SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
ฉัตตมาณวกวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๓. ฉัตตมาณวกวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่ฉัตตมาณพผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ
(พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงแสดงวิธีถึงสรณคมน์แก่ฉัตตมาณพจึงตรัสว่า)
[๘๘๖] บรรดาผู้กล่าวสอนในหมู่มนุษย์ ผู้ใดเป็นผู้ประเสริฐสุด
เป็นพระศากยมุนี จาแนกพระธรรม สาเร็จกิจที่จะต้องทาแล้ว ถึงฝั่งพระนิพพาน
พรั่งพร้อมด้วยพละและวีริยะ
เธอจงถึงผู้นั้นผู้เป็ นพระสุคตเพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด
[๘๘๗] เธอจงถึงพระธรรมอันเป็ นเหตุสารอกราคะ มีสภาวะไม่หวั่นไหว
ไร้ความเศร้าโศก เป็ นสภาวธรรมที่ปราศจากปัจจัยปรุงแต่ง
ปราศจากสิ่งแปดเปื้อน น่าปรารถนา ละเอียดอ่อน
ซึ่งพระตถาคตทรงจาแนกไว้แจ่มแจ้งแล้วนี้เพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด
[๘๘๘] บัณฑิตทั้งหลายกล่าวถึงทานที่ถวายในท่านเหล่าใดว่ามีผลมาก
ท่านเหล่านั้น คือพระอริยบุคคลผู้บริสุทธิ์ ๔ คู่ ๘ ท่าน ผู้เห็นประจักษ์ในธรรม
เธอจงถึงพระอริยสงฆ์นี้เพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด
(พระผู้มีพระภาคตรัสถามเทพบุตรนั้นว่า)
[๘๘๙] ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวฤกษ์ผุสสะในท้องฟ้ า
ยังสว่างไสวไม่เทียบเท่าวิมานของเธอซึ่งสว่างไสวมาก หาสิ่งเปรียบเทียบมิได้นี้
เธอเป็นใครหนอ จากเทวโลกชั้นดาวดึงส์มายังแผ่นดิน
[๘๙๐] วิมานของเธอนั้นมีรัศมีตัดแสงอาทิตย์แผ่ไปเกิน ๒๐ โยชน์
และทากลางคืนให้เป็ นเสมือนกลางวัน วิมานของเธองามบริสุทธิ์ผุดผ่อง
[๘๙๑] มีดอกปทุมมาก มีดอกบุณฑริกงดงาม
เกลื่อนกลาดด้วยดอกไม้นานาชนิด งามไม่น้อย คลุมไว้ด้วยตาข่ายทองอันบริสุทธิ์
ปราศจากธุลี ส่องสว่างอยู่ในอากาศเหมือนดวงอาทิตย์
[๘๙๒] วิมานของเธอเนืองแน่นด้วยเหล่าเทพอัปสร
ผู้ทรงผ้ากาพลสีแดงและสีเหลือง หอมตลบด้วยกลิ่นกฤษณา
ดอกประยงค์และแก่นจันทน์ มีผิวพรรณเปล่งปลั่งดั่งทองคา
ประหนึ่งท้องฟ้ าเต็มไปด้วยดวงดาว
[๘๙๓] เทพบุตรและเทพธิดาจานวนมากในวิมานนี้
มีรูปร่างลักษณะต่างๆ กัน มีจิตใจเบิกบาน ทรงทิพยอาภรณ์
ประดับด้วยดอกไม้ทิพย์ คลุมด้วยกรองทอง ห่มด้วยอาภรณ์ทอง
โชยกลิ่นหอมฟุ้ งไปตามลม
2
[๘๙๔] นี้เป็นผลแห่งกรรมอันใดเล่า เพราะผลกรรมอะไรเล่า
เธอจึงมาเกิดในวิมานนี้ อนึ่ง ตถาคตถามแล้ว
ขอเธอจงบอกถึงวิธีที่เธอได้วิมานนี้ตามสมควรแก่เหตุนั้นเถิด
(เทพบุตรกราบทูลว่า)
[๘๙๕] พระศาสดาเสด็จมาพบฉัตตมาณพในทางนี้
เมื่อจะทรงอนุเคราะห์ จึงได้ทรงพร่าสอน
มาณพนั้นฟังธรรมของพระองค์ผู้เป็ นรัตนะอย่างประเสริฐแล้ว ได้กราบทูลว่า
ข้าพระองค์จักทาตามพระดารัสที่ทรงพร่าสอน
[๘๙๖] ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ครั้งแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลว่า
ข้าพระองค์ยังไม่ได้ถึงพระชินะผู้ประเสริฐ
พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็ นที่พึ่งที่ระลึก
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ทรงพร่าสอนนั่นแล
[๘๙๗] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า
เธออย่าได้ประพฤติตนเป็นคนฆ่าสัตว์ โดยวิธีต่างๆ อันเป็นกรรมไม่สะอาด
เพราะท่านผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญ ความไม่สารวมในสัตว์ทั้งหลายเลย
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล
[๘๙๘] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธออย่าสาคัญสิ่งของ
แม้ที่คนอื่นดูแลรักษาไว้ที่เขามิได้ให้ว่าเป็ นของควรถือเอา (โดยอาการลักขโมย)
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล
[๘๙๙] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า
เธออย่าได้ล่วงละเมิดหญิงที่คนอื่นรักษา
(หญิงที่บิดามารดาเป็ นต้นยังไม่ยินยอมยกให้) และภรรยาของชายอื่น
(เป็นชู้กับภรรรยาชายอื่น) นั่นเป็ นสิ่งไม่ประเสริฐ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล
[๙๐๐] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า
เธออย่าได้พูดให้คลาดเคลื่อนจากความจริง เพราะท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย
ไม่สรรเสริญการกล่าวเท็จ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล
[๙๐๑] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธอจงงดเว้นของมึนเมาทุกชนิด
อันเป็นเหตุทาให้ความจาของคนเสื่อม ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
3
ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ
แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล
[๙๐๒] ข้าพระองค์นั้นได้รักษาสิกขาบท ๕ (ศีล ๕) ในพระศาสนานี้
ปฏิบัติธรรมของพระตถาคต ได้ไปยังทางสองแพร่งกลางชุมโจร
พวกโจรเหล่านั้นได้ฆ่าข้าพระองค์ ณ ที่นั้น เพราะโภคะเป็นเหตุ
[๙๐๓] ข้าพระองค์ระลึกถึงกุศลกรรมมีประมาณเท่านี้นี่เอง
กุศลกรรมอื่นนอกจากนั้นของข้าพระองค์ไม่มี เพราะสุจริตกรรมนั้น
ข้าพระองค์จึงเกิดในหมู่เทวดาชั้นดาวดึงส์ พรั่งพร้อมด้วยกามคุณตามปรารถนา
[๙๐๔] ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตร
ผลของการสารวมเพียงชั่วครู่ชั่วยาม ด้วยการปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
คนเป็นอันมากผู้มีกรรมต่าต้อย (โภคะด้อยกว่าสมบัติของข้าพระองค์)
พากันมองดู นึกกระหยิ่ม(ชื่นชม) ข้าพระองค์
เหมือนบุคคลพากันมองดูผู้รุ่งเรืองด้วยบริวารยศ
[๙๐๕] ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตรเถิด ข้าพระองค์ถึงสุคติ
และได้รับความสุข เพราะพระธรรมเพียงเล็กน้อย
ส่วนเหล่าชนที่ได้ฟังธรรมของพระองค์เนืองๆ
เห็นทีจะสัมผัสอมตธรรมซึ่งมีความเกษม
[๙๐๖]
บุญกุศลที่ข้าพระองค์ดารงอยู่ในพระธรรมคาสอนของพระตถาคต
ทาแล้วแม้น้อยกลับมีผลยิ่งใหญ่ไพบูลย์ ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตรดูเถิด
เพราะได้ทาบุญไว้ ฉัตตเทพบุตรจึงเปล่งรัศมี สว่างไสวไปทั่วแผ่นดิน
เหมือนดวงอาทิตย์
[๙๐๗] ชนจาพวกหนึ่งประชุมปรึกษากันว่า กุศลนี้เป็ นอย่างไร
พวกเราจะบาเพ็ญกุศลนั้นอย่างไร พวกเรานั้นได้เกิดเป็นมนุษย์แล้ว
พึงปฏิบัติธรรม อยู่รักษาศีลกันอีกเถิด
[๙๐๘] พระศาสดาทรงมีอุปการะมาก
และทรงอนุเคราะห์ข้าพระองค์อย่างนี้ ในเมื่อข้าพระองค์ยังมีชีวิตอยู่
ได้เสด็จไปแต่ยังวันอยู่เลย
ข้าพระองค์นั้นได้เข้าไปเฝ้ าพระองค์ผู้ทรงมีพระนามเป็นสัจธรรม
ขอพระองค์โปรดอนุเคราะห์เถิด ข้าพระองค์ขอฟังธรรมซ้าอีก
[๙๐๙] ชนเหล่าใดในพระศาสนานี้ละกามราคานุสัย และภวราคานุสัย
(กามราคานุสัย กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในส้นดาน คือ ความกาหนัดในกาม
ภวราคานุสัย กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน คือ ความกาหนัดในภพ อยากมี
อยากเป็น อยากคงอยู่) ได้เพราะละโมหะได้ขาด
4
ชนเหล่านั้นแลย่อมไม่เข้าถึงการนอนในครรภ์อีกต่อไป
เพราะว่าเป็ นผู้ถึงความดับอย่างสิ้นเชิงเย็นสนิทแล้ว (ปรินิพพาน)
ฉัตตมาณวกวิมานที่ ๓ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ มหารถวรรคที่ ๕
๓. ฉัตตมาณวกวิมาน
อรรถกถาฉัตตมาณวกวิมาน
ฉัตตมาณวกวิมาณเกิดขึ้นอย่างไร?
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน กรุงสาวัตถี.
สมัยนั้น
มีมาณพพราหมณ์ชื่อฉัตตะ เป็ นบุตรที่ได้มาโดยยากของพราหมณ์คนหนึ่ง
ในเสตัพยนคร. มาณพนั้นเจริญวัยแล้ว บิดาส่งไปอุกกัฏฐนคร
เรียนมนต์และฐานวิชาทั้งหลายในสานักของพราหมณ์ชื่อโปกขรสาติ
ไม่นานนักก็สาเร็จการศึกษาในศิลปพราหมณ์
เพราะเป็นคนมีปัญญาและไม่เกียจคร้าน.
เขากล่าวกะอาจารย์ว่า
กระผมศึกษาศิลปะในสานักของท่านอาจารย์แล้ว
กระผมจะให้ทักษิณาค่าบูชาครูแก่ท่านอาจารย์อย่างไร อาจารย์กล่าวว่า
ธรรมดาทักษิณาค่าบูชาครูต้องพอเหมาะแก่ทรัพย์สมบัติของอันเตวาสิก
เธอจงนากหาปณะมาพันหนึ่ง. ฉัตตมาณพกราบอาจารย์กลับไปเสตัพยนคร
ไหว้บิดามารดา. บิดามารดาก็ชื่นชมยินดีกระทาปฏิสันถารต้อนรับ.
เขาบอกความนั้นแก่บิดา กล่าวว่า โปรดให้ของที่ควรจะให้แก่ฉันเถิด
ฉันจักให้ค่าบูชาครูในวันนี้แหละแล้วจักกลับมา. บิดามารดากล่าวกะเขาว่า ลูก
วันนี้ค่าแล้ว พรุ่งนี้ค่อยไป แล้วนากหาปณะทั้งหลายออกมาผูกเป็นห่อแล้ววางไว้.
พวกโจรรู้เรื่องนั้น แอบอยู่ในป่าชัฏแห่งหนึ่ง
ในทางที่ฉัตตมาณพจะไป ด้วยคิดว่า
จักฆ่ามาณพแล้วชิงเอากหาปณะทั้งหลายเสีย.
เวลาใกล้รุ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากมหากรุณาสมาบัติ
ทรงตรวจดูโลกอยู่ ทรงเห็นว่า ฉัตตมาณพจะดารงอยู่ในสรณะและศีล
เขาจักถูกพวกโจรฆ่าตายไปบังเกิดในเทวโลก มาจากเทวโลกกับวิมาน
และบริษัทที่ประชุมกันในที่นั้นจะตรัสรู้ธรรม จึงเสด็จไปก่อนประทับนั่ง ณ
โคนต้นไม้แห่งหนึ่ง ในทางเดินของมาณพ.
มาณพถือเอาทรัพย์ค่าบูชาอาจารย์ ไปจากเสตัพยนคร
มุ่งหน้าไปอุกกัฏฐนคร เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งอยู่ในระหว่างทาง
5
จึงเข้าไปเฝ้ ายืนอยู่.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เธอจักไปไหน. กราบทูลว่า
ข้าแต่ท่านพระโคดม ข้าพระองค์จักไปอุกกัฏฐนคร
เพื่อให้ทักษิณาค่าบูชาครูแก่โปกขรสาติพราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ของข้าพระองค์.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มาณพ เธอรู้สรณะ ๓ และศีล ๕
หรือ. เมื่อมาณพกราบทูลว่า ข้าพระองค์ไม่รู้สรณะ ๓ และศีล ๕
เหล่านั้นว่ามีและเป็นเช่นไร
ทรงประกาศผลานิสงส์ของการถึงสรณะและการสมาทานศีล ๕ ว่า นี้เป็ นเช่นนี้
แล้วตรัสว่า มาณพ เธอจงเรียนวิธีถึงสรณะก่อน. มาณพทูลขอว่า สาธุ
ข้าพระองค์จักเรียน ขอพระองค์โปรดตรัสบอกเถิด พระเจ้าข้า.
เมื่อทรงแสดงวิธีถึงสรณะโดยประพันธ์เป็ นคาถา
สมควรแก่อัธยาศัยของมาณพนั้น ได้ตรัสคาถา ๓ คาถาว่า
บรรดาผู้กล่าวสอนอยู่ [ศาสดา] ผู้ใดเป็นผู้ประเสริฐในมนุษย์
เป็นศากยมุนี เป็ นภควา ผู้ทากิจเสร็จแล้ว ถึงฝั่งแล้ว พรั่งพร้อมด้วยพละและวิริยะ
เธอจงเข้าถึงผู้นั้น ผู้เป็นสุคต เป็นสรณะ.
เธอจงเข้าถึงพระธรรมที่สารอกราคะ ไม่หวั่นไหว ไม่เศร้าโศก
เป็นอสังขตธรรม ไม่ปฏิกูล ไพเราะ ซื่อตรง จาแนกไว้ดีนี้ เป็ นสรณะ.
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวทานที่ถวายในท่านเหล่าใดว่ามีผลมาก
ท่านเหล่านั้น คืออริยบุคคลสี่คู่ เป็นบุคคลแปด ผู้แสดงธรรม
เธอจงเข้าถึงพระสงฆ์นี้ เป็ นสรณะ.
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสวิธีถึงสรณะพร้อมด้วยทรงชี้คุณของสรณะ
ด้วยคาถา ๓ คาถาอย่างนี้แล้ว.
มาณพเมื่อจะประกาศวิธีถึงสรณะตั้งอยู่ในหทัยของตน
โดยมุขคือระลึกถึงคุณของสรณะนั้นๆ จึงน้อมรับคาถานั้นๆ
ในลาดับแห่งคาถานั้นๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศสิกขาบท ๕
ทั้งโดยปฐมทั้งโดยผลานิสงส์
ได้ตรัสวิธีสมาทานสิกขาบทเหล่านั้นแก่มาณพผู้น้อมรับอย่างนี้แล้ว
มาณพนั้นทบทวนแม้วิธีสมาทานนั้นด้วยดี มีใจเลื่อมใส กราบทูลว่า
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์จักไปละ แล้วระลึกคุณพระรัตนตรัย
เดินไปตามทางนั้นเอง แม้พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระพุทธดาริว่า
กุศลเพียงเท่านี้ของมาณพนี้ พอที่จะให้เกิดในเทวโลก
แล้วได้เสด็จไปพระวิหารเชตวันอย่างเดิม.
เมื่อมาณพมีจิตเลื่อมใส
ตั้งอยู่ในสรณะทั้งหลายด้วยความเป็นผู้มีจิตตุปบาทเป็นไปว่า
ข้าพเจ้าเข้าถึงสรณะ ดังนี้ โดยกาหนดคุณพระรัตนตรัย
6
และตั้งอยู่ในศีลทั้งหลายด้วยอธิษฐานศีล ๕
ตามนัยที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้นั่นแล
กาลังเดินระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยตามนัยนั่นแล พวกโจรก็กรูกันมาที่หนทาง
มาณพไม่ใส่ใจพวกโจรเหล่านั้น เดินระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยอย่างเดียว
โจรคนหนึ่งยืนซ่อนในระหว่างพุ่มไม้ เอาลูกธนูอาบยาพิษแทงอย่างฉับพลัน
ทาให้เขาสิ้นชีวิต แล้วยึดห่อกหาปณะหลีกไปพร้อมกับพวกสหายของตน.
ฝ่ายมาณพทากาละแล้วตายไปบังเกิดในวิมานทอง ๓๐ โยชน์
ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็ นเหมือนหลับแล้วตื่นขึ้น มีอัปสรพันหนึ่งแวดล้อม
มีอัตภาพประดับด้วยเครื่องประดับมีภาระ ๖๐ เล่มเกวียน
รัศมีของวิมานนั้นแผ่ไปกว่า ๒๐ โยชน์.
ครั้งนั้น พวกมนุษย์ชาวเสตัพยนครเห็นมาณพทากาละแล้ว
จึงไปเสตัพยนคร บอกแก่บิดามารดาของมาณพนั้น.
พวกชาวบ้านอุกกัฏฐะก็ไปอุกกัฏฐนคร บอกแก่โปกขรสาติพราหมณ์
บิดามารดาของมาณพนั้น พวกญาติและมิตร
และโปกขรสาติพราหมณ์พร้อมด้วยบริวาร
มีน้าตาไหลอาบหน้าร้องไห้ไปประเทศนั้น ส่วนมากชาวเสตัพยะ
ชาวอุกกัฏฐะและชาวอิจฉานังคละ ก็ได้ประชุมกัน.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระดาริว่า เมื่อเราไป
ฉัตตมาณพเทพบุตรจะมาพบเรา เราจักให้เขาผู้มาแล้วกล่าวถึงกรรมที่ทาไว้
ให้ทาผลแห่งกรรมให้ประจักษ์ แล้วเราจักแสดงธรรม
มหาชนจักตรัสรู้ธรรมด้วยอาการอย่างนี้. ครั้นมีพระดาริแล้ว
พร้อมด้วยภิกษุหมู่ใหญ่เสด็จเข้าไปยังประเทศนั้น
ประทับนั่งเปล่งพระพุทธรังสีมีพรรณ ๖ ประการ ณ โคนต้นไม้แห่งหนึ่ง.
ครั้งนั้น แม้ฉัตตมาณพเทพบุตรตรวจดูสมบัติของตน
ทบทวนเหตุแห่งสมบัตินั้น เห็นการถึงสรณะและการสมาทานศีล
เกิดความประหลาดใจ เกิดความเลื่อมใสมากในพระผู้มีพระภาคเจ้า คิดว่า
เราจักไปถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าและไหว้ภิกษุสงฆ์ ในบัดนี้แหละ
และจักทาคุณพระรัตนตรัยให้ปรากฏแก่มหาชน.
เทพบุตรอาศัยความเป็นผู้กตัญญู
กระทาประเทศแห่งป่านั้นทั้งหมดให้มีแสงสว่างเป็นอันเดียวกัน
มาพร้อมกับวิมาน ลงจากวิมาน ปรากฏองค์ให้เห็นพร้อมด้วยบริวารหมู่ใหญ่
เข้าไปหมอบถวายบังคมด้วยเศียรเกล้าแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้วยืนประคองอัญชลีอยู่. มหาชนเห็นดังนั้นมีความประหลาดอัศจรรย์ว่า
นี้ใครหนอ เทวดาหรือพรหมพากันเข้าแวดล้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า
7
เพื่อจะทรงทาบุญกรรมที่เทพบุตรนั้นกระทาไว้ให้ปรากฏ
ได้ตรัสไต่ถามเทพบุตรนั้นว่า
พระอาทิตย์ในท้องฟ้ าก็ไม่สว่าง พระจันทร์ก็ไม่สว่าง
ดาวฤกษ์ผุสสะก็ไม่สว่างเหมือนวิมานนี้ มีรัศมีสว่างมาก ไม่มีที่เปรียบ
ท่านเป็นใคร จากดาวดึงส์มาสู่แผ่นดิน รัศมีมีเกิน ๒๐ โยชน์ ตัดรังสีพระอาทิตย์
และทากลางคืนให้เป็ นเหมือนกลางวัน.
วิมานของท่านงามบริสุทธิ์ผุดผ่อง มีดอกปทุมมาก มีดอกบุณฑริกงาม
เกลื่อนกลาดไปด้วยดอกไม้ทั้งหลายงามไม่น้อย
คลุมด้วยข่ายทองที่ปราศจากละอองธุลี สว่างอยู่ในอากาศ เหมือนดวงอาทิตย์.
วิมานของท่านบริบูรณ์ด้วยเหล่าอัปสรผู้ทรงผ้าแดงและผ้าเหลือง
หอมตลบด้วยกฤษณา ประยงค์และจันทน์ มีองค์และผิวพรรณเปล่งปลั่งดังทอง
เหมือนท้องฟ้ าเต็มไปด้วยดวงดาวทั้งหลาย
ทวยเทพบุตรและเทพธิดาในวิมานนี้มีมาก หลายหลากวรรณะ
มีอาภรณ์ประดับด้วยดอกไม้ มีใจดี มีกรองทอง นุ่งห่มด้วยอาภรณ์ที่เป็นทอง
โชยกลิ่นหอมลอยไปตามลม นี้เป็ นวิบากแห่งการสารวมอะไร.
ท่านเกิดในวิมานนี้ ด้วยผลแห่งกรรมอะไร
และท่านได้วิมานนี้โดยวิธีใด
ท่านถูกเราถามแล้ว เชิญบอกตามสมควรแก่วิธีนั้นด้วยเถิด.
ลาดับนั้น เทพบุตรได้พยากรณ์ด้วยคาถาเหล่านี้ว่า
พระศาสดาเสด็จมาพบมาณพในทางนี้ด้วยพระองค์เอง
เมื่อทรงอนุเคราะห์ ได้ตรัสสอนแล้ว
ฉัตตมาณพฟังธรรมของพระองค์ผู้เป็ นรัตนะอันประเสริฐ ได้กราบทูลว่า
ข้าพระองค์จักกระทาตามพระองค์ตรัสสอนว่า เธอจงเข้าถึงพระชินวรผู้ประเสริฐ
ทั้งพระธรรมและภิกษุสงฆ์ เป็นสรณะ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว
พระองค์ตรัสสอนว่า จงอย่าฆ่าสัตว์ อย่าประพฤติกรรมไม่สะอาดต่างๆ
ผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญความไม่สารวมในสัตว์ทั้งหลายเลย
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์ อย่างนั้นทีเดียว.
พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าเป็นผู้มีความสาคัญของที่เจ้าของมิได้ให้
แม้ที่ชนอื่นรักษาไว้ ว่าเป็นของควรถือเอา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว
พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าได้ล่วงเกินภริยาของคนอื่นที่คนอื่นรักษา
8
นั่นเป็ นสิ่งไม่ประเสริฐ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว
พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าได้กล่าวเรื่องจริงเป็ นเท็จ
ผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญมุสาวาทเลย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว
พระองค์ตรัสสอนว่า จงงดเว้นน้าเมา
ซึ่งเป็ นเครื่องให้คนปราศจากสัญญานั้นทั้งหมด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่า ไม่รู้
แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์ อย่างนั้นทีเดียว
ข้าพระองค์นั้นถือสิกขาบท ๕ ในศาสนานี้
ปฏิบัติในธรรมของพระตถาคต ได้ไปยังทางสองแพร่ง ท่ามกลางพวกโจร
พวกโจรเหล่านั้นฆ่าข้าพระองค์ที่ทางนั้น เพราะโภคะเป็นเหตุ
ข้าพระองค์ระลึกถึงกุศลนี้เพียงเท่านี้ กุศลอื่นนอกจากนั้นของข้าพระองค์ไม่มี
ด้วยกรรมอันสุจริตนั้น ข้าพระองค์จึงเกิดในหมู่เทวดาชาวไตรทิพย์
พรั่งพร้อมด้วยสิ่งที่น่าปรารถนา.
ขอพระองค์โปรดดูวิบากแห่งการสารวมชั่วขณะครู่หนึ่ง
ด้วยการปฏิบัติธรรมตามสมควร ซึ่งเหมือนรุ่งเรืองอยู่ด้วยยศ
คนเป็นอันมากผู้มีกรรมต่าทรามเพ่งดูข้าพระองค์ ก็นึกกระหยิ่ม โปรดดูเถิด
ข้าพระองค์ถึงสุคติและถึงความสุข ด้วยเทศนาเล็กน้อย
ก็เหล่าสัตว์ผู้ที่ฟังธรรมของพระองค์ติดต่อกันเหล่านั้น
เห็นทีจะสัมผัสพระนิพพานอันเป็ นแดนเกษมเป็นแน่
กรรมที่ทาแม้น้อยก็มีวิบากใหญ่ไพบูลย์
เพราะธรรมของพระตถาคตแท้ๆ โปรดดูเถิด เพราะเป็นผู้ได้ทาบุญไว้
ฉัตตมาณพจึงเปล่งรัศมีสว่างตลอดแผ่นปฐพี เหมือนดังดวงอาทิตย์.
คนพวกหนึ่งประชุมปรึกษากันว่า กุศลนี้เป็ นอย่างไร
พวกเราจะประพฤติกุศลอะไร พวกเรานั้นได้ความเป็นมนุษย์แล้ว
พึงปฏิบัติมนุษยธรรม มีศีลกันอยู่อีกทีเดียว
พระศาสดาทรงมีอุปการะมาก ทรงอนุเคราะห์อย่างนี้
เมื่อข้าพระองค์ถูกโจรฆ่าชิงทรัพย์ ยังกลางวันแสกๆ อยู่เลย
ข้าพระองค์นั้นเป็ นผู้เข้าถึงพระผู้มีพระนามอันเป็นสัจจะ
ขอพระองค์โปรดอนุเคราะห์เถิด พวกข้าพระองค์ทั้งหลายขอฟังธรรมอีก
ชนเหล่าใดในศาสนานี้ละกามราคะ อนุสัยคือภวราคะและโมหะ ละได้ขาด
ชนเหล่านั้นย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์ คือเกิดอีก เพราะถึงปรินิพพานดับทุกข์
เย็นสนิทแล้ว.
9
เทพบุตรตั้งอยู่ในความเป็ นผู้กตัญญู เมื่อแสดงความไม่อิ่มด้วยดี
ด้วยการเข้าไปใกล้ และด้วยการฟังธรรม
จึงกล่าวคานั้นทั้งหมดด้วยประการฉะนี้.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูอัธยาศัยของเทพบุตร
และบริษัทที่ประชุมกันในที่นั้นแล้วทรงแสดงอนุปุพพิกถา
ทรงทราบว่าชนเหล่านั้นมีจิตสงบ
จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่ทรงยกขึ้นแสดงเอง (อริยสัจ) จบเทศนา
เทพบุตรและบิดามารดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลและมหาชนหมู่ใหญ่ได้ตรัสรู้ธรรม.
เทพบุตรตั้งอยู่ในปฐมผล
เมื่อประกาศความเคารพหนักของตนในมรรคชั้นสูง
และความที่การบรรลุมรรคนั้นมีอานิสงส์มาก เนื้อความของคาถานั้นว่า
ชนเหล่าใดดารงอยู่ในศาสนานี้ ย่อมละ
คือย่อมถอนกามราคะได้ขาดไม่เหลือเลย
ชนเหล่านั้นย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์อีก เพราะถอนโอรัมภาคิยสังโยชน์
[สังโยชน์เบื้องต่าได้แล้ว].
อนึ่ง ชนเหล่าใดละโมหะ คือเพิกถอนโดยประการทั้งปวง
ชื่อว่าละภวราคานุสัยได้ด้วย จึงไม่มีคาที่จะต้องกล่าวว่า
ชนเหล่านั้นย่อมต้องนอนในครรภ์อีก ดังนี้ เพราะเหตุไร.
เพราะถึงปรินิพพานดับทุกข์ เป็นผู้เย็นสนิทแล้ว.
จริงอยู่ ชนเหล่านั้นเป็นอุดมบุรุษถึงปรินิพพานดับทุกข์
ด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ดังนั้นจึงเป็นผู้เย็นสนิทแล้ว
เพราะความเร่าร้อนทุกอย่างที่สัตว์ทั้งปวงเสวยสิ้นสุดไปในปรินิพพานนั้นนั่นเอง.
เทพบุตรเมื่อประกาศความที่ตนถึงกระแสอริยะแล้ว
จับเอายอดเทศนาด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า
กระทาประทักษิณแล้วแสดงความนับถือแก่ภิกษุสงฆ์
ลาบิดามารดาแล้วกลับเทวโลกอย่างเดิม.
แม้พระศาสดาทรงลุกจากพุทธอาสน์แล้วเสด็จไปพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
บิดามารดาของมาณพ โปกขรสาติพราหมณ์ และมหาชนทั้งหมด
ส่งเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วพากันกลับ
พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จไปพระวิหารเชตวัน
ตรัสวิมานนี้โดยพิสดารแก่บริษัทที่ประชุมกัน
เทศนานั้นได้เป็ นประโยชน์แก่มหาชนแล.
จบอรรถกถาฉัตตมาณวกวิมาน
-----------------------------------------------------
10

More Related Content

Similar to ๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒Tongsamut vorasan
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdfmaruay songtanin
 
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 

Similar to ๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (20)

2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf
๐๔ เมตตคูปัญหา.pdf
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
 
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 

More from maruay songtanin

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 ฉัตตมาณวกวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๓. ฉัตตมาณวกวิมาน ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่ฉัตตมาณพผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ (พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงแสดงวิธีถึงสรณคมน์แก่ฉัตตมาณพจึงตรัสว่า) [๘๘๖] บรรดาผู้กล่าวสอนในหมู่มนุษย์ ผู้ใดเป็นผู้ประเสริฐสุด เป็นพระศากยมุนี จาแนกพระธรรม สาเร็จกิจที่จะต้องทาแล้ว ถึงฝั่งพระนิพพาน พรั่งพร้อมด้วยพละและวีริยะ เธอจงถึงผู้นั้นผู้เป็ นพระสุคตเพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด [๘๘๗] เธอจงถึงพระธรรมอันเป็ นเหตุสารอกราคะ มีสภาวะไม่หวั่นไหว ไร้ความเศร้าโศก เป็ นสภาวธรรมที่ปราศจากปัจจัยปรุงแต่ง ปราศจากสิ่งแปดเปื้อน น่าปรารถนา ละเอียดอ่อน ซึ่งพระตถาคตทรงจาแนกไว้แจ่มแจ้งแล้วนี้เพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด [๘๘๘] บัณฑิตทั้งหลายกล่าวถึงทานที่ถวายในท่านเหล่าใดว่ามีผลมาก ท่านเหล่านั้น คือพระอริยบุคคลผู้บริสุทธิ์ ๔ คู่ ๘ ท่าน ผู้เห็นประจักษ์ในธรรม เธอจงถึงพระอริยสงฆ์นี้เพื่อเป็ นที่พึ่งที่ระลึกเถิด (พระผู้มีพระภาคตรัสถามเทพบุตรนั้นว่า) [๘๘๙] ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวฤกษ์ผุสสะในท้องฟ้ า ยังสว่างไสวไม่เทียบเท่าวิมานของเธอซึ่งสว่างไสวมาก หาสิ่งเปรียบเทียบมิได้นี้ เธอเป็นใครหนอ จากเทวโลกชั้นดาวดึงส์มายังแผ่นดิน [๘๙๐] วิมานของเธอนั้นมีรัศมีตัดแสงอาทิตย์แผ่ไปเกิน ๒๐ โยชน์ และทากลางคืนให้เป็ นเสมือนกลางวัน วิมานของเธองามบริสุทธิ์ผุดผ่อง [๘๙๑] มีดอกปทุมมาก มีดอกบุณฑริกงดงาม เกลื่อนกลาดด้วยดอกไม้นานาชนิด งามไม่น้อย คลุมไว้ด้วยตาข่ายทองอันบริสุทธิ์ ปราศจากธุลี ส่องสว่างอยู่ในอากาศเหมือนดวงอาทิตย์ [๘๙๒] วิมานของเธอเนืองแน่นด้วยเหล่าเทพอัปสร ผู้ทรงผ้ากาพลสีแดงและสีเหลือง หอมตลบด้วยกลิ่นกฤษณา ดอกประยงค์และแก่นจันทน์ มีผิวพรรณเปล่งปลั่งดั่งทองคา ประหนึ่งท้องฟ้ าเต็มไปด้วยดวงดาว [๘๙๓] เทพบุตรและเทพธิดาจานวนมากในวิมานนี้ มีรูปร่างลักษณะต่างๆ กัน มีจิตใจเบิกบาน ทรงทิพยอาภรณ์ ประดับด้วยดอกไม้ทิพย์ คลุมด้วยกรองทอง ห่มด้วยอาภรณ์ทอง โชยกลิ่นหอมฟุ้ งไปตามลม
  • 2. 2 [๘๙๔] นี้เป็นผลแห่งกรรมอันใดเล่า เพราะผลกรรมอะไรเล่า เธอจึงมาเกิดในวิมานนี้ อนึ่ง ตถาคตถามแล้ว ขอเธอจงบอกถึงวิธีที่เธอได้วิมานนี้ตามสมควรแก่เหตุนั้นเถิด (เทพบุตรกราบทูลว่า) [๘๙๕] พระศาสดาเสด็จมาพบฉัตตมาณพในทางนี้ เมื่อจะทรงอนุเคราะห์ จึงได้ทรงพร่าสอน มาณพนั้นฟังธรรมของพระองค์ผู้เป็ นรัตนะอย่างประเสริฐแล้ว ได้กราบทูลว่า ข้าพระองค์จักทาตามพระดารัสที่ทรงพร่าสอน [๘๙๖] ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ครั้งแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลว่า ข้าพระองค์ยังไม่ได้ถึงพระชินะผู้ประเสริฐ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็ นที่พึ่งที่ระลึก แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ทรงพร่าสอนนั่นแล [๘๙๗] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธออย่าได้ประพฤติตนเป็นคนฆ่าสัตว์ โดยวิธีต่างๆ อันเป็นกรรมไม่สะอาด เพราะท่านผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญ ความไม่สารวมในสัตว์ทั้งหลายเลย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล [๘๙๘] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธออย่าสาคัญสิ่งของ แม้ที่คนอื่นดูแลรักษาไว้ที่เขามิได้ให้ว่าเป็ นของควรถือเอา (โดยอาการลักขโมย) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล [๘๙๙] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธออย่าได้ล่วงละเมิดหญิงที่คนอื่นรักษา (หญิงที่บิดามารดาเป็ นต้นยังไม่ยินยอมยกให้) และภรรยาของชายอื่น (เป็นชู้กับภรรรยาชายอื่น) นั่นเป็ นสิ่งไม่ประเสริฐ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล [๙๐๐] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธออย่าได้พูดให้คลาดเคลื่อนจากความจริง เพราะท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย ไม่สรรเสริญการกล่าวเท็จ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล [๙๐๑] อนึ่ง พระองค์ได้ตรัสสอนว่า เธอจงงดเว้นของมึนเมาทุกชนิด อันเป็นเหตุทาให้ความจาของคนเสื่อม ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
  • 3. 3 ทีแรกข้าพระองค์ได้กราบทูลปฏิเสธ แต่ภายหลังได้ทาตามพระดารัสของพระองค์ตามที่ตรัสสอนนั่นแล [๙๐๒] ข้าพระองค์นั้นได้รักษาสิกขาบท ๕ (ศีล ๕) ในพระศาสนานี้ ปฏิบัติธรรมของพระตถาคต ได้ไปยังทางสองแพร่งกลางชุมโจร พวกโจรเหล่านั้นได้ฆ่าข้าพระองค์ ณ ที่นั้น เพราะโภคะเป็นเหตุ [๙๐๓] ข้าพระองค์ระลึกถึงกุศลกรรมมีประมาณเท่านี้นี่เอง กุศลกรรมอื่นนอกจากนั้นของข้าพระองค์ไม่มี เพราะสุจริตกรรมนั้น ข้าพระองค์จึงเกิดในหมู่เทวดาชั้นดาวดึงส์ พรั่งพร้อมด้วยกามคุณตามปรารถนา [๙๐๔] ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตร ผลของการสารวมเพียงชั่วครู่ชั่วยาม ด้วยการปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม คนเป็นอันมากผู้มีกรรมต่าต้อย (โภคะด้อยกว่าสมบัติของข้าพระองค์) พากันมองดู นึกกระหยิ่ม(ชื่นชม) ข้าพระองค์ เหมือนบุคคลพากันมองดูผู้รุ่งเรืองด้วยบริวารยศ [๙๐๕] ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตรเถิด ข้าพระองค์ถึงสุคติ และได้รับความสุข เพราะพระธรรมเพียงเล็กน้อย ส่วนเหล่าชนที่ได้ฟังธรรมของพระองค์เนืองๆ เห็นทีจะสัมผัสอมตธรรมซึ่งมีความเกษม [๙๐๖] บุญกุศลที่ข้าพระองค์ดารงอยู่ในพระธรรมคาสอนของพระตถาคต ทาแล้วแม้น้อยกลับมีผลยิ่งใหญ่ไพบูลย์ ขอพระองค์โปรดทอดพระเนตรดูเถิด เพราะได้ทาบุญไว้ ฉัตตเทพบุตรจึงเปล่งรัศมี สว่างไสวไปทั่วแผ่นดิน เหมือนดวงอาทิตย์ [๙๐๗] ชนจาพวกหนึ่งประชุมปรึกษากันว่า กุศลนี้เป็ นอย่างไร พวกเราจะบาเพ็ญกุศลนั้นอย่างไร พวกเรานั้นได้เกิดเป็นมนุษย์แล้ว พึงปฏิบัติธรรม อยู่รักษาศีลกันอีกเถิด [๙๐๘] พระศาสดาทรงมีอุปการะมาก และทรงอนุเคราะห์ข้าพระองค์อย่างนี้ ในเมื่อข้าพระองค์ยังมีชีวิตอยู่ ได้เสด็จไปแต่ยังวันอยู่เลย ข้าพระองค์นั้นได้เข้าไปเฝ้ าพระองค์ผู้ทรงมีพระนามเป็นสัจธรรม ขอพระองค์โปรดอนุเคราะห์เถิด ข้าพระองค์ขอฟังธรรมซ้าอีก [๙๐๙] ชนเหล่าใดในพระศาสนานี้ละกามราคานุสัย และภวราคานุสัย (กามราคานุสัย กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในส้นดาน คือ ความกาหนัดในกาม ภวราคานุสัย กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน คือ ความกาหนัดในภพ อยากมี อยากเป็น อยากคงอยู่) ได้เพราะละโมหะได้ขาด
  • 4. 4 ชนเหล่านั้นแลย่อมไม่เข้าถึงการนอนในครรภ์อีกต่อไป เพราะว่าเป็ นผู้ถึงความดับอย่างสิ้นเชิงเย็นสนิทแล้ว (ปรินิพพาน) ฉัตตมาณวกวิมานที่ ๓ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ มหารถวรรคที่ ๕ ๓. ฉัตตมาณวกวิมาน อรรถกถาฉัตตมาณวกวิมาน ฉัตตมาณวกวิมาณเกิดขึ้นอย่างไร? พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน กรุงสาวัตถี. สมัยนั้น มีมาณพพราหมณ์ชื่อฉัตตะ เป็ นบุตรที่ได้มาโดยยากของพราหมณ์คนหนึ่ง ในเสตัพยนคร. มาณพนั้นเจริญวัยแล้ว บิดาส่งไปอุกกัฏฐนคร เรียนมนต์และฐานวิชาทั้งหลายในสานักของพราหมณ์ชื่อโปกขรสาติ ไม่นานนักก็สาเร็จการศึกษาในศิลปพราหมณ์ เพราะเป็นคนมีปัญญาและไม่เกียจคร้าน. เขากล่าวกะอาจารย์ว่า กระผมศึกษาศิลปะในสานักของท่านอาจารย์แล้ว กระผมจะให้ทักษิณาค่าบูชาครูแก่ท่านอาจารย์อย่างไร อาจารย์กล่าวว่า ธรรมดาทักษิณาค่าบูชาครูต้องพอเหมาะแก่ทรัพย์สมบัติของอันเตวาสิก เธอจงนากหาปณะมาพันหนึ่ง. ฉัตตมาณพกราบอาจารย์กลับไปเสตัพยนคร ไหว้บิดามารดา. บิดามารดาก็ชื่นชมยินดีกระทาปฏิสันถารต้อนรับ. เขาบอกความนั้นแก่บิดา กล่าวว่า โปรดให้ของที่ควรจะให้แก่ฉันเถิด ฉันจักให้ค่าบูชาครูในวันนี้แหละแล้วจักกลับมา. บิดามารดากล่าวกะเขาว่า ลูก วันนี้ค่าแล้ว พรุ่งนี้ค่อยไป แล้วนากหาปณะทั้งหลายออกมาผูกเป็นห่อแล้ววางไว้. พวกโจรรู้เรื่องนั้น แอบอยู่ในป่าชัฏแห่งหนึ่ง ในทางที่ฉัตตมาณพจะไป ด้วยคิดว่า จักฆ่ามาณพแล้วชิงเอากหาปณะทั้งหลายเสีย. เวลาใกล้รุ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากมหากรุณาสมาบัติ ทรงตรวจดูโลกอยู่ ทรงเห็นว่า ฉัตตมาณพจะดารงอยู่ในสรณะและศีล เขาจักถูกพวกโจรฆ่าตายไปบังเกิดในเทวโลก มาจากเทวโลกกับวิมาน และบริษัทที่ประชุมกันในที่นั้นจะตรัสรู้ธรรม จึงเสด็จไปก่อนประทับนั่ง ณ โคนต้นไม้แห่งหนึ่ง ในทางเดินของมาณพ. มาณพถือเอาทรัพย์ค่าบูชาอาจารย์ ไปจากเสตัพยนคร มุ่งหน้าไปอุกกัฏฐนคร เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งอยู่ในระหว่างทาง
  • 5. 5 จึงเข้าไปเฝ้ ายืนอยู่. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เธอจักไปไหน. กราบทูลว่า ข้าแต่ท่านพระโคดม ข้าพระองค์จักไปอุกกัฏฐนคร เพื่อให้ทักษิณาค่าบูชาครูแก่โปกขรสาติพราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ของข้าพระองค์. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มาณพ เธอรู้สรณะ ๓ และศีล ๕ หรือ. เมื่อมาณพกราบทูลว่า ข้าพระองค์ไม่รู้สรณะ ๓ และศีล ๕ เหล่านั้นว่ามีและเป็นเช่นไร ทรงประกาศผลานิสงส์ของการถึงสรณะและการสมาทานศีล ๕ ว่า นี้เป็ นเช่นนี้ แล้วตรัสว่า มาณพ เธอจงเรียนวิธีถึงสรณะก่อน. มาณพทูลขอว่า สาธุ ข้าพระองค์จักเรียน ขอพระองค์โปรดตรัสบอกเถิด พระเจ้าข้า. เมื่อทรงแสดงวิธีถึงสรณะโดยประพันธ์เป็ นคาถา สมควรแก่อัธยาศัยของมาณพนั้น ได้ตรัสคาถา ๓ คาถาว่า บรรดาผู้กล่าวสอนอยู่ [ศาสดา] ผู้ใดเป็นผู้ประเสริฐในมนุษย์ เป็นศากยมุนี เป็ นภควา ผู้ทากิจเสร็จแล้ว ถึงฝั่งแล้ว พรั่งพร้อมด้วยพละและวิริยะ เธอจงเข้าถึงผู้นั้น ผู้เป็นสุคต เป็นสรณะ. เธอจงเข้าถึงพระธรรมที่สารอกราคะ ไม่หวั่นไหว ไม่เศร้าโศก เป็นอสังขตธรรม ไม่ปฏิกูล ไพเราะ ซื่อตรง จาแนกไว้ดีนี้ เป็ นสรณะ. บัณฑิตทั้งหลายกล่าวทานที่ถวายในท่านเหล่าใดว่ามีผลมาก ท่านเหล่านั้น คืออริยบุคคลสี่คู่ เป็นบุคคลแปด ผู้แสดงธรรม เธอจงเข้าถึงพระสงฆ์นี้ เป็ นสรณะ. เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสวิธีถึงสรณะพร้อมด้วยทรงชี้คุณของสรณะ ด้วยคาถา ๓ คาถาอย่างนี้แล้ว. มาณพเมื่อจะประกาศวิธีถึงสรณะตั้งอยู่ในหทัยของตน โดยมุขคือระลึกถึงคุณของสรณะนั้นๆ จึงน้อมรับคาถานั้นๆ ในลาดับแห่งคาถานั้นๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศสิกขาบท ๕ ทั้งโดยปฐมทั้งโดยผลานิสงส์ ได้ตรัสวิธีสมาทานสิกขาบทเหล่านั้นแก่มาณพผู้น้อมรับอย่างนี้แล้ว มาณพนั้นทบทวนแม้วิธีสมาทานนั้นด้วยดี มีใจเลื่อมใส กราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์จักไปละ แล้วระลึกคุณพระรัตนตรัย เดินไปตามทางนั้นเอง แม้พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระพุทธดาริว่า กุศลเพียงเท่านี้ของมาณพนี้ พอที่จะให้เกิดในเทวโลก แล้วได้เสด็จไปพระวิหารเชตวันอย่างเดิม. เมื่อมาณพมีจิตเลื่อมใส ตั้งอยู่ในสรณะทั้งหลายด้วยความเป็นผู้มีจิตตุปบาทเป็นไปว่า ข้าพเจ้าเข้าถึงสรณะ ดังนี้ โดยกาหนดคุณพระรัตนตรัย
  • 6. 6 และตั้งอยู่ในศีลทั้งหลายด้วยอธิษฐานศีล ๕ ตามนัยที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้นั่นแล กาลังเดินระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยตามนัยนั่นแล พวกโจรก็กรูกันมาที่หนทาง มาณพไม่ใส่ใจพวกโจรเหล่านั้น เดินระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยอย่างเดียว โจรคนหนึ่งยืนซ่อนในระหว่างพุ่มไม้ เอาลูกธนูอาบยาพิษแทงอย่างฉับพลัน ทาให้เขาสิ้นชีวิต แล้วยึดห่อกหาปณะหลีกไปพร้อมกับพวกสหายของตน. ฝ่ายมาณพทากาละแล้วตายไปบังเกิดในวิมานทอง ๓๐ โยชน์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็ นเหมือนหลับแล้วตื่นขึ้น มีอัปสรพันหนึ่งแวดล้อม มีอัตภาพประดับด้วยเครื่องประดับมีภาระ ๖๐ เล่มเกวียน รัศมีของวิมานนั้นแผ่ไปกว่า ๒๐ โยชน์. ครั้งนั้น พวกมนุษย์ชาวเสตัพยนครเห็นมาณพทากาละแล้ว จึงไปเสตัพยนคร บอกแก่บิดามารดาของมาณพนั้น. พวกชาวบ้านอุกกัฏฐะก็ไปอุกกัฏฐนคร บอกแก่โปกขรสาติพราหมณ์ บิดามารดาของมาณพนั้น พวกญาติและมิตร และโปกขรสาติพราหมณ์พร้อมด้วยบริวาร มีน้าตาไหลอาบหน้าร้องไห้ไปประเทศนั้น ส่วนมากชาวเสตัพยะ ชาวอุกกัฏฐะและชาวอิจฉานังคละ ก็ได้ประชุมกัน. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระดาริว่า เมื่อเราไป ฉัตตมาณพเทพบุตรจะมาพบเรา เราจักให้เขาผู้มาแล้วกล่าวถึงกรรมที่ทาไว้ ให้ทาผลแห่งกรรมให้ประจักษ์ แล้วเราจักแสดงธรรม มหาชนจักตรัสรู้ธรรมด้วยอาการอย่างนี้. ครั้นมีพระดาริแล้ว พร้อมด้วยภิกษุหมู่ใหญ่เสด็จเข้าไปยังประเทศนั้น ประทับนั่งเปล่งพระพุทธรังสีมีพรรณ ๖ ประการ ณ โคนต้นไม้แห่งหนึ่ง. ครั้งนั้น แม้ฉัตตมาณพเทพบุตรตรวจดูสมบัติของตน ทบทวนเหตุแห่งสมบัตินั้น เห็นการถึงสรณะและการสมาทานศีล เกิดความประหลาดใจ เกิดความเลื่อมใสมากในพระผู้มีพระภาคเจ้า คิดว่า เราจักไปถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าและไหว้ภิกษุสงฆ์ ในบัดนี้แหละ และจักทาคุณพระรัตนตรัยให้ปรากฏแก่มหาชน. เทพบุตรอาศัยความเป็นผู้กตัญญู กระทาประเทศแห่งป่านั้นทั้งหมดให้มีแสงสว่างเป็นอันเดียวกัน มาพร้อมกับวิมาน ลงจากวิมาน ปรากฏองค์ให้เห็นพร้อมด้วยบริวารหมู่ใหญ่ เข้าไปหมอบถวายบังคมด้วยเศียรเกล้าแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วยืนประคองอัญชลีอยู่. มหาชนเห็นดังนั้นมีความประหลาดอัศจรรย์ว่า นี้ใครหนอ เทวดาหรือพรหมพากันเข้าแวดล้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้า
  • 7. 7 เพื่อจะทรงทาบุญกรรมที่เทพบุตรนั้นกระทาไว้ให้ปรากฏ ได้ตรัสไต่ถามเทพบุตรนั้นว่า พระอาทิตย์ในท้องฟ้ าก็ไม่สว่าง พระจันทร์ก็ไม่สว่าง ดาวฤกษ์ผุสสะก็ไม่สว่างเหมือนวิมานนี้ มีรัศมีสว่างมาก ไม่มีที่เปรียบ ท่านเป็นใคร จากดาวดึงส์มาสู่แผ่นดิน รัศมีมีเกิน ๒๐ โยชน์ ตัดรังสีพระอาทิตย์ และทากลางคืนให้เป็ นเหมือนกลางวัน. วิมานของท่านงามบริสุทธิ์ผุดผ่อง มีดอกปทุมมาก มีดอกบุณฑริกงาม เกลื่อนกลาดไปด้วยดอกไม้ทั้งหลายงามไม่น้อย คลุมด้วยข่ายทองที่ปราศจากละอองธุลี สว่างอยู่ในอากาศ เหมือนดวงอาทิตย์. วิมานของท่านบริบูรณ์ด้วยเหล่าอัปสรผู้ทรงผ้าแดงและผ้าเหลือง หอมตลบด้วยกฤษณา ประยงค์และจันทน์ มีองค์และผิวพรรณเปล่งปลั่งดังทอง เหมือนท้องฟ้ าเต็มไปด้วยดวงดาวทั้งหลาย ทวยเทพบุตรและเทพธิดาในวิมานนี้มีมาก หลายหลากวรรณะ มีอาภรณ์ประดับด้วยดอกไม้ มีใจดี มีกรองทอง นุ่งห่มด้วยอาภรณ์ที่เป็นทอง โชยกลิ่นหอมลอยไปตามลม นี้เป็ นวิบากแห่งการสารวมอะไร. ท่านเกิดในวิมานนี้ ด้วยผลแห่งกรรมอะไร และท่านได้วิมานนี้โดยวิธีใด ท่านถูกเราถามแล้ว เชิญบอกตามสมควรแก่วิธีนั้นด้วยเถิด. ลาดับนั้น เทพบุตรได้พยากรณ์ด้วยคาถาเหล่านี้ว่า พระศาสดาเสด็จมาพบมาณพในทางนี้ด้วยพระองค์เอง เมื่อทรงอนุเคราะห์ ได้ตรัสสอนแล้ว ฉัตตมาณพฟังธรรมของพระองค์ผู้เป็ นรัตนะอันประเสริฐ ได้กราบทูลว่า ข้าพระองค์จักกระทาตามพระองค์ตรัสสอนว่า เธอจงเข้าถึงพระชินวรผู้ประเสริฐ ทั้งพระธรรมและภิกษุสงฆ์ เป็นสรณะ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว พระองค์ตรัสสอนว่า จงอย่าฆ่าสัตว์ อย่าประพฤติกรรมไม่สะอาดต่างๆ ผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญความไม่สารวมในสัตว์ทั้งหลายเลย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์ อย่างนั้นทีเดียว. พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าเป็นผู้มีความสาคัญของที่เจ้าของมิได้ให้ แม้ที่ชนอื่นรักษาไว้ ว่าเป็นของควรถือเอา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าได้ล่วงเกินภริยาของคนอื่นที่คนอื่นรักษา
  • 8. 8 นั่นเป็ นสิ่งไม่ประเสริฐ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว พระองค์ตรัสสอนว่า อย่าได้กล่าวเรื่องจริงเป็ นเท็จ ผู้มีปัญญาทั้งหลายไม่สรรเสริญมุสาวาทเลย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่าไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์อย่างนั้นทีเดียว พระองค์ตรัสสอนว่า จงงดเว้นน้าเมา ซึ่งเป็ นเครื่องให้คนปราศจากสัญญานั้นทั้งหมด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทีแรกข้าพระองค์ได้กล่าวว่า ไม่รู้ แต่ภายหลังได้กระทาตามพระดารัสของพระองค์ อย่างนั้นทีเดียว ข้าพระองค์นั้นถือสิกขาบท ๕ ในศาสนานี้ ปฏิบัติในธรรมของพระตถาคต ได้ไปยังทางสองแพร่ง ท่ามกลางพวกโจร พวกโจรเหล่านั้นฆ่าข้าพระองค์ที่ทางนั้น เพราะโภคะเป็นเหตุ ข้าพระองค์ระลึกถึงกุศลนี้เพียงเท่านี้ กุศลอื่นนอกจากนั้นของข้าพระองค์ไม่มี ด้วยกรรมอันสุจริตนั้น ข้าพระองค์จึงเกิดในหมู่เทวดาชาวไตรทิพย์ พรั่งพร้อมด้วยสิ่งที่น่าปรารถนา. ขอพระองค์โปรดดูวิบากแห่งการสารวมชั่วขณะครู่หนึ่ง ด้วยการปฏิบัติธรรมตามสมควร ซึ่งเหมือนรุ่งเรืองอยู่ด้วยยศ คนเป็นอันมากผู้มีกรรมต่าทรามเพ่งดูข้าพระองค์ ก็นึกกระหยิ่ม โปรดดูเถิด ข้าพระองค์ถึงสุคติและถึงความสุข ด้วยเทศนาเล็กน้อย ก็เหล่าสัตว์ผู้ที่ฟังธรรมของพระองค์ติดต่อกันเหล่านั้น เห็นทีจะสัมผัสพระนิพพานอันเป็ นแดนเกษมเป็นแน่ กรรมที่ทาแม้น้อยก็มีวิบากใหญ่ไพบูลย์ เพราะธรรมของพระตถาคตแท้ๆ โปรดดูเถิด เพราะเป็นผู้ได้ทาบุญไว้ ฉัตตมาณพจึงเปล่งรัศมีสว่างตลอดแผ่นปฐพี เหมือนดังดวงอาทิตย์. คนพวกหนึ่งประชุมปรึกษากันว่า กุศลนี้เป็ นอย่างไร พวกเราจะประพฤติกุศลอะไร พวกเรานั้นได้ความเป็นมนุษย์แล้ว พึงปฏิบัติมนุษยธรรม มีศีลกันอยู่อีกทีเดียว พระศาสดาทรงมีอุปการะมาก ทรงอนุเคราะห์อย่างนี้ เมื่อข้าพระองค์ถูกโจรฆ่าชิงทรัพย์ ยังกลางวันแสกๆ อยู่เลย ข้าพระองค์นั้นเป็ นผู้เข้าถึงพระผู้มีพระนามอันเป็นสัจจะ ขอพระองค์โปรดอนุเคราะห์เถิด พวกข้าพระองค์ทั้งหลายขอฟังธรรมอีก ชนเหล่าใดในศาสนานี้ละกามราคะ อนุสัยคือภวราคะและโมหะ ละได้ขาด ชนเหล่านั้นย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์ คือเกิดอีก เพราะถึงปรินิพพานดับทุกข์ เย็นสนิทแล้ว.
  • 9. 9 เทพบุตรตั้งอยู่ในความเป็ นผู้กตัญญู เมื่อแสดงความไม่อิ่มด้วยดี ด้วยการเข้าไปใกล้ และด้วยการฟังธรรม จึงกล่าวคานั้นทั้งหมดด้วยประการฉะนี้. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูอัธยาศัยของเทพบุตร และบริษัทที่ประชุมกันในที่นั้นแล้วทรงแสดงอนุปุพพิกถา ทรงทราบว่าชนเหล่านั้นมีจิตสงบ จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่ทรงยกขึ้นแสดงเอง (อริยสัจ) จบเทศนา เทพบุตรและบิดามารดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลและมหาชนหมู่ใหญ่ได้ตรัสรู้ธรรม. เทพบุตรตั้งอยู่ในปฐมผล เมื่อประกาศความเคารพหนักของตนในมรรคชั้นสูง และความที่การบรรลุมรรคนั้นมีอานิสงส์มาก เนื้อความของคาถานั้นว่า ชนเหล่าใดดารงอยู่ในศาสนานี้ ย่อมละ คือย่อมถอนกามราคะได้ขาดไม่เหลือเลย ชนเหล่านั้นย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์อีก เพราะถอนโอรัมภาคิยสังโยชน์ [สังโยชน์เบื้องต่าได้แล้ว]. อนึ่ง ชนเหล่าใดละโมหะ คือเพิกถอนโดยประการทั้งปวง ชื่อว่าละภวราคานุสัยได้ด้วย จึงไม่มีคาที่จะต้องกล่าวว่า ชนเหล่านั้นย่อมต้องนอนในครรภ์อีก ดังนี้ เพราะเหตุไร. เพราะถึงปรินิพพานดับทุกข์ เป็นผู้เย็นสนิทแล้ว. จริงอยู่ ชนเหล่านั้นเป็นอุดมบุรุษถึงปรินิพพานดับทุกข์ ด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ดังนั้นจึงเป็นผู้เย็นสนิทแล้ว เพราะความเร่าร้อนทุกอย่างที่สัตว์ทั้งปวงเสวยสิ้นสุดไปในปรินิพพานนั้นนั่นเอง. เทพบุตรเมื่อประกาศความที่ตนถึงกระแสอริยะแล้ว จับเอายอดเทศนาด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า กระทาประทักษิณแล้วแสดงความนับถือแก่ภิกษุสงฆ์ ลาบิดามารดาแล้วกลับเทวโลกอย่างเดิม. แม้พระศาสดาทรงลุกจากพุทธอาสน์แล้วเสด็จไปพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ บิดามารดาของมาณพ โปกขรสาติพราหมณ์ และมหาชนทั้งหมด ส่งเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วพากันกลับ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จไปพระวิหารเชตวัน ตรัสวิมานนี้โดยพิสดารแก่บริษัทที่ประชุมกัน เทศนานั้นได้เป็ นประโยชน์แก่มหาชนแล. จบอรรถกถาฉัตตมาณวกวิมาน -----------------------------------------------------
  • 10. 10