วงบาศตั้งร้อย จงถูกนาออกจากป่า
อันน่ารื่นรมย์มายังราชธานี จงถูกทิ่มแทงด้วยปฏักและสับด้วยขอเถิด.
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ลิงตัวใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป
ขอให้ลิงตัวนั้นมีดอกไม้สวมคอ ถูกเจาะหูด้วยดีบุก ถูกเฆี่ยนด้วยไม้เรียว
เมื่อฝึกหัดให้เล่นงู เข้าไปใกล้ปากงู ถูกมัดตระเวนเที่ยวไปตามตรอกเถิด.
ก็เมื่อชนทั้ง ๑๓ สบถกันอย่างนี้แล้ว พระมหาสัตว์ดาริว่า
บางทีพวกเหล่านี้พึงกินแหนงในเราว่าผู้นี้กล่าวถึงสิ่งที่ไม่หายไปเลยว่าหายไป
ดังนี้ เราต้องสบถบ้าง.
เมื่อทาสบถ จึงกล่าวคาถานี้ว่า
ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้ใดแลแกล้งกล่าวถึงของที่ไม่หายว่าหายก็ดี
หรือผู้สงสัยคนใดคนหนึ่งก็ดี ขอให้ผู้นั้นจงได้บริโภคกามทั้งหลาย
จงเข้าถึงความตายอยู่ในท่ามกลางเรือน.
ก็แลเมื่อฤาษีทั้งหลายพากันสบถแล้ว ท้าวสักกะทรงกลัวคิดว่า
เราหมายจะทดลองพวกนี้ดู จึงทาให้เหง้าบัวหายไป
9
พวกเหล่านี้พากันติเตียนกามทั้งหลาย ประหนึ่งก้อนน้าลายที่ถ่มทิ้ง ทาสบถกัน
เราต้องถามพวกเหล่านั้น ถึงเหตุที่ติเตียนกามคุณดู แล้วทรงสาแดงกายให้ปรากฏ
ทรงไหว้พระโพธิสัตว์
เมื่อตรัสถาม ตรัสคาถาสืบไปว่า
สัตว์ทั้งหลายในโลก ย่อมพากันเที่ยวแสวงหากามใด
เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่ารัก น่าฟูใจของสัตว์เป็ นอันมากในชีวโลกนี้
เพราะเหตุใด ฤาษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกามนั้นเลย.
ครั้งนั้น เมื่อพระมหาสัตว์จะแก้ปัญหาของท้าวเธอ ได้กล่าวคาถา ๒
คาถาว่า
ดูก่อนท่านผู้เป็นจอมภูต เพราะกามนั่นแล สัตว์ทั้งหลายจึงถูกประหาร
ถูกจองจา เพราะกามทั้งหลาย ทุกข์และภัยจึงเกิด เพราะกามทั้งหลาย
สัตว์ทั้งหลายจึงประมาทลุ่มหลง กระทากรรมอันเป็ นบาป
สัตว์เหล่านั้นมีบาป จึงประสบบาปกรรม เมื่อตายแล้วย่อมไปสู่นรก
เพราะเห็นโทษในกามคุณดังนี้ ฤาษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกาม.
ท้าวสักกะทรงสดับถ้อยคาของพระมหาสัตว์มีพระมนัสสลด
ตรัสคาถาต่อไปว่า
ข้าแต่ท่านผู้ประพฤติพรหมจรรย์
ข้าพเจ้าจะทดลองดูว่าฤาษีเหล่านี้ยังน้อมไปในกามหรือไม่
จึงถือเอาเหง้าบัวที่ฝั่งน้าไปฝังไว้บนบก ฤาษีทั้งหลายเป็ นผู้บริสุทธิ์ ไม่มีบาป
นี้เหง้าบัวของท่าน.
พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้น แล้วกล่าวว่า
ดูก่อนท้าวสหัสนัยน์เทวราช ฤาษีเหล่านี้มิใช่นักฟ้ อนของท่าน
และมิใช่ผู้ที่ท่านจะพึงล้อเล่น ไม่ใช่พวกพ้องและสหายของท่าน เพราะเหตุไร
ท่านจึงมาดูหมิ่น ล้อเล่นกับฤาษีทั้งหลาย.
ครั้งนั้นท้าวสักกะ เมื่อจะขอขมาท่าน จึงกล่าวคาถาที่ ๒๐ ว่า
ข้าแต่ท่านผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน
ท่านเป็นอาจารย์และเป็นบิดาของข้าพเจ้า
ขอเงาเท้าของท่านจงเป็ นที่พึ่งของข้าพเจ้าผู้พลั้งพลาด
ขอได้โปรดอดโทษสักครั้งหนึ่งเถิด
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่มีความโกรธเป็นกาลัง.
พระมหาสัตว์อดโทษแก่ท้าวสักกเทวราชแล้ว
เมื่อจะให้คณะฤาษีอดโทษด้วยตนเอง จึงกล่าวคาถาต่อไปว่า
การที่พวกเราได้เห็นท้าววาสวะผู้เป็นจอมภูต
นับเป็ นราตรีเอกของพวกเราเหล่าฤาษีซึ่งอยู่กันด้วยดี
ท่านผู้เจริญทุกคนจงพากันดีใจเถิด เพราะท่านพราหมณ์ได้เหง้าบัวคืนแล้ว.
10
ท้าวสักกเทวราชบังคมคณะฤาษีแล้วเสด็จไปสู่เทวโลก.
ฝ่ายคณะฤาษีพากันยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ต่างได้เข้าถึงพรหมโลก.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
โปราณกบัณฑิตพากันทาสบถละกิเลสอย่างนี้ แล้วทรงประกาศสัจจะ เวลาจบสัจจะ
ภิกษุผู้กระสันดารงในพระโสดาปัตติผล.
เมื่อพระศาสดาจะทรงประชุมชาดก ได้ตรัสพระคาถาสุดท้ายอีก ๓
คาถาว่า
เราตถาคต สารีบุตร โมคคัลลานะ กัสสปะ อนุรุทธะ ปุณณะ
และอานนท์เป็น ๗ พี่น้อง ในครั้งนั้น
อุบลวรรณาเป็ นน้องสาว
ขุชชุตตราเป็นทาสี
จิตตคฤหบดีเป็นทาส
สาตาคีระเป็นเทวดา
ปาลิเลยยกะเป็นช้าง
มธุระผู้ประเสริฐ เป็ นวานร
กาฬุทายีเป็นท้าวสักกะ
ท่านทั้งหลายจงทรงจาชาดกไว้ ด้วยประการฉะนี้แล.
จบอรรถกถาภิสกชาดกที่ ๕
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
maruay songtanin
 
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 

Similar to 488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
 
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๖๔. มหารถวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
501 โรหณมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๙. มัญชิฏฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
434 จักกวากชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๕. ภิสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๘๘) ว่าด้วยท้าวสักกะลักเหง้าบัวเพื่อลองใจฤๅษี (อุปกัญจนดาบสสาบานว่า) [๗๘] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงได้ม้า โค เงิน ทอง และภรรยาที่น่าพอใจในโลกนี้ และจงเป็นผู้พรั่งพร้อมไปด้วยบุตรภรรยามากหลาย (ดาบสผู้น้องชายคนที่ ๒ เมื่อจะชาระตนให้หมดจด จึงสาบานว่า) [๗๙] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงทัดทรงระเบียบดอกไม้ นุ่งห่มผ้าแคว้นกาสี ลูบไล้จุรณแก่นจันทน์ และเขาจงมีบุตรมากๆ อนึ่ง จงทาความเยื่อใยอย่างแรงกล้าในกามทั้งหลาย (ดาบสน้องชายที่เหลือต่างกล่าวสาบานว่า) [๘๐] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ผู้นั้นเป็ นกสิกร จงมีข้าวเปลือกมากมาย เป็นคฤหัสถ์ จงมียศ มีบุตรมากหลาย มีทรัพย์ มีวัตถุที่น่าใคร่ทั้งปวง อย่าได้เห็นความเสื่อม อยู่ครองเรือนเถิด [๘๑] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ เป็นพระราชายิ่งใหญ่กว่าพระราชาทั้งหลาย ทรงมีพลัง ประกอบด้วยพระอิสริยยศ ทรงครอบครองแผ่นดินมีมหาสมุทรทั้ง ๔ เป็นขอบเขตเถิด [๘๒] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ผู้นั้นเป็ นพราหมณ์ จงอย่าได้คลายความยินดี(ในตาแหน่ง) เชี่ยวชาญในคลองแห่งฤกษ์ยามและนักษัตร เจ้าผู้ครองแคว้นผู้ทรงยศ จงบูชาเขาเถิด [๘๓] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอชาวโลกทั้งปวงจงสาคัญผู้นั้นว่า เป็ นครูสอนเวทมนต์ทุกชนิด มีตบะ ขอชาวชนบทจงมุ่งไปบูชาเขาพร้อมๆ กัน [๘๔] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงเก็บกินบ้านส่วยที่มั่งคั่งสมบูรณ์ด้วยเหตุ ๔ ประการ (สมบูรณ์ด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ (๑) ด้วยผู้คน เพราะมีผู้คนคับคั่ง (๒) ด้วยข้าวเปลือก เพราะมีข้าวเปลือกมากมาย (๓) ด้วยฟืนที่หาได้ง่าย (๔) ด้วยน้า เพราะมีน้าสมบูรณ์) เหมือนท้าววาสวะประทานให้ จงอย่าได้คลายความกาหนัดจนกระทั่งตาย
  • 2. 2 [๘๕] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงเป็ นผู้ใหญ่บ้าน บันเทิงใจอยู่ด้วยการฟ้ อนราขับร้องในท่ามกลางหมู่สหาย จงอย่าได้รับความพินาศอะไรๆ จากพระราชาเลย [๘๖] ท่านพราหมณ์ หญิงใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอองค์เอกอัครราชาทรงปราบปรามศัตรูทั่วพื้นปฐพี จงสถาปนาหญิงนั้นในตาแหน่งที่ยอดกว่าหญิงพันๆ คน และประเสริฐกว่าหญิงภายในขอบขัณฑสีมา [๘๗] ท่านพราหมณ์ หญิงใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอหญิงนั้นอย่าได้หวาดหวั่นท่ามกลางนางทาสีทั้งหลาย ที่มาประชุมพร้อมกัน พึงบริโภคของอร่อย จงประพฤติโอ้อวดเพราะลาภอยู่เถิด [๘๘] ท่านพราหมณ์ ผู้ใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอผู้นั้นจงเป็ นผู้ปฏิบัติที่อยู่ในมหาวิหาร จงเป็นนักก่อสร้างในกชังคลนคร จงกระทาหน้าต่างตลอดวัน (คาว่า ทาตลอดวัน ในที่นี้หมายถึงทาให้เสร็จภายในวันเดียวเท่านั้น) [๘๙] ท่านพราหมณ์ ช้างเชือกใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอช้างเชือกนั้นจงถูกคล้องด้วยบ่วงบาศตั้งร้อยที่อวัยวะ ๖ แห่ง (อวัยวะ ๖ แห่ง คือ เท้าทั้ง ๔ คอ และสะเอว) จงถูกนาออกจากป่าอันน่ารื่นรมย์ไปยังราชธานี จงถูกขอสับ ถูกปฏักแทง [๙๐] ท่านพราหมณ์ ลิงตัวใดได้ลักเหง้าบัวของท่านไป ขอลิงตัวนั้นจงสวมใส่พวงดอกรักขาว ถูกเจาะหู ห้อยดีบุก ถูกเฆี่ยนด้วยเรียวไม้ เข้าไปใกล้ปากงู จงถูกล่ามโซ่ตระเวนเที่ยวไปตามตรอกเถิด (พระโพธิสัตว์สาบานว่า) [๙๑] ผู้ใดแลกล่าวถึงสิ่งที่ไม่หายว่าหาย หรือว่าผู้ใดสงสัยใครๆ ก็ตาม ขอผู้นั้นจงได้ประสบและซ่องเสพกามทั้งหลาย ท่ามกลางเรือนจนกระทั่งตาย (ท้าวสักกะถามพระโพธิสัตว์ว่า) [๙๒] กามเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่ารัก และน่าพอใจ ของเทวดาและมนุษย์เป็นจานวนมากในชีวโลกนี้ ที่สัตว์ทั้งหลายเที่ยวแสวงหาอยู่ในโลก ทาไมฤๅษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกามทั้งหลาย (พระโพธิสัตว์แก้ปัญหาของท้าวสักกะว่า) [๙๓] เพราะกามทั้งหลายแล สัตว์ทั้งหลายย่อมฆ่ากัน และย่อมจองจากัน เพราะกามทั้งหลายจึงเกิดทุกข์ เกิดภัย ท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพ เพราะกามทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายจึงประมาท ทากรรมชั่วเพราะโมหะ
  • 3. 3 [๙๔] สัตว์เหล่านั้นผู้มีธรรมชั่วก็ประสบสิ่งที่ชั่ว เมื่อตายไปก็ตกนรก เพราะฉะนั้น ฤๅษีทั้งหลายเห็นโทษในกามคุณทั้งหลาย จึงไม่สรรเสริญกามทั้งหลาย (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๙๕] โยมเมื่อจะทดลองฤๅษีทั้งหลาย จึงหยิบเอาเหง้าบัวซึ่งวางไว้ที่ริมฝั่งแล้วไปฝังไว้บนบก พระคุณเจ้าผู้ประพฤติพรหมจรรย์ทั้งหลาย ฤๅษีทั้งหลายอยู่อย่างบริสุทธิ์ ไม่มีผู้ชั่วช้า นี้เหง้าบัวของท่าน (พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาว่า) [๙๖] ฤๅษีทั้งหลายไม่ใช่นักฟ้ อนสาหรับพระองค์ และไม่ใช่บุคคลที่จะพึงล้อเล่น ไม่ใช่ญาติ และไม่ใช่สหายของพระองค์ ขอถวายพระพร ท้าวสหัสสนัยน์เทวราช อาศัยเหตุอะไร พระองค์จึงได้ล้อเล่นกับฤๅษีทั้งหลาย (ท้าวสักกะขอขมาพระโพธิสัตว์ว่า) [๙๗] ท่านพราหมณ์ ขอพระคุณเจ้าจงเป็ นทั้งอาจารย์ และบิดาของโยม ข้อนี้ขอจงเป็ นที่พึ่งแก่โยมผู้พลั้งพลาดไปแล้ว ท่านผู้มีปัญญาเพียงดังแผ่นดิน ขอท่านจงงดโทษสักครั้งหนึ่งเถิด บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ถือโกรธ (พระโพธิสัตว์งดโทษต่อท้าวสักกะแล้วให้หมู่ฤๅษียกโทษให้ว่า) [๙๘] คืนเดียวที่พวกฤๅษีอยู่ในป่าก็นับว่าอยู่ดีแล้ว เพราะพวกเราได้เห็นท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพ ขอพระคุณเจ้าทั้งปวงจงพอใจ เพราะพราหมณ์ได้เหง้าบัวคืนมา (พระศาสดาได้ตรัสคาถาประมวลชาดกว่า) [๙๙] ในกาลนั้น ตถาคต สารีบุตร โมคคัลลานะ กัสสปะ อนุรุทธะ ปุณณะ และอานนท์ ทั้ง ๗ เป็ นพี่น้องกัน [๑๐๐] ในกาลนั้น อุบลวรรณาเป็นน้องสาว ขุชชุตตราเป็นทาสี จิตตคหบดีเป็นทาส สาตาคิระเป็นยักษ์ [๑๐๑] ในกาลนั้น ปาลิเลยยะได้เป็นช้าง วานรที่ถวายน้าผึ้งได้เป็ นวานรตัวประเสริฐ กาฬุทายีได้เป็นท้าวสักกะ พวกเธอจงทรงจาชาดกไว้อย่างนี้ ภิสชาดกที่ ๕ จบ ---------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ภิสชาดก ว่าด้วย ผู้ลักเอาเหง้ามัน
  • 4. 4 พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงพระปรารภภิกษุผู้กระสัน ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ก็เรื่องปัจจุบันจักแจ่มแจ้งใน กุสชาดก แต่ว่า ในกาลครั้งนั้น พระศาสดาตรัสถามพระภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า เธอเป็นผู้กระสันจริงหรือ ครั้นภิกษุนั้นรับว่าจริงพระเจ้าข้า. ตรัสถามต่อไปว่าอาศัยอะไร เมื่อทูลว่ากิเลสพระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอบวชในศาสนาอันมีธรรมเป็นเครื่องนาออกจากทุกข์ได้เห็นปานนี้ เหตุไรยังจะอาศัยกิเลสกระสันอยู่เล่า บัณฑิตในครั้งก่อน เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่อุบัติบวชในลัทธิเป็ นพาเหียร ยังพากันปรารภถึงวัตถุกามและกิเลสกาม กระทาได้เป็ นคาสบถอยู่ได้เลย ทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ผู้มหาศาลมีสมบัติ ๘๐ โกฏิ. พวกญาติพากันขนานนามว่า มหากาญจนกุมาร. ครั้นเมื่อท่านเดินได้ ก็เกิดบุตรคนอื่นอีกคนหนึ่ง พวกญาติขนานนามว่า อุปกาญจนกุมาร โดยลาดับอย่างนี้ ได้มีบุตรถึง ๗ คน. แต่คนสุดท้องเป็ นธิดาคนหนึ่ง พวกญาติขนานนามว่า กาญจนเทวี. มหากาญจนกุมารโตแล้ว เรียนศิลปะทั้งปวงมาจากเมืองตักกสิลา. ครั้งนั้นมารดาบิดาปรารถนาจะผูกพันท่านไว้ด้วยฆราวาส พูดกันว่า เราพึงสู่ขอทาริกาจากสกุลที่มีกาเนิดเสมอกับตนให้เจ้า เจ้าจงดารงฆราวาสเถิด. ท่านบอกว่า คุณพ่อคุณแม่ครับ ข้าพเจ้าไม่ต้องการครองเรือนเลย เพราะภพทั้ง ๓ ปรากฏแก่ข้าพเจ้าว่า มีภัยน่าสะพรึงกลัวเหมือนไฟติดอยู่ทั่วๆ ไป เป็นเครื่องจองจาเหมือนเรือนจา เป็นของพึงเกลียดชังอย่างยิ่ง เหมือนกับแผ่นดินอันเป็นที่เทโสโครก ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นเมถุนธรรมแม้แต่ความฝัน บุตรคนอื่นๆ ของท่านมีอยู่ โปรดบอกให้เขาครองเรือนต่อไปเถิด. แม้จะถูกอ้อนวอนบ่อยๆ แม้จะถูกท่านบิดามารดาส่งพวกสหายไปอ้อนวอนก็คงไม่ปรารถนาเลย. ครั้งนั้นพวกสหายพากันถามท่านว่า เพื่อนเอ๋ย ก็แกปรารถนาอะไรเล่าจึงไม่อยากจะบริโภคกามคุณเลย. ท่านบอกอัธยาศัยในการออกจากกามแก่พวกนั้น มารดาบิดาฟังเรื่องนั้นแล้วก็ขอร้องบุตรที่เหลือ. แม้บุตรเหล่านั้นต่างก็ไม่ต้องการ. กาญจนเทวีก็ไม่ต้องการเหมือนกัน. อยู่มาไม่ช้า มารดาบิดาก็พากันถึงแก่กรรม มหากาญจนบัณฑิต ครั้นกระทากิจที่ต้องทาให้แก่มารดาบิดาแล้ว
  • 5. 5 ก็ให้มหาทานแก่คนกาพร้าและคนขัดสนด้วยทรัพย์ ๘๐ โกฎิ แล้วชวนน้องชาย ๖ คนและน้องสาว ทาสชายคนหนึ่ง ทาสหญิงคนหนึ่ง และสหายคนหนึ่ง ออกมหาภิเนษกรมณ์เข้าสู่ป่าหิมพานต์. ท่านเหล่านั้นอาศัยสระปทุมในป่าหิมพานต์นั้นสร้างอาศรม ณ ภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ แล้วพากันบวชเลี้ยงชีพด้วยมูลผลาหารในป่า. ท่านเหล่านั้นไปป่าก็ไปร่วมกัน ผู้หนึ่งพบต้นไม้หรือใบไม้ ณ ที่ใด ก็เรียกคนอื่นๆ ไป ณ ที่นั้น ต่างพูดกันถึงเรื่องที่เห็นที่ได้ยินเป็ นต้นไปพลาง เลือกเก็บผลไม้ใบไม้ไปพลาง เป็นเหมือนที่ทางานของชาวบ้าน. ดาบสมหากาญจน์ผู้อาจารย์ดาริว่า อันการเที่ยวแสวงหาผลาผลด้วยอานาจความคะนองเช่นนี้ ดูไม่เหมาะแก่พวกเราผู้ทิ้งทรัพย์ ๘๐ โกฏิมาบวชเสียเลย ตั้งแต่นี้ไปเราคนเดียวจักหาผลไม้มา. พอถึงอาศรมแล้ว ท่านก็เรียกดาบสเหล่านั้นทุกคนมาประชุมกันในเวลาเย็น แจ้งเรื่องนั้นให้ทราบแล้วกล่าวว่า พวกเธอจงอยู่ทาสมณธรรมกันในที่นี้แหละ ฉันจักไปหาผลาผลมา. ครั้งนั้นดาบสมีอุปกาญจนะเป็ นต้นพากันกล่าวว่า ท่านอาจารย์ขอรับ พวกข้าพเจ้าพากันอาศัยท่านบวชแล้ว ท่านจงกระทาสมณธรรม ณ ที่นี้แหละ น้องสาวของพวกเราก็ต้องอยู่ที่นี้เหมือนกัน ทาสีเล่าก็ต้องอยู่ในสานักของน้องสาวนั้น พวกข้าพเจ้า ๘ คนจักผลัดกันไปนาผลาผลมา ท่านทั้งสามคนเป็นผู้พ้นวาระ แล้วรับปฏิญญา. ตั้งแต่บัดนั้น คนทั้ง ๘ ก็ผลัดกันวาระละหนึ่งคนหาผลาผลมา ที่เหลือคงอยู่ในศาลาของตนนั้นเอง ไม่จาเป็นก็ไม่ได้รวมกัน. ผู้ที่ถึงวาระหาผลาผลมาแล้ว ก็แบ่งเป็ น ๑๑ ส่วน เหนือแผ่นหินซึ่งมีอยู่แผ่นหนึ่ง เสร็จแล้วตีระฆัง ถือเอาส่วนแบ่งของตนเข้าไปที่อยู่. ดาบสที่เหลือพากันออกมาด้วยเสียงระฆังอันเป็นสัญญา ไม่กระทาเสียงเอะอะ เดินไปด้วยท่าทางอันแสดงความเคารพ ถือเอาส่วนแบ่งที่จัดไว้เพื่อตน แล้วไปที่อยู่ฉัน แล้วทาสมณธรรมต่อไป. กาลต่อมา ดาบสทั้งหลายนาเหง้าบัวมาฉัน พากันมีตบะรุ่งเรือง มีตบะแก่กล้า ชานะอินทรีย์ได้อย่างยอดเยี่ยม ต่างกระทากสิณกรรมอยู่. ครั้งนั้น พิภพของท้าวสักกะหวั่นด้วยเดชแห่งศีลของดาบสเหล่านั้น. ท้าวสักกะเล่าก็ยังทรงระแวงอยู่นั้นเองว่า ฤาษีเหล่านี้ยังน้อมใจไปในกามอยู่หรือหามิได้หนอ. ท้าวเธอทรงดาริว่า เราจักคอยจับฤาษีเหล่านี้ แล้วสาแดงอานุภาพซ่อนส่วนแบ่งของพระมหาสัตว์เสียตลอด ๓ วัน.
  • 6. 6 วันแรกพระมหาสัตว์ไม่เห็นส่วนแบ่งก็คิดว่า คงจักลืมส่วนแบ่งของเราเสียแล้ว ในวันที่สองคิดว่า เราคงมีโทษ ชะรอยจะไม่ตั้งส่วนแบ่งไว้เพื่อเราด้วยต้องการจะประณาม ในวันที่สามคิดว่า เหตุการณ์อะไรเล่านะถึงไม่ตั้งส่วนแบ่งแก่เรา ถ้าโทษของเราจักมี เราต้องขอให้งดโทษ แล้วก็ตีระฆังเป็ นสัญญาในเวลาเย็น. ดาบสทั้งหมดประชุมกัน พูดกันว่าใครตีระฆัง. ท่านตอบว่า ฉันเอง. พ่อคุณทั้งหลายพากันถามว่า เพราะเหตุไรเล่า ขอรับท่านอาจารย์. ตอบว่า พ่อคุณทั้งหลาย ในวันที่ ๓ ใครหาผลาผลมา. ดาบสท่านหนึ่งลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้า ขอรับท่านอาจารย์. ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนที่เหลือ แบ่งส่วนเผื่อฉันหรือไม่เล่า. ตอบว่า แบ่งครับท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าแบ่งไว้เป็นส่วนที่เจริญขอรับ. ถามว่า เมื่อวานเล่าเวรใครไปหามา. ท่านผู้อื่นลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้าขอรับ. ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนนึกถึงฉันหรือไม่. ตอบว่า ข้าพเจ้าตั้งส่วนอันเจริญไว้เผื่อท่านครับ. ถามว่า วันนี้เล่าใครหามา. อีกท่านหนึ่งลุกขึ้นยืนกราบเรียนว่า ข้าพเจ้า. ถามว่า เมื่อเธอแบ่งส่วนได้นึกถึงฉันหรือไม่. ตอบว่า ข้าพเจ้าตั้งส่วนที่เจริญไว้เพื่อท่านแล้วครับ. ท่านกล่าวว่า พ่อคุณทั้งหลาย ฉันไม่ได้รับส่วนแบ่งสามวันทั้งวันนี้ ในวันแรกฉันไม่เห็นส่วนแบ่งคิดว่า ผู้แบ่งส่วนคงจักลืมฉันเสีย ในวันที่สองคิดว่า ฉันคงมีโทษอะไรๆ ส่วนวันนี้คิดว่า ถ้าโทษของฉันมี ฉันจักขอขมา จึงเรียกเธอทั้งหลายมาประชุมด้วยตีระฆังเป็นสัญญา เธอทั้งหลายต่างบอกว่า พวกเราพากันแบ่งส่วนเหง้าบัวเหล่านี้ แล้วฉันไม่ได้ ควรจะรู้ตัวผู้ขโมยกินเหง้าบัวเหล่านั้น ขึ้นชื่อว่าการขโมยเพียงเหง้าบัวก็ไม่เหมาะแก่ผู้ที่ละกามแล้วบวช. ดาบสเหล่านั้นฟังคาของท่านแล้ว ต่างก็มีจิตเสียวสยองกันทั่วทีเดียวว่า โอ กรรมหนักจริง. เทวดาผู้สิงอยู่ที่ต้นไม้อันใหญ่ในป่า ณ อาศรมบทนั้น ลงมาจากคาคบนั่งอยู่ในสานักของดาบสเหล่านั้นเหมือนกัน. ช้างเชือกหนึ่งถูกจาปลอก ไม่สามารถทนทุกข์ได้ ทาลายปลอกหนีเข้าป่าไป ได้เคยมาไหว้คณะฤาษีตามกาลสมควร แม้ช้างนั้นก็มายืน ณ ส่วนข้างหนึ่ง. ยังมีลิงตัวหนึ่งเคยถูกให้เล่นกับงู รอดมาได้จากมือหมองู เข้าป่าอาศัยอยู่ใกล้อาศรมนั้นเอง วันนั้นลิงแม้นั้นก็นั่งไหว้คณะฤาษีอยู่ ณ
  • 7. 7 ส่วนข้างหนึ่ง. ท้าวสักกะดาริว่า จักคอยจับคณะฤาษีก็ไม่ได้สาแดงกายให้ปรากฏยืนอยู่ในสานักของดาบสเหล่านั้ น. ขณะนั้น อุปกาญจนดาบสน้องชายของพระโพธิสัตว์ ลุกจากอาสนะไหว้พระโพธิสัตว์แล้ว แสดงความนอบน้อมแก่ดาบสที่เหลือถามว่า ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าไม่ได้ปรารถนาสิ่งอื่นเลย จะได้เพื่อจะชาระตนเองหรือไม่. ท่านตอบว่า ได้จ๊ะ. อุปกาญจนดาบสนั้นยืนในท่ามกลางคณะฤาษี เมื่อจะกระทาสบถว่า ถ้าข้าพเจ้าฉันเหง้าบัวของท่านแล้ว ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด. จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงได้ ม้า วัว เงิน ทอง และภรรยาที่น่าชอบใจ จงพร้อมพรั่งด้วยบุตรและภรรยามากมายเถิด. คณะฤาษีได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวว่า ท่านผู้นิรทุกข์ ท่านผู้นิรทุกข์ คาสบถของท่านหนักยิ่งปานไร พากันปิดหู. ส่วนพระโพธิสัตว์กล่าวว่า พ่อคุณเอ๋ย คาสบถของเธอหนักยิ่งนัก เธอไม่ได้ฉันจงนั่ง ณ อาสนะสาหรับเธอเถิด. เมื่ออุปกาญจนดาบสทาสบถนั่งลงแล้ว น้องคนที่ ๒ ลุกขึ้นไหว้พระมหาสัตว์ เมื่อจะชาระตนด้วยคาสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงทัดทรงระเบียบ ดอกไม้ เครื่องลูบไล้กระแจะจันทน์แคว้นกาสี จงเป็ นผู้มากไปด้วยบุตร จงกระทาความเพ่งเล็งอย่างแรงกล้าในกามทั้งหลายเถิด. เมื่อน้องชายที่ ๒ นั่งแล้ว ดาบสที่เหลือต่างก็ได้กล่าวคาถาคนละคาถา ตามควรแก่อัธยาศัยของตนว่า ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นคฤหัสถ์มีธัญชาติมากมาย สมบูรณ์ด้วยกสิกรรม มียศ จงได้บุตรทั้งหลาย จงมีทรัพย์ ได้กามคุณทุกอย่าง จงอยู่ครองเรือนอย่างไม่เห็นความเสื่อมเลย. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงปราบดาภิเษกเป็ นกษัตริย์บรมราชาธิราช มีกาลัง มียศศักดิ์ จงครอบครองแผ่นดินมีมหาสมุทรทั้ง ๔ เป็นขอบเขตเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นพราหมณ์ มัวประกอบในทางทานายฤกษ์ยาม อย่าได้คลายความยินดีในตาแหน่ง ท่านผู้เป็นเจ้าแคว้นผู้มียศ จงบูชาผู้นั้นเถิด.
  • 8. 8 ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอชาวโลกทั้งมวลจงสาคัญผู้นั้นว่า เป็ นผู้เชี่ยวชาญเวทมนต์ทั้งปวงผู้เรืองตบะ ชาวชนบททั้งหลายทราบดีแล้วจงบูชาผู้นั้นเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงครอบครองบ้านส่วยอันพระราชาทรงพระราชทานให้ เป็นบ้านที่มั่งคั่ง สมบูรณ์ด้วยเหตุ ๔ ประการ ดุจท้าววาสวะพระราชทานให้ อย่าได้คลายความยินดีจนกระทั่งถึงความตายเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นจงเป็ นนายบ้าน บันเทิงอยู่ด้วยความฟ้ อนราขับร้องในท่ามกลางสหาย อย่าได้รับความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่งจากพระราชาเลย. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ หญิงใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นเอกราช ทรงปราบปรามศัตรูได้ทั่วพื้นปฐพี ทรงสถาปนาให้หญิงนั้นเป็ นยอดสตรีจานวนพัน ขอหญิงนั้นจงเป็นมเหสีผู้ประเสริฐกว่านางสนมทั้งหลายเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ หญิงใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้หญิงนั้นจงเป็นทาสี ไม่สะดุ้งสะเทือน กินของดีๆ ในท่ามกลางคนทั้งปวงที่มาประชุมกันอยู่ จงเที่ยวโอ้อวดลาภอยู่เถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ผู้ใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ผู้นั้นเป็ นเจ้าอาวาสในวัดใหญ่ๆ จงเป็นผู้ประกอบนวกรรมในเมืองกชังคละ จงกระทาหน้าต่างตลอดวันเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ช้างเชือกใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ช้างเชือกนั้นจงถูกคล้องด้วยบ่วงบาศตั้งร้อย จงถูกนาออกจากป่า อันน่ารื่นรมย์มายังราชธานี จงถูกทิ่มแทงด้วยปฏักและสับด้วยขอเถิด. ข้าแต่ท่านพราหมณ์ ลิงตัวใดลักเอาเหง้าบัวของท่านไป ขอให้ลิงตัวนั้นมีดอกไม้สวมคอ ถูกเจาะหูด้วยดีบุก ถูกเฆี่ยนด้วยไม้เรียว เมื่อฝึกหัดให้เล่นงู เข้าไปใกล้ปากงู ถูกมัดตระเวนเที่ยวไปตามตรอกเถิด. ก็เมื่อชนทั้ง ๑๓ สบถกันอย่างนี้แล้ว พระมหาสัตว์ดาริว่า บางทีพวกเหล่านี้พึงกินแหนงในเราว่าผู้นี้กล่าวถึงสิ่งที่ไม่หายไปเลยว่าหายไป ดังนี้ เราต้องสบถบ้าง. เมื่อทาสบถ จึงกล่าวคาถานี้ว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้ใดแลแกล้งกล่าวถึงของที่ไม่หายว่าหายก็ดี หรือผู้สงสัยคนใดคนหนึ่งก็ดี ขอให้ผู้นั้นจงได้บริโภคกามทั้งหลาย จงเข้าถึงความตายอยู่ในท่ามกลางเรือน. ก็แลเมื่อฤาษีทั้งหลายพากันสบถแล้ว ท้าวสักกะทรงกลัวคิดว่า เราหมายจะทดลองพวกนี้ดู จึงทาให้เหง้าบัวหายไป
  • 9. 9 พวกเหล่านี้พากันติเตียนกามทั้งหลาย ประหนึ่งก้อนน้าลายที่ถ่มทิ้ง ทาสบถกัน เราต้องถามพวกเหล่านั้น ถึงเหตุที่ติเตียนกามคุณดู แล้วทรงสาแดงกายให้ปรากฏ ทรงไหว้พระโพธิสัตว์ เมื่อตรัสถาม ตรัสคาถาสืบไปว่า สัตว์ทั้งหลายในโลก ย่อมพากันเที่ยวแสวงหากามใด เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่ารัก น่าฟูใจของสัตว์เป็ นอันมากในชีวโลกนี้ เพราะเหตุใด ฤาษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกามนั้นเลย. ครั้งนั้น เมื่อพระมหาสัตว์จะแก้ปัญหาของท้าวเธอ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า ดูก่อนท่านผู้เป็นจอมภูต เพราะกามนั่นแล สัตว์ทั้งหลายจึงถูกประหาร ถูกจองจา เพราะกามทั้งหลาย ทุกข์และภัยจึงเกิด เพราะกามทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายจึงประมาทลุ่มหลง กระทากรรมอันเป็ นบาป สัตว์เหล่านั้นมีบาป จึงประสบบาปกรรม เมื่อตายแล้วย่อมไปสู่นรก เพราะเห็นโทษในกามคุณดังนี้ ฤาษีทั้งหลายจึงไม่สรรเสริญกาม. ท้าวสักกะทรงสดับถ้อยคาของพระมหาสัตว์มีพระมนัสสลด ตรัสคาถาต่อไปว่า ข้าแต่ท่านผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ข้าพเจ้าจะทดลองดูว่าฤาษีเหล่านี้ยังน้อมไปในกามหรือไม่ จึงถือเอาเหง้าบัวที่ฝั่งน้าไปฝังไว้บนบก ฤาษีทั้งหลายเป็ นผู้บริสุทธิ์ ไม่มีบาป นี้เหง้าบัวของท่าน. พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้น แล้วกล่าวว่า ดูก่อนท้าวสหัสนัยน์เทวราช ฤาษีเหล่านี้มิใช่นักฟ้ อนของท่าน และมิใช่ผู้ที่ท่านจะพึงล้อเล่น ไม่ใช่พวกพ้องและสหายของท่าน เพราะเหตุไร ท่านจึงมาดูหมิ่น ล้อเล่นกับฤาษีทั้งหลาย. ครั้งนั้นท้าวสักกะ เมื่อจะขอขมาท่าน จึงกล่าวคาถาที่ ๒๐ ว่า ข้าแต่ท่านผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน ท่านเป็นอาจารย์และเป็นบิดาของข้าพเจ้า ขอเงาเท้าของท่านจงเป็ นที่พึ่งของข้าพเจ้าผู้พลั้งพลาด ขอได้โปรดอดโทษสักครั้งหนึ่งเถิด บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่มีความโกรธเป็นกาลัง. พระมหาสัตว์อดโทษแก่ท้าวสักกเทวราชแล้ว เมื่อจะให้คณะฤาษีอดโทษด้วยตนเอง จึงกล่าวคาถาต่อไปว่า การที่พวกเราได้เห็นท้าววาสวะผู้เป็นจอมภูต นับเป็ นราตรีเอกของพวกเราเหล่าฤาษีซึ่งอยู่กันด้วยดี ท่านผู้เจริญทุกคนจงพากันดีใจเถิด เพราะท่านพราหมณ์ได้เหง้าบัวคืนแล้ว.
  • 10. 10 ท้าวสักกเทวราชบังคมคณะฤาษีแล้วเสด็จไปสู่เทวโลก. ฝ่ายคณะฤาษีพากันยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ต่างได้เข้าถึงพรหมโลก. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โปราณกบัณฑิตพากันทาสบถละกิเลสอย่างนี้ แล้วทรงประกาศสัจจะ เวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้กระสันดารงในพระโสดาปัตติผล. เมื่อพระศาสดาจะทรงประชุมชาดก ได้ตรัสพระคาถาสุดท้ายอีก ๓ คาถาว่า เราตถาคต สารีบุตร โมคคัลลานะ กัสสปะ อนุรุทธะ ปุณณะ และอานนท์เป็น ๗ พี่น้อง ในครั้งนั้น อุบลวรรณาเป็ นน้องสาว ขุชชุตตราเป็นทาสี จิตตคฤหบดีเป็นทาส สาตาคีระเป็นเทวดา ปาลิเลยยกะเป็นช้าง มธุระผู้ประเสริฐ เป็ นวานร กาฬุทายีเป็นท้าวสักกะ ท่านทั้งหลายจงทรงจาชาดกไว้ ด้วยประการฉะนี้แล. จบอรรถกถาภิสกชาดกที่ ๕ -----------------------------------------------------