SlideShare a Scribd company logo
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
เรื่อง เลขยกกำลัง 
ควำมหมำยของเลขยกกำลัง 
นายเจริญ พลเพชร 
ครูชำนำญกำร 
โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 
เล่มที่ 1 1
คานา 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 
(ค21101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียน 
การสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เพื่อทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น ในการสร้างแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 
เรื่อง เลขยกกาลัง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะ 3 ชุด ได้แก่ 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 เรื่อง การดาเนินการของเลขยกกาลัง 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 3 เรื่อง การนาไปใช้ 
ซึ่งแต่ละชุดประกอบด้วย คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะ คาแนะนาในการใช้แบบฝึก ทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน สาระ การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อน เรียน ตัวอย่าง แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลังเรียน เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ และเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
หวังว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์แก่นักเรียน ครูผู้สอน คณิตศาสตร์และผู้ที่สนใจตามสมควร 
เจริญ พลเพชร 
ก
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
คานา ก 
สารบัญ ข 
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1 
คาชี้แจงสาหรับครู 2 
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 3 
สาระการเรียนรู้ 4 
มาตรฐาน 5 
ตัวชี้วัด 6 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 7 
1. ความหมายของเลขยกกาลัง 
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 8 
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 9 
แบบฝึกทักษะที่ 1.3 10 
แบบฝึกทักษะที่ 1.4 11 
แบบฝึกทักษะที่ 1.5 12 
แบบฝึกทักษะที่ 1.6 13 
แบบฝึกทักษะที่ 1.7 14 
บรรณานุกรม 15 
ภาคผนวก 16 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.1 17 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2 18 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3 19 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4 20 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.5 21 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.6 22 
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.7 23 
ข
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 
1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีทั้งหมด 3 เล่ม ดังนี้ 
1.1 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
1.2 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 2 เรื่อง การดาเนินการของเลขยกกาลัง 
1.3 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 3 เรื่อง การนาไปใช้ 
2. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 - 3 
3. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละเล่ม มีส่วนประกอบดังนี้ 
3.1 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู 
3.2 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน 
3.3 ผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ 
3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน 
3.5 ใบความรู้ 
3.6 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 
3.7 แบบทดสอบหลังเรียน 
3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
3.9 เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 
3.10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ ใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 
1. ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจชัดเจนก่อนนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน 
การสอน 
2. ชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ให้นักเรียนเข้าใจ 3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนศึกษาใบความรู้ และทาแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ 
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ควบคู่กับ แผนการจัด 
การเรียนรู้ที่ 1 - 3 
5. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนและให้คาแนะนาเมื่อนักเรียน พบปัญหา 
6. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและให้การเสริมแรงในการปฏิบัติกิจกรรม 
หรือทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ของนักเรียน 
7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หลังจบกิจกรรมการเรียนรู้จากแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ 
เล่มที่ 1 
8. บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ เป็นแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ที่ใช้ประกอบการ 
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 
1. อ่านคาชี้แจงในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจ 
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนในเล่ม 
3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ และตัวอย่างที่ครูนาเสนอไว้ในแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่องให้เข้าใจ เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยให้ถามครู 
4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่อง ด้วยความตั้งใจจนครบ ทุกข้อ 
5. นักเรียนสามารถตรวจคาตอบได้จากเฉลยต่อท้ายแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่อง 
6. นักเรียนควรมีวินัยในการทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยการไม่เปิดดูเฉลยก่อน 
7. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ครบทุกเรื่อง ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ หลังเรียนในเล่ม 
8. เมื่อนักเรียนทาแบบทดสอบในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เสร็จแล้วส่งให้ ครูตรวจ เพื่อบันทึกคะแนนอีกครั้ง
สาระการเรียนรู้ 
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ 
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้ 
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน และการใช้จานวนในชีวิตจริง 
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวน และความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด 
1. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มและเขียนแสดงจานวน ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (scientific notation) (ค 1.1) 
2. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลังของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม (ค 1.2) 
3. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม (ค 1.2) 
4. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา (ค 1.1) 5. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 7. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน 8. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 9. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
ความหมายของเลขยกกาลัง 
นักเรียนสามารถ 1.1 บอกความหมายของเลขยกกาลังได้ 1.2 เขียนจานวนที่กาหนดให้อยู่ในรูปเลขยกกาลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกได้ 1.3 เขียนจานวนแทนเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น จานวนเต็มบวกที่กาหนดให้ได้
ใบความรู้ที่ 1 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
บทนิยม ถ้า a เป็นจา นวนใด ๆ และ n เป็นจา นวนเต็มบวก “a ยกกา ลัง n หรือ a กา ลัง n 
a a a a a ... a n       
n ตัว 
เรียก an ว่าเลขยกกา ลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กา ลัง 
สัญลักษณ์ 5 
3 อ่านว่า ห้ายกกา ลังสาม 
6 
5 อ่านว่า หกยกกา ลังห้า 
( 3) 
4 
 อ่านว่า ลบสามยกกา ลังสี่ 
7 
2 
 อ่านว่า ลบของเจ็ดยกกา ลังสอง หรือลบยกกา ลังสองของเจ็ด 
3 
4 
1 
  
 
 
  
 
 อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดยกกา ลังสาม 
0.15 
2 อ่านว่า ศูนย์จุดหนึ่งห้าทั้งหมดยกกา ลังสอง 
เมื่อมีจา นวนที่เหมือนกันคูณกันหลาย ๆ ครั้ง สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ได้ 
ดังนี้ 
- 3  3  3  3  3 เขียนแทนด้วย 3 
5 
- (-2)  (-2)  (-2)  (-2) เขียนแทนด้วย ( 2) 
4 
 
- (0.2)  (0.2)  (0.2) เขียนแทนด้วย (0.2) 
3 
ฐานและเลขชี้กาลังของเลขยกกาลัง 
เลขยกกา ลัง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นเลขฐาน และส่วนที่เป็นเลขชี้กา ลัง 
สัญลักษณ์ 2 
5 มี 2 เป็นฐาน มี 5 เป็นเลขชี้กา ลัง 
( 2) 
4 
 มี -2 เป็นฐาน มี 4 เป็นเลขชี้กา ลัง 
2 
3 
1 
  
 
 
  
 
 มี 
3 
1 เป็นฐาน มี 2 เป็นเลขชี้กา ลัง 
)4 
(0.5 มี 0.5 เป็นฐาน มี 4 เป็นเลขชี้กา ลัง
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง ให้เขียนคา อ่านจากเลขยกกา ลังที่กา หนดให้ 
ตัวอย่าง 5 
3 อ่านว่า สามยกกา ลังห้า หรือ ยกกา ลังห้าของสาม 
เรียก 3 ว่า ฐาน 
เรียก 5 ว่า เลขชี้กา ลัง 
1. 3 
5 อ่านว่า …………………………………………. 
เรียก ........ ว่า ฐาน 
เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 
2. 2 
(8) อ่านว่า …………………………………………. 
เรียก ........ ว่า ฐาน 
เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 
3. 
5 
3 
2 
 
 
 
 อ่านว่า …………………………………………... 
เรียก ........ ว่า ฐาน 
เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 
4. 4 
(2.5) อ่านว่า …………………………………………... 
เรียก ........ ว่า ฐาน 
เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 
5. 7 
 7 อ่านว่า …………………………………………... 
เรียก ........ ว่า ฐาน 
เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ 
1. ให้นักเรียนเติมคา ตอบลงในช่องว่าง 
ข้อที่ 
เลขยก 
กา ลัง 
อ่านว่า ฐาน 
เลขชี้ 
กา ลัง 
รูปการคูณ 
ตัวอย่าง 2 
4 
สี่ยกกา ลังสอง หรือ 
ยกกา ลังสองของสี่ 
4 2 4  4 
1 4 
5 
2 5 
(0.6) 
3 
3 
5 
3 
 
 
 
 
4  3 
 9 
5 2 
(0.5)
แบบฝึกทักษะที่ 1.3 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลัง 
ตัวอย่าง 
3  3  3 = 3 3 
5  5  5  5 = 4 5 
1. 2  2  2  2  2  2 = ………………………… 
2. 1.3  1.3  1.3  1.3 = ………………………… 
3. (-7)  (-7)  (-7)  (-7)  (-7) = ………………………… 
4. 
3 
1 
3 
1 
3 
1 
3 
1 
   = ………………………… 
5. (xy)  (xy)  (xy)  (xy)  (xy) = ………………………… 
6. (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3) = ………………………… 
7.  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
 
      
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 = ………………………… 
8. - (9  9  9  9  9) = ………………………… 
9. (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = ………………………… 
10. (-ab)  (-ab)  (-ab)  (-ab) = ……..……………………
แบบฝึกทักษะที่ 1.4 
เรื่อง การหาค่าของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขียนจา นวนแทนเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็น 
จา นวนเต็มบวกที่กา หนดได้ 
คาชี้แจง จงหาค่าของเลขยกกา ลังต่อไปนี้ 
ตัวอย่าง 
3 
3 = 3  3  3 = 27 
1. 2 
2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
2. 3 
2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
3. 4 
2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
4. 10 
1 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
5. 7 
(1) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
6. 3 
8 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
7. 3 
(5) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
8. 4 
4 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
9. 4 
(4) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
10. 6 
10 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
11. 3 
(1.2) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
12. 
3 
3 
1 
 
 
 
 = ………………………………………………….. = ………………………….. 
13. 2 
(4a) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
14. 3 
(0.3) = ………………………………………………….. = ………………………….. 
15. 
3 
3 
2 
 
 
 
 
 = ………………………………………………….. = …………………………..
แบบฝึกทักษะที่ 1.5 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็นจา นวนเต็มบวก 
ตัวอย่าง 512 = 9 2 
1. 10,000 = ………………………………………. 
2. 625 = ………………………………………. 
3. 81 = ………………………………………. 
4. -125 = ………………………………………. 
5. -100,000 = ………………………………………. 
6. -0.027 = ………………………………………. 
7. 0.64 = ………………………………………. 
8. (-32) = ………………………………………. 
9. -243 = ………………………………………. 
10. 
16 
81 = ………………………………………. 
11. 
25 
1 = ………………………………………. 
12.  
 
 
 
 
36 
25 = ………………………………………. 
13. 0.343 = ………………………………………. 
14. -1.44 = ………………………………………. 
15. 0.0016 = ……………………………………….
แบบฝึกทักษะที่ 1.6 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีฐานเป็นจา นวนเฉพาะ 
ตัวอย่าง 
243  3 3 3 3 3 5 
 3 
1. 625 = ...................................................................................................... 
2. 729 = ...................................................................................................... 
3. 24  32 = ...................................................................................................... 
4. 92  81 = ....................................................................................................... 
5. 72  256 = ...................................................................................................... 
6. 27  92 = ....................................................................................................... 
7. 125  25 = ...................................................................................................... 
8. 1,024 = ...................................................................................................... 
9. 112121 = ...................................................................................................... 
10. 256  2,048 = ...................................................................................................... 
.......................................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ 1.7 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังตามฐานที่ระบุไว้ 
ตัวอย่าง 1,000,000 (ฐาน 100) 100100100 3  10 
1. 81 (ฐาน 9) = ........................................................................................................ 
2. 81 (ฐาน 3) = ....................................................................................................... 
3. 125 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 
4. 64 (ฐาน 4) = ....................................................................................................... 
5. 216 (ฐาน 6) = ....................................................................................................... 
6. 256 (ฐาน 2) = ....................................................................................................... 
7. 625 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 
8. 4,096 (ฐาน 8) = ....................................................................................................... 
9. 3,125 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 
10. 243 (ฐาน 3) = ....................................................................................................... 
11. 729 (ฐาน 9) = ....................................................................................................... 
12. 1,296 (ฐาน 6) = ....................................................................................................... 
13. 2,401 (ฐาน 7) = ....................................................................................................... 
14. 
27 
1 (ฐาน 
3 
1 ) = ....................................................................................................... 
15. 
81 
16 (ฐาน 
3 
2 ) = .......................................................................................................
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.1 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง ให้เขียนคา อ่านจากเลขยกกา ลังที่กา หนดให้ 
1. 3 5 อ่านว่า ห้ายกกา ลังสาม หรือ ยกกา ลังสามของห้า 
เรียก 5 ว่า ฐาน 
เรียก 3 ว่า เลขชี้กา ลัง 
2. 2 (8) อ่านว่า ลบแปดยกกา ลังสอง หรือ ยกกา ลังสองของลบแปด 
เรียก (-8) ว่า ฐาน 
เรียก 2 ว่า เลขชี้กา ลัง 
3. 
5 
3 
2 
 
 
 
 อ่านว่า เศษสองส่วนสามยกกา ลังห้า หรือ 
ยกกา ลังห้าของเศษสองส่วนสาม 
เรียก  
 
  
3 
2 ว่า ฐาน 
เรียก 5 ว่า เลขชี้กา ลัง 
4. 4 (2.5) อ่านว่า สองจุดห้ายกกา ลังสี่ หรือ ยกกา ลังสี่ของสองจุดห้า 
เรียก 2.5 ว่า ฐาน 
เรียก 4 ว่า เลขชี้กา ลัง 
5. 7  7 อ่านว่า ลบเจ็ดยกกา ลังเจ็ด หรือ ยกกา ลังเจ็ดของลบเจ็ด 
เรียก -7 ว่า ฐาน 
เรียก 7 ว่า เลขชี้กา ลัง
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ 
1. ให้นักเรียนเติมคา ตอบลงในช่องว่าง 
ข้อที่ 
เลขยก 
กา ลัง 
อ่านว่า ฐาน 
เลขชี้ 
กา ลัง 
รูปการคูณ 
1 4 
5 
ห้ายกกา ลังสี่ หรือ 
ยกกา ลังสี่ของห้า 
5 4 5  5  5  5 
2 5 
(0.6) 
ศูนย์จุดหกยกกา ลังห้า 
หรือยกกา ลังห้าของ 
ศูนย์จุดหก 
0.6 5 
(0.6)  (0.6)  (0.6)  (0.6)  
(0.6) 
3 
3 
5 
3 
 
 
 
 
เศษสามส่วนห้ายก 
กา ลังสาม หรือ ยก 
กา ลังสามของเศษสาม 
ส่วนห้า 
 
 
 
 
5 
3 3  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
5 
3 
5 
3 
5 
3 
4  3 
 9 
ลบเก้ายกกา ลังสาม 
หรือ ยกกา ลังสามของ 
ลบเก้า 
(-9) 3 (-9)  (-9)  (-9) 
5 2 
(0.5) 
ลบศูนย์จุดห้ายกกา ลัง 
สอง หรือ ยกกา ลัง 
สองของศูนย์จุดห้า 
(-0.5) 2 (-0.5)  (-0.5)
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3 
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ 
คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลัง 
1. 2  2  2  2  2  2 = 6 2 
2. 1.3  1.3  1.3  1.3 = 4 1.3 
3. (-7)  (-7)  (-7)  (-7)  (-7) = 5 (7) 
4. 
3 
1 
3 
1 
3 
1 
3 
1 
   = 4 
3 
1 
 
 
 
 
5. (xy)  (xy)  (xy)  (xy)  (xy) = 5 (xy) 
6. (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3) = 6 0.3 
7.  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
      
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 
7 
2 = 7 
7 
2 
 
 
 
 
8. - (9  9  9  9  9) = 5  (9) 
9. (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = 6 (4) 
10. (-ab)  (-ab)  (-ab)  (-ab) = 4 (ab)
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4 
เรื่อง การหาค่าของเลขยกกาลัง 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขียนจา นวนแทนเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็น 
จา นวนเต็มบวกที่กา หนดได้ 
คาชี้แจง จงหาค่าของเลขยกกา ลังต่อไปนี้ 
1. 2 
2 = 2  2 = 4 
2. 3 
2 = 2  2  2 = 8 
3. 4 
2 = 2  2  2  2 = 16 
4. 10 
1 = 1  1  1  1  1  1  1  1  1  1 = 1 
5. 7 
(1) = (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1) = (-1) 
6. 3 
8 = 8  8  8 = 512 
7. 3 
(5) = (-5)  (-5)  (-5) = (-125) 
8. 4 
4 = 4  4  4  4 = 256 
9. 4 
(4) = (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = 256 
10. 6 
10 = 10  10  10  10  10  10 = 1,000,000 
11. 3 
(1.2) = (1.2)  (1.2)  (1.2) = 1.728 
12. 
3 
3 
1 
 
 
 
 =  
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
  
3 
1 
3 
1 
3 
1 =  
 
 
 
27 
1 
13. 2 
(4a) = (4a)  (4a) = 2 
16a 
14. 3 
(0.3) = (0.3)  (0.3)  (0.3) = (0.027) 
15. 
3 
3 
2 
 
 
 
 
 =  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
3 
2 
3 
2 
3 
2 =  
 
 
 
 
27 
8
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.5 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็นจา นวนเต็มบวก 
1. 10,000 = 4 10 
2. 625 = 4 5 
3. 81 = 4 3 
4. -125 = 3  5 
5. -100,000 = 5 10 
6. -0.027 = 3  0.3 
7. 0.64 = 2 0.8 
8. (-32) = 5 (2) 
9. -243 = 3 (7) 
10. 
16 
81 = 
4 
2 
3 
 
 
 
 
11. 
25 
1 = 
2 
5 
1 
 
 
 
 
12.  
 
 
 
 
36 
25 = 
2 
6 
5 
 
 
 
 
13. 0.343 = 3 
0.7 
14. -1.44 = 2 
1.2 
15. 0.0016 = 4 
0.2
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.6 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีฐานเป็นจา นวนเฉพาะ 
1. 625  5555 4  5 
2. 729  333333 6  3 
3. 24  32  (2 2 2 2)(2 2 2 2 2) 9  2 
4. 92  81  (99)(99)  (3333)(3333) 8  3 
5. 72  256  (77)(2 2 2 2 2 2 2 2) 2 8  7  2 
6. 27  92  (333)(99)  (333)(3333) 7  3 
7. 125  25  (555)(55) 5  5 
8. 1,024  (2 2 2 2 2 2 2 2 2 2) 10  2 
9. 112121  (1111)(1111) 4  11 
10. 256  2,048  (2 2 2 2 2 2 2 2)(2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2) 
19  2
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.7 
เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง 
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง 
เป็นจา นวนเต็มบวกได้ 
คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังตามฐานที่ระบุไว้ 
1. 81 (ฐาน 9)  99 2  9 
2. 81 (ฐาน 3)  3333 4  3 
3. 125 (ฐาน 5)  555 3  5 
4. 64 (ฐาน 4)  16 4  4 4 4 3  4 
5. 216 (ฐาน 6)  36 6  66 6 3  6 
6. 256 (ฐาน 2)  2 22 22 2 2 2 6  2 
7. 625 (ฐาน 5)  5555 4  5 
8. 4,096 (ฐาน 8)  8888 4  8 
9. 3,125 (ฐาน 5)  55555 5  5 
10. 243 (ฐาน 3)  33333 5  3 
11. 729 (ฐาน 9)  819  999 3  9 
12. 1,296 (ฐาน 6)  6666 4  6 
13. 2,401 (ฐาน 7)  7777 4  7 
14. 
27 
1 (ฐาน 
3 
1 ) 
3 
1 
3 
1 
3 
1 
   
3 
3 
1 
 
 
 
 
 
15. 
81 
16 (ฐาน 
3 
2 ) 
3 
2 
3 
2 
3 
2 
3 
2 
    
4 
3 
2 
 
 
 
 


More Related Content

What's hot

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
sawed kodnara
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
kanjana2536
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
KruPa Jggdd
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
ssuser639c13
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
warijung2012
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
ssuser29b0ec
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
Aon Narinchoti
 

What's hot (20)

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 

Viewers also liked

สมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุงสมุนไพรแก้คันกันยุง
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลากาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลาSmile Petsuk
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
peter dontoom
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟNAMFON Supattra
 
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
พัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
พิชญาพัช บัวทอง
 

Viewers also liked (20)

สมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุงสมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุง
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุงประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
 
5.2 google appsforedu activities
5.2 google appsforedu activities5.2 google appsforedu activities
5.2 google appsforedu activities
 
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลากาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
กาพย์เห่เรือ เห่ชมปลา
 
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทยกรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docxบทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียน
 
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทยใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
ใบความรู้เรื่องสำนวนไทย
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟ
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 

Similar to นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
Suphot Chaichana
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
Suphot Chaichana
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
waranyuati
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
คน ผ่านทาง
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
คน ผ่านทาง
 

Similar to นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 

Recently uploaded (6)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 

นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1

  • 1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง ควำมหมำยของเลขยกกำลัง นายเจริญ พลเพชร ครูชำนำญกำร โรงเรียนประชาบารุง อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 เล่มที่ 1 1
  • 2. คานา แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียน การสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เพื่อทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น ในการสร้างแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะ 3 ชุด ได้แก่ แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 เรื่อง การดาเนินการของเลขยกกาลัง แบบฝึกทักษะชุดที่ 3 เรื่อง การนาไปใช้ ซึ่งแต่ละชุดประกอบด้วย คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะ คาแนะนาในการใช้แบบฝึก ทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน สาระ การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อน เรียน ตัวอย่าง แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลังเรียน เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ และเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หวังว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์แก่นักเรียน ครูผู้สอน คณิตศาสตร์และผู้ที่สนใจตามสมควร เจริญ พลเพชร ก
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1 คาชี้แจงสาหรับครู 2 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 3 สาระการเรียนรู้ 4 มาตรฐาน 5 ตัวชี้วัด 6 จุดประสงค์การเรียนรู้ 7 1. ความหมายของเลขยกกาลัง แบบฝึกทักษะที่ 1.1 8 แบบฝึกทักษะที่ 1.2 9 แบบฝึกทักษะที่ 1.3 10 แบบฝึกทักษะที่ 1.4 11 แบบฝึกทักษะที่ 1.5 12 แบบฝึกทักษะที่ 1.6 13 แบบฝึกทักษะที่ 1.7 14 บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.1 17 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2 18 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3 19 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4 20 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.5 21 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.6 22 เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.7 23 ข
  • 4. คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีทั้งหมด 3 เล่ม ดังนี้ 1.1 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 1.2 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 2 เรื่อง การดาเนินการของเลขยกกาลัง 1.3 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 3 เรื่อง การนาไปใช้ 2. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 - 3 3. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละเล่ม มีส่วนประกอบดังนี้ 3.1 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู 3.2 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน 3.3 ผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.4 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.5 ใบความรู้ 3.6 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 3.7 แบบทดสอบหลังเรียน 3.8 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 3.9 เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 3.10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 5. คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับครู แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ ใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจชัดเจนก่อนนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 2. ชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ให้นักเรียนเข้าใจ 3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนศึกษาใบความรู้ และทาแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ควบคู่กับ แผนการจัด การเรียนรู้ที่ 1 - 3 5. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนและให้คาแนะนาเมื่อนักเรียน พบปัญหา 6. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและให้การเสริมแรงในการปฏิบัติกิจกรรม หรือทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ของนักเรียน 7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หลังจบกิจกรรมการเรียนรู้จากแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 8. บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
  • 6. คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียน แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ เป็นแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ที่ใช้ประกอบการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1. อ่านคาชี้แจงในการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจ 2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนในเล่ม 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ และตัวอย่างที่ครูนาเสนอไว้ในแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่องให้เข้าใจ เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยให้ถามครู 4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่อง ด้วยความตั้งใจจนครบ ทุกข้อ 5. นักเรียนสามารถตรวจคาตอบได้จากเฉลยต่อท้ายแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ในแต่ละเรื่อง 6. นักเรียนควรมีวินัยในการทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยการไม่เปิดดูเฉลยก่อน 7. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ครบทุกเรื่อง ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ หลังเรียนในเล่ม 8. เมื่อนักเรียนทาแบบทดสอบในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เสร็จแล้วส่งให้ ครูตรวจ เพื่อบันทึกคะแนนอีกครั้ง
  • 7. สาระการเรียนรู้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
  • 8. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน และการใช้จานวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวน และความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
  • 9. ตัวชี้วัด 1. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มและเขียนแสดงจานวน ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (scientific notation) (ค 1.1) 2. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลังของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม (ค 1.2) 3. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม (ค 1.2) 4. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา (ค 1.1) 5. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 7. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน 8. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 9. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 10. จุดประสงค์การเรียนรู้ ความหมายของเลขยกกาลัง นักเรียนสามารถ 1.1 บอกความหมายของเลขยกกาลังได้ 1.2 เขียนจานวนที่กาหนดให้อยู่ในรูปเลขยกกาลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกได้ 1.3 เขียนจานวนแทนเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็น จานวนเต็มบวกที่กาหนดให้ได้
  • 11. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง บทนิยม ถ้า a เป็นจา นวนใด ๆ และ n เป็นจา นวนเต็มบวก “a ยกกา ลัง n หรือ a กา ลัง n a a a a a ... a n       n ตัว เรียก an ว่าเลขยกกา ลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กา ลัง สัญลักษณ์ 5 3 อ่านว่า ห้ายกกา ลังสาม 6 5 อ่านว่า หกยกกา ลังห้า ( 3) 4  อ่านว่า ลบสามยกกา ลังสี่ 7 2  อ่านว่า ลบของเจ็ดยกกา ลังสอง หรือลบยกกา ลังสองของเจ็ด 3 4 1         อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดยกกา ลังสาม 0.15 2 อ่านว่า ศูนย์จุดหนึ่งห้าทั้งหมดยกกา ลังสอง เมื่อมีจา นวนที่เหมือนกันคูณกันหลาย ๆ ครั้ง สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ได้ ดังนี้ - 3  3  3  3  3 เขียนแทนด้วย 3 5 - (-2)  (-2)  (-2)  (-2) เขียนแทนด้วย ( 2) 4  - (0.2)  (0.2)  (0.2) เขียนแทนด้วย (0.2) 3 ฐานและเลขชี้กาลังของเลขยกกาลัง เลขยกกา ลัง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นเลขฐาน และส่วนที่เป็นเลขชี้กา ลัง สัญลักษณ์ 2 5 มี 2 เป็นฐาน มี 5 เป็นเลขชี้กา ลัง ( 2) 4  มี -2 เป็นฐาน มี 4 เป็นเลขชี้กา ลัง 2 3 1         มี 3 1 เป็นฐาน มี 2 เป็นเลขชี้กา ลัง )4 (0.5 มี 0.5 เป็นฐาน มี 4 เป็นเลขชี้กา ลัง
  • 12. แบบฝึกทักษะที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง ให้เขียนคา อ่านจากเลขยกกา ลังที่กา หนดให้ ตัวอย่าง 5 3 อ่านว่า สามยกกา ลังห้า หรือ ยกกา ลังห้าของสาม เรียก 3 ว่า ฐาน เรียก 5 ว่า เลขชี้กา ลัง 1. 3 5 อ่านว่า …………………………………………. เรียก ........ ว่า ฐาน เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 2. 2 (8) อ่านว่า …………………………………………. เรียก ........ ว่า ฐาน เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 3. 5 3 2     อ่านว่า …………………………………………... เรียก ........ ว่า ฐาน เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 4. 4 (2.5) อ่านว่า …………………………………………... เรียก ........ ว่า ฐาน เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง 5. 7  7 อ่านว่า …………………………………………... เรียก ........ ว่า ฐาน เรียก ........ ว่า เลขชี้กา ลัง
  • 13. แบบฝึกทักษะที่ 1.2 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนเติมคา ตอบลงในช่องว่าง ข้อที่ เลขยก กา ลัง อ่านว่า ฐาน เลขชี้ กา ลัง รูปการคูณ ตัวอย่าง 2 4 สี่ยกกา ลังสอง หรือ ยกกา ลังสองของสี่ 4 2 4  4 1 4 5 2 5 (0.6) 3 3 5 3     4  3  9 5 2 (0.5)
  • 14. แบบฝึกทักษะที่ 1.3 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลัง ตัวอย่าง 3  3  3 = 3 3 5  5  5  5 = 4 5 1. 2  2  2  2  2  2 = ………………………… 2. 1.3  1.3  1.3  1.3 = ………………………… 3. (-7)  (-7)  (-7)  (-7)  (-7) = ………………………… 4. 3 1 3 1 3 1 3 1    = ………………………… 5. (xy)  (xy)  (xy)  (xy)  (xy) = ………………………… 6. (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3) = ………………………… 7.                                   7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 = ………………………… 8. - (9  9  9  9  9) = ………………………… 9. (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = ………………………… 10. (-ab)  (-ab)  (-ab)  (-ab) = ……..……………………
  • 15. แบบฝึกทักษะที่ 1.4 เรื่อง การหาค่าของเลขยกกาลัง จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขียนจา นวนแทนเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็น จา นวนเต็มบวกที่กา หนดได้ คาชี้แจง จงหาค่าของเลขยกกา ลังต่อไปนี้ ตัวอย่าง 3 3 = 3  3  3 = 27 1. 2 2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 2. 3 2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 3. 4 2 = ………………………………………………….. = ………………………….. 4. 10 1 = ………………………………………………….. = ………………………….. 5. 7 (1) = ………………………………………………….. = ………………………….. 6. 3 8 = ………………………………………………….. = ………………………….. 7. 3 (5) = ………………………………………………….. = ………………………….. 8. 4 4 = ………………………………………………….. = ………………………….. 9. 4 (4) = ………………………………………………….. = ………………………….. 10. 6 10 = ………………………………………………….. = ………………………….. 11. 3 (1.2) = ………………………………………………….. = ………………………….. 12. 3 3 1     = ………………………………………………….. = ………………………….. 13. 2 (4a) = ………………………………………………….. = ………………………….. 14. 3 (0.3) = ………………………………………………….. = ………………………….. 15. 3 3 2      = ………………………………………………….. = …………………………..
  • 16. แบบฝึกทักษะที่ 1.5 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็นจา นวนเต็มบวก ตัวอย่าง 512 = 9 2 1. 10,000 = ………………………………………. 2. 625 = ………………………………………. 3. 81 = ………………………………………. 4. -125 = ………………………………………. 5. -100,000 = ………………………………………. 6. -0.027 = ………………………………………. 7. 0.64 = ………………………………………. 8. (-32) = ………………………………………. 9. -243 = ………………………………………. 10. 16 81 = ………………………………………. 11. 25 1 = ………………………………………. 12.      36 25 = ………………………………………. 13. 0.343 = ………………………………………. 14. -1.44 = ………………………………………. 15. 0.0016 = ……………………………………….
  • 17. แบบฝึกทักษะที่ 1.6 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีฐานเป็นจา นวนเฉพาะ ตัวอย่าง 243  3 3 3 3 3 5  3 1. 625 = ...................................................................................................... 2. 729 = ...................................................................................................... 3. 24  32 = ...................................................................................................... 4. 92  81 = ....................................................................................................... 5. 72  256 = ...................................................................................................... 6. 27  92 = ....................................................................................................... 7. 125  25 = ...................................................................................................... 8. 1,024 = ...................................................................................................... 9. 112121 = ...................................................................................................... 10. 256  2,048 = ...................................................................................................... .......................................................................................................
  • 18. แบบฝึกทักษะที่ 1.7 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังตามฐานที่ระบุไว้ ตัวอย่าง 1,000,000 (ฐาน 100) 100100100 3  10 1. 81 (ฐาน 9) = ........................................................................................................ 2. 81 (ฐาน 3) = ....................................................................................................... 3. 125 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 4. 64 (ฐาน 4) = ....................................................................................................... 5. 216 (ฐาน 6) = ....................................................................................................... 6. 256 (ฐาน 2) = ....................................................................................................... 7. 625 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 8. 4,096 (ฐาน 8) = ....................................................................................................... 9. 3,125 (ฐาน 5) = ....................................................................................................... 10. 243 (ฐาน 3) = ....................................................................................................... 11. 729 (ฐาน 9) = ....................................................................................................... 12. 1,296 (ฐาน 6) = ....................................................................................................... 13. 2,401 (ฐาน 7) = ....................................................................................................... 14. 27 1 (ฐาน 3 1 ) = ....................................................................................................... 15. 81 16 (ฐาน 3 2 ) = .......................................................................................................
  • 19. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง ให้เขียนคา อ่านจากเลขยกกา ลังที่กา หนดให้ 1. 3 5 อ่านว่า ห้ายกกา ลังสาม หรือ ยกกา ลังสามของห้า เรียก 5 ว่า ฐาน เรียก 3 ว่า เลขชี้กา ลัง 2. 2 (8) อ่านว่า ลบแปดยกกา ลังสอง หรือ ยกกา ลังสองของลบแปด เรียก (-8) ว่า ฐาน เรียก 2 ว่า เลขชี้กา ลัง 3. 5 3 2     อ่านว่า เศษสองส่วนสามยกกา ลังห้า หรือ ยกกา ลังห้าของเศษสองส่วนสาม เรียก     3 2 ว่า ฐาน เรียก 5 ว่า เลขชี้กา ลัง 4. 4 (2.5) อ่านว่า สองจุดห้ายกกา ลังสี่ หรือ ยกกา ลังสี่ของสองจุดห้า เรียก 2.5 ว่า ฐาน เรียก 4 ว่า เลขชี้กา ลัง 5. 7  7 อ่านว่า ลบเจ็ดยกกา ลังเจ็ด หรือ ยกกา ลังเจ็ดของลบเจ็ด เรียก -7 ว่า ฐาน เรียก 7 ว่า เลขชี้กา ลัง
  • 20. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนเติมคา ตอบลงในช่องว่าง ข้อที่ เลขยก กา ลัง อ่านว่า ฐาน เลขชี้ กา ลัง รูปการคูณ 1 4 5 ห้ายกกา ลังสี่ หรือ ยกกา ลังสี่ของห้า 5 4 5  5  5  5 2 5 (0.6) ศูนย์จุดหกยกกา ลังห้า หรือยกกา ลังห้าของ ศูนย์จุดหก 0.6 5 (0.6)  (0.6)  (0.6)  (0.6)  (0.6) 3 3 5 3     เศษสามส่วนห้ายก กา ลังสาม หรือ ยก กา ลังสามของเศษสาม ส่วนห้า     5 3 3               5 3 5 3 5 3 4  3  9 ลบเก้ายกกา ลังสาม หรือ ยกกา ลังสามของ ลบเก้า (-9) 3 (-9)  (-9)  (-9) 5 2 (0.5) ลบศูนย์จุดห้ายกกา ลัง สอง หรือ ยกกา ลัง สองของศูนย์จุดห้า (-0.5) 2 (-0.5)  (-0.5)
  • 21. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกความหมายของเลขยกกา ลังได้ คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลัง 1. 2  2  2  2  2  2 = 6 2 2. 1.3  1.3  1.3  1.3 = 4 1.3 3. (-7)  (-7)  (-7)  (-7)  (-7) = 5 (7) 4. 3 1 3 1 3 1 3 1    = 4 3 1     5. (xy)  (xy)  (xy)  (xy)  (xy) = 5 (xy) 6. (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3)  (0.3) = 6 0.3 7.                                   7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 7 2 = 7 7 2     8. - (9  9  9  9  9) = 5  (9) 9. (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = 6 (4) 10. (-ab)  (-ab)  (-ab)  (-ab) = 4 (ab)
  • 22. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4 เรื่อง การหาค่าของเลขยกกาลัง จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถเขียนจา นวนแทนเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็น จา นวนเต็มบวกที่กา หนดได้ คาชี้แจง จงหาค่าของเลขยกกา ลังต่อไปนี้ 1. 2 2 = 2  2 = 4 2. 3 2 = 2  2  2 = 8 3. 4 2 = 2  2  2  2 = 16 4. 10 1 = 1  1  1  1  1  1  1  1  1  1 = 1 5. 7 (1) = (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1) = (-1) 6. 3 8 = 8  8  8 = 512 7. 3 (5) = (-5)  (-5)  (-5) = (-125) 8. 4 4 = 4  4  4  4 = 256 9. 4 (4) = (-4)  (-4)  (-4)  (-4) = 256 10. 6 10 = 10  10  10  10  10  10 = 1,000,000 11. 3 (1.2) = (1.2)  (1.2)  (1.2) = 1.728 12. 3 3 1     =               3 1 3 1 3 1 =     27 1 13. 2 (4a) = (4a)  (4a) = 2 16a 14. 3 (0.3) = (0.3)  (0.3)  (0.3) = (0.027) 15. 3 3 2      =                  3 2 3 2 3 2 =      27 8
  • 23. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.5 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คาชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลังเป็นจา นวนเต็มบวก 1. 10,000 = 4 10 2. 625 = 4 5 3. 81 = 4 3 4. -125 = 3  5 5. -100,000 = 5 10 6. -0.027 = 3  0.3 7. 0.64 = 2 0.8 8. (-32) = 5 (2) 9. -243 = 3 (7) 10. 16 81 = 4 2 3     11. 25 1 = 2 5 1     12.      36 25 = 2 6 5     13. 0.343 = 3 0.7 14. -1.44 = 2 1.2 15. 0.0016 = 4 0.2
  • 24. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.6 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีฐานเป็นจา นวนเฉพาะ 1. 625  5555 4  5 2. 729  333333 6  3 3. 24  32  (2 2 2 2)(2 2 2 2 2) 9  2 4. 92  81  (99)(99)  (3333)(3333) 8  3 5. 72  256  (77)(2 2 2 2 2 2 2 2) 2 8  7  2 6. 27  92  (333)(99)  (333)(3333) 7  3 7. 125  25  (555)(55) 5  5 8. 1,024  (2 2 2 2 2 2 2 2 2 2) 10  2 9. 112121  (1111)(1111) 4  11 10. 256  2,048  (2 2 2 2 2 2 2 2)(2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2) 19  2
  • 25. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.7 เรื่อง การเขียนจานวนให้อยู่ในรูปเลขยกกา ลัง ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ เขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังที่มีเลขชี้กา ลัง เป็นจา นวนเต็มบวกได้ คา ชี้แจง จงเขียนจา นวนที่กา หนดให้ในรูปเลขยกกา ลังตามฐานที่ระบุไว้ 1. 81 (ฐาน 9)  99 2  9 2. 81 (ฐาน 3)  3333 4  3 3. 125 (ฐาน 5)  555 3  5 4. 64 (ฐาน 4)  16 4  4 4 4 3  4 5. 216 (ฐาน 6)  36 6  66 6 3  6 6. 256 (ฐาน 2)  2 22 22 2 2 2 6  2 7. 625 (ฐาน 5)  5555 4  5 8. 4,096 (ฐาน 8)  8888 4  8 9. 3,125 (ฐาน 5)  55555 5  5 10. 243 (ฐาน 3)  33333 5  3 11. 729 (ฐาน 9)  819  999 3  9 12. 1,296 (ฐาน 6)  6666 4  6 13. 2,401 (ฐาน 7)  7777 4  7 14. 27 1 (ฐาน 3 1 ) 3 1 3 1 3 1    3 3 1      15. 81 16 (ฐาน 3 2 ) 3 2 3 2 3 2 3 2     4 3 2     