SlideShare a Scribd company logo
ANCIENT CHINESE WOODEN 
ARCHITECTURE
ANCIENT CHINESE WOODEN ARCHITECTURE 
สถาปัตยกรรมจีนเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของอารยธรรมจีนอันรุ่งโรจน์ สถาปัตยกรรมจีน กับสถาปัตยกรรมฝ่ายตะวันตก 
และสถาปัตยกรรมอิสลามเป็นระบบสถาปัตยกรรมอัน สาคัญ 3 ระบบในโลก สถาปัตยกรรมจีนเป็นระบบสถาปัตยกรรม 
แต่หนึ่งเดียวในโลกที่สร้างด้วยไม้เป็นส่วนใหญ่และได้แสดงให้เห็นอย่างลึกซึง้ถึงทรรศนะทางจารียศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ 
ค่านิยม และทรรศนะที่มีต่อธรรมชาติของคนจีน ลักษณะพิเศษของศิลปะการก่อสร้างของจีน รวมถึง มีความโดดเด่นอย่าง 
มากในด้านความคิดอานาจจักรพรรดิเหนือทุกสิ่งทุกอย่าง และความคิดแบ่งระดับชัน้ชนอย่างเข้มงวด การวางแผนผัง 
พระราชวังหลวงและเมืองหลวงมีระดับสูงสุด ให้ความสาคัญต่อความงามส่วนทัง้หมด สิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่เป็น 
แบบลานบ้านที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มีสัดส่วนตรงกัน เคารพธรรมชาติ ให้ความสาคัญต่อความกลมกลืนกับ 
ธรรมชาติและความงามแบบแฝงไว้
จิตรกรรม 
มีวิวัฒนาการมาจากการเขียนตัวอักษรจีนจารึกบนกระดูกเสี่ยงทาย เพราะตัวอักษรจีน 
มีลักษณะเหมือนรูปภาพ งานจิตรกรรมจีนรุ่งเรืองมากในสมัยราชวงศ์ฮนั่ มีการเขียน 
ภาพและสลักบนแผ่นหิน ที่นิยมมากที่สุดคือการเขียนบนผ้าไหม ส่วนภาพวาดเป็นเรื่อง 
เล่าในตาราขงจือ้ พระพุทธศาสนา และภาพธรรมชาติ 
ประติมากรรม 
ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปั้นดินเผามีอายุเก่าแก่ตัง้แต่ก่อนประวัติศาสตร์ ทาจากดินสีแดง 
มีลวดลาย แดง ดา และขาวเป็นลวดลายแดง ดา และขาวเป็นลวดลายเรขาคณิต 
สมัยราชวงศ์ชาง มีการแกะสลักงาช้าง หินอ่อนและหยก ตามความเชื่อและความนิยม 
ของชาวจีน ที่เชื่อว่า หยก ทาให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความสุขความสงบ ความรอบรู้ 
ความกล้าหาญ ภาชนะสาริดเป็นหม้อสามขา 
สมัยราชวงศ์ถัง มีการพัฒนาเครื่องเคลือบดินเผาเป็นเคลือบ 3 สีคือ เหลือง นา้เงิน 
เขียว ส่วนสีเขียวไข่กามีชื่อเสียงมากในสมัยราชวงศ์ซ่ง ส่วนพระพุทธรูปนิยมสร้างใน 
สมัยราชวงศ์ถัง ทัง้งานหล่อสาริดและแกะสลักจากหิน ซงึ่มีสัดส่วนงดงาม เป็นการ 
ผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดียและจีนที่มีลักษณะเป็นมนุษย์มากกว่าเทพเจ้า 
นอกจากนียั้งมีการปั้นรูปพระโพธิสัตว์กวนอิมอีกด้วย
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถัง 
สมัยราชวงศ์ถัง(ค.ศ.618-907)เป็นช่วงที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมในสังคมศักดินาพัฒนาเร็วที่สุด ลักษณะพิเศษของ 
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถังคือมีขนาดใหญ่โต มี ระบบระเบียบ ใช้สีไม่ค่อยมากแต่ลายชัดเจนดี ในเมืองฉางเมืองหลวง 
สมัยราชวงศ์ถัง(เมืองซีอันในปัจจุบัน)และเมืองลวั่หยาง เมืองหลวงทางตะวันออกของราชวงศ์ถังต่างก็เคยสร้างวังหลวง 
อุทยานและที่ทาการเป็นจานวนมาก เมืองฉางอันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโลกในสมัยนัน้ วังค้าหมิงในเมือง ฉางอันใหญ่ 
มาก เขตซากของวังนีก้ว้างกว่ายอดจานวนพืน้ที่วังต้องห้ามสมัยหมิงและชิงในกรุงปักกิ่ง 3 เท่ากวา่ ๆ 
สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยไม้ในสมัยราชวงศ์ถังสวยมาก วิหารประธานในวัดกวางเขต อู่ไถซานมณฑลซานซีก็คือ 
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถังที่เป็นแบบฉบับนอกจากนี้สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหินในสมัยราชวงศ์ถังก็ได้รับ 
การพัฒนาอีกขัน้หนงึ่ เจดีย์ห่านใหญ่ เจดีย์ห่านเล็กในเมืองซีอันและเจดีย์ 
เชียนสุน เมืองต้าหลี่ต่างก็เป็นเจดีย์ที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหิน
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ซ่ง 
สมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ.960-1279) เป็นช่วงที่การเมืองและการทหารของจีนค่อนข้างทรุดโทรม แต่เศรษฐกิจ การผลิตเครื่อง 
ศิลปหัตถกรรมและการค้าค่อนข้างพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียิ่งได้รับการพัฒนาอย่างมาก ลักษณะพิเศษของ 
สถาปัตยกรรมในสมัยราชวง์ซ่งคือ มีขนาดไม่ใหญ่เท่าใดนัก แต่มีรูปร่างสวยมาก 
สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหินในสมัยราชวงศ์ซ่งมีระดับสูงขึน้เรื่อย ๆ ที่ สาคัญคือ เจดีย์และสะพาน เจดีย์ใน 
วัดหลิงอิ่นเมืองหางโจวและสะพานโหย่งทง ในอาเภอเจ้าเซียนมณฑลเหอเป่ย ก็เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อน 
หินที่เป็นแบบฉบับในสมัยราชวงศ์ซ่ง สังคมศักดินาของจีนได้รับการพัฒนาอีกขัน้หนงึ่ คนจีนในสมัย ราชวงศ์ซ่งเริ่มมีความ 
สนใจในการสร้างอุทยานขึน้ อุทยานสมัยซ่งที่มีลักษณะตัวแทนคือ ชังล่างถิงและตู๋เล่อหยวน 
สมัยราชวงศ์ซ่งยังได้ปรากฎวิทยานิพนธ์พิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยี่การก่อสร้างอย่างสมบูรณ์ 
เรื่องเหยิงเจ้าฝ่าสือ้หรือแปลว่า กฎเกณฑ์การก่อสร้าง เป็นสัญลักษณ์ ที่แสดงให้เห็นวา่ 
เทคโนโลยีและการควบคุมดูแลการก่อสร้างของจีนต่างก็ขึน้สู่ระดับใหม่
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์หยวน 
ราชวงศ์หยวนเป็นราชอาณาจักรอันกว้างใหญ่ที่สร้างขึน้โดยผู้ปกครองชาวมองโกล เป็น ช่วงที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ 
จีนพัฒนาช้าที่สุด การก่อสร้างก็ตกอยู่ในภาวะ ทรุดโทรมในขัน้พืน้ฐาน สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่หยาบ ๆ 
เมืองต้าตูเมืองหลวงสมัยราชวงศ์หยวน (ส่วนด้านเหนือของกรุงปักกิ่งในปัจจุบัน) มีขนาดใหญ่ ทัง้ได้ขยายขอบเขตกว้างขึน้ 
อย่างต่อเนื่องจนก่อรูปขึน้ซงึ่กรุงปักกิ่งใน ปัจจุบัน เขาหมื่นปีในทะเลสาบไทเ่ย่สมัยราชวงศ์หยวนที่เหลืออยู่ในปัจจุบันก็คือ 
สวนสาธารณะเป๋ยไห่ ในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ปกครองสมัยราชวงศ์หยวนเป็นผู้นับถือศาสนา 
พุทธการสร้างวัดวาอาราม ในสมัยหยวนจึงเจริญมาก เจดีย์ขาวในวัดเมี่ยวอิงกรุงปักกิ่งเป็น 
วัดศาสนาลามะที่ออกแบบสร้างขึน้โดยนายช่างชาวเนปาล
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์หมิง 
นับตัง้แต่สมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) เป็นต้นมา จีนเริ่มเข้าสู่ช่วงปลายสังคม ศักดินา สถาปัตยกรรมในสมัยนีส้่วน 
ใหญ่สืบทอดลักษณะการก่อสร้างสมัยราชวงศ์ซ่ง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด แต่มีขนาดใหญ่โตและสง่างาม 
สถาปัตยกรรมทางการในสมัยนีส้ร้างขึน้ด้วยอิฐ ก้อนหินและไม้แข็ง คลุมกระเบือ้ง เคลือบ มีภาพและเครื่องประดับประดา 
ต่าง ๆ ส่วนชาวบ้านนัน้ส่วนมากใช้อิฐสร้างบ้าน สุสานสมัยราชวงศ์หมิงในเมืองนานกิงและกรุงปักกิ่งต่างก็เป็นกลุ่ม 
สถาปัตยกรรมที่มีระดับสูงการก่อสร้างในสมัยราชวงศ์หมิงให้ความสาคัญ 
ต่อฮวงซุ้ยอย่างมาก นอกจากนี้เครื่องเรือนสมัยราชวงศ์หมิงก็มีชื่อดังในโลก
สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ชิง 
ราชวงศ์ชิงเป็นราชวงศ์สุดท้ายในสังคมศักดินาของจีนสถาปัตยกรรมในสมัยนีส้่วนมากสืบทอดลักษณะที่มีมาแต่ดัง้เดิมของ 
สมัยราชวงศ์หมิงแต่หรูหรากว่าสมัยราชวงศ์หมิง กรุงปักกิ่งเมืองหลวงสมัยราชวงศ์ชิงได้รักษาไว้ซึ่งสภาพเดิมในสมัย 
ราชวงศ์หมิง ได้เปิดประตูเมืองที่มีหอคอยสูงใหญ่โต 20 ประตู ประตูเจิง้หยางเหมินเป็นประตูที่สาคัญ ที่สุดและใหญ่ที่สุด 
ของตัวเมืองชัน้ใน จักรพรรดิสมัยราชวงศ์ชิงยังได้สร้างอุทยานราช สานักที่มีขนาดใหญ่ ที่สวยที่สุดและหรูหราที่สุดคือ 
อุทยานหยวนหมิงหยวนและอี๋เหอ หยวน สถาปัตยกรรมของจีนในสมัยนียั้งเริ่มใช้กระจกด้วย 
ราชวงศ์ชิงยังได้สร้างวัดวาอารามพุทธศาสนานิกายธิเขตที่มีลักษณะพิเศษจานวนมาก เช่น วัดยงเหอในกรุงปักกิ่ง 
และวัดพุทธศาสนานิกายธิเบตจานวนหนึ่งในเมือง เฉิงเต๋อ เป็นต้น ช่วง 
ปลายสมัยราชวงศ์ชิง ยังได้ปรากฏสถาปัตยกรรมใหม่จานวนหนึ่งที่รวม 
ลักษณะ การก่อสร้างของจีนกับของฝ่ายตะวันตกเข้าด้วยกัน
การสร้างพระราชวังหลวง 
พระราชวังหลวงเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่และสง่างามที่จักรพรรดิสร้างขึน้เพื่อเสริมสร้างการปกครองและความ 
ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสถาปัตยกรรมอันรุ่งโรจน์และ สูงใหญ่นับตัง้แต่สมัยราชวงศ์ฉินเป็นต้นมา พระราชวังหลวงก็เป็นที่ประทับ 
ของจักรพรรดิและพระราชสานัก ตาหนักก็เป็นที่ว่าการของจักรพรรดิ การสร้างพระราชวังหลวงมี ลักษณะพิเศษ คือ มี 
หลังคาใหญ่มาก ทัง้คลุมด้วยกระเบือ้งเคลือบสีเหลือง ประดับ ประดาด้วยภาพสีสวย เพดานลายแผนผังสี่เหลี่ยมสีสัน 
งดงาม ฐานและราวหินอ่อน สีขาวตลอดจนอื่น ๆ แผนผังของพระราชวังหลวงเป็นแบบที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มี 
สัดส่วนตรงกัน สิ่งก่อสร้างบนเส้นกลางนัน้ทัง้สูงทัง้ใหญ่และสง่างามมาก ส่วนสิ่งก่อสร้างทัง้ สองข้างนัน้จะต่ากว่าและเล็ก 
กว่า พระราชวังหลวงนัน้ก็แบ่งเป็นสองส่วนเช่นกัน คือ ส่วนด้านหน้าและส่วนด้านหลัง ส่วนด้านหน้าเป็นที่ว่าการและ 
สถานที่จัดพิธีสาคัญ ๆ ของจักรพรรดิ ส่วนด้านหลังเป็นที่ประทับของจักรพรรดิ พระราชินีและพระสนมต่าง ๆ พระราชวัง 
โบราณแบ่งเป็นสองเขต เขตด้านหน้าเป็นสถานที่ที่จักรพรรดิว่าการและ จัดพิธีสาคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่สาคัญประกอบด้วย 
ตาหนักไท่เหอ ตาหนักจงเหอและตาหนัก เป่าเหอ ซงึ่ต่างก็สร้างขึน้บนฐานหินอ่อนสีขาวสูง 8 เมตร สง่่างามมาก เขต 
ด้านหลัง เป็๋นสถานที่ทาการและที่ประทับของจักรพรรดิและบรรด่สนม ที่ 
สาคัญมีวังเฉียนชิงวังคุนหนิงและพระราชอุทยาน ซึ่งต่างก็เป็นวังที่ 
ประกอบด้วยสวนประดับ ห้องอ่านหนังสือ ศาลาและภูเขาหินจาลอง เป็นต้น 
วังแต่ละแห่งเป็นแบบลานบ้านจีนทัง้นัน้
การแพทย์จีน 
ถือเป็นศาสตร์อีกชนิดหนึ่งที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประวัติอันยาวนานมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องของ 
จีน เนื่องจากคนจีน แพทย์แผนโบราณของจีนกาเนิดขึน้บริเวณลุ่มแม่นา้เหลืองของจีน หลังจากนัน้ชาวจีนก็ 
ทาการศึกษาเกี่ยวกับการแพทย์อย่างจริงจังจนให้เกิดหมอจีน พร้อมตารับตาราเกี่ยวกับทางการแพทย์เกิดขึน้ 
มากมาย มีการบันทึกความรู้ทางการแพทย์นอกจากในตาราแล้วยังมีการค้นพบตาราเกี่ยวกับทางการแพทย์ 
ของจีนที่มีอายุเก่าแกที่สุดคือตารา “หวาง ติ้เน่ย จิง” เป็นตาราทางการแพทย์ที่เก่าแกที่สุดของจีน 
การต่อเรือและการเดินเรือ 
จีนนับเป็นผู้บุกเบิกทางด้านนีเ้ช่นกัน จีนมีการสร้างเรือใช้มานานนับศตวรรษ เรือสาเภาจีนเป็นเรือชนิดแรกๆ 
ที่สามารถแล่นฝ่าความคลื่นลมอันแปรปรวนของมหาสมุทรได้ ยิ่งการคมนานคมในสมัยอดีตต้องพึ่งพาทาง 
นา้เป็นหลัก การที่จีนมีเรือท่องไปไหนมาไหนได้นัน้ทาให้เกิดการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าจากแหล่งหนงึ่กับ 
อีกแหล่งหนึ่ง 
ดาราศาสตร์และเข็มทิศ 
ศาสตร์แขนงนีถู้กพัฒนาควบคุมกันมากับการเดินเรือของจีน ชนชาวจีนศึกษาดาราศาสตร์โดยเน้นไปที่ การ 
คานวณหาพิกัดดาวจากเส้นศูนย์สูตรซงึ่แตกต่างกับการศึกษาดาราศาสตร์ของชนชาวตะวันตกในสมัยนัน้ที่ 
มุ่งเน้น ไปที่ระบบจักราศีแทน แต่จีนกลับมุ่งศึกษาถึงการโคจรของดาวแต่ละดวงไม่ว่าจะเป็น ดวงอาทิตย์ 
ดวงจันทร์ จีนมีการบันทึกถึงเหตุการณ์ทางธรรมชาติที่เกี่ยวกับดวงดาว หรือระบบสุริยจักรวาลไว้มากมาย 
ไม่ว่าจะเป็น การเกิดสุริยุปราคา จันทรยุปราคา หรือว่ามีการทาแผ่นที่ดาว 
กระดาษและการพิมพ์ 
กระดาษเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวจีนโบราณ ทาให้เกิดการ 
ถ่ายทอดองค์ความรู้กันได้อย่างไม่มีที่สิน้สุด โดยผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าสามารถประดิษฐ์กระดาษที่มี 
คุณภาพขึน้มาใช้ได้คนแรกคือ ไซหลุ่น ข้าราชสานักชาวจีนในสมัยราชวงศ์ฮนั่

More Related Content

What's hot

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
Nanthida Chattong
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
mintmint2540
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
Pannaray Kaewmarueang
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
mnfaim aaaa
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 

What's hot (20)

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 

Viewers also liked

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
Jika Umachi
 
Forbidden City (Qugong) Version 2
Forbidden City (Qugong) Version 2Forbidden City (Qugong) Version 2
Forbidden City (Qugong) Version 2
Jerry Daperro
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Ketsuro Yuki
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
Ancient Chinese Architecture
Ancient Chinese ArchitectureAncient Chinese Architecture
Ancient Chinese Architecture
Asalan Ahmed Malik
 
HISTORY: Chinese Architecture 1.0
HISTORY: Chinese Architecture 1.0HISTORY: Chinese Architecture 1.0
HISTORY: Chinese Architecture 1.0
ArchiEducPH
 
Jacques-Louis David: French Neoclassical Painter
Jacques-Louis David:  French Neoclassical PainterJacques-Louis David:  French Neoclassical Painter
Jacques-Louis David: French Neoclassical Painter
Tom Richey
 
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
Tom Richey
 

Viewers also liked (10)

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
 
Forbidden City (Qugong) Version 2
Forbidden City (Qugong) Version 2Forbidden City (Qugong) Version 2
Forbidden City (Qugong) Version 2
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
Ancient Chinese Architecture
Ancient Chinese ArchitectureAncient Chinese Architecture
Ancient Chinese Architecture
 
HISTORY: Chinese Architecture 1.0
HISTORY: Chinese Architecture 1.0HISTORY: Chinese Architecture 1.0
HISTORY: Chinese Architecture 1.0
 
Jacques-Louis David: French Neoclassical Painter
Jacques-Louis David:  French Neoclassical PainterJacques-Louis David:  French Neoclassical Painter
Jacques-Louis David: French Neoclassical Painter
 
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
The Reign of Terror (French Revolution 1793-1794)
 

Similar to 012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
Patcha Jirasuwanpong
 
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศโครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
chanaporn sornnuwat
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 

Similar to 012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา (8)

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
 
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศโครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
โครงานเรื่องวัฒนธรรมแต่ละประเทศ
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
Aniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
Aniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
Aniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
Aniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
Aniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
Aniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
Aniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
Aniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
Aniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
Aniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 

012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา

  • 1. ANCIENT CHINESE WOODEN ARCHITECTURE
  • 2. ANCIENT CHINESE WOODEN ARCHITECTURE สถาปัตยกรรมจีนเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของอารยธรรมจีนอันรุ่งโรจน์ สถาปัตยกรรมจีน กับสถาปัตยกรรมฝ่ายตะวันตก และสถาปัตยกรรมอิสลามเป็นระบบสถาปัตยกรรมอัน สาคัญ 3 ระบบในโลก สถาปัตยกรรมจีนเป็นระบบสถาปัตยกรรม แต่หนึ่งเดียวในโลกที่สร้างด้วยไม้เป็นส่วนใหญ่และได้แสดงให้เห็นอย่างลึกซึง้ถึงทรรศนะทางจารียศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ค่านิยม และทรรศนะที่มีต่อธรรมชาติของคนจีน ลักษณะพิเศษของศิลปะการก่อสร้างของจีน รวมถึง มีความโดดเด่นอย่าง มากในด้านความคิดอานาจจักรพรรดิเหนือทุกสิ่งทุกอย่าง และความคิดแบ่งระดับชัน้ชนอย่างเข้มงวด การวางแผนผัง พระราชวังหลวงและเมืองหลวงมีระดับสูงสุด ให้ความสาคัญต่อความงามส่วนทัง้หมด สิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่เป็น แบบลานบ้านที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มีสัดส่วนตรงกัน เคารพธรรมชาติ ให้ความสาคัญต่อความกลมกลืนกับ ธรรมชาติและความงามแบบแฝงไว้
  • 3. จิตรกรรม มีวิวัฒนาการมาจากการเขียนตัวอักษรจีนจารึกบนกระดูกเสี่ยงทาย เพราะตัวอักษรจีน มีลักษณะเหมือนรูปภาพ งานจิตรกรรมจีนรุ่งเรืองมากในสมัยราชวงศ์ฮนั่ มีการเขียน ภาพและสลักบนแผ่นหิน ที่นิยมมากที่สุดคือการเขียนบนผ้าไหม ส่วนภาพวาดเป็นเรื่อง เล่าในตาราขงจือ้ พระพุทธศาสนา และภาพธรรมชาติ ประติมากรรม ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปั้นดินเผามีอายุเก่าแก่ตัง้แต่ก่อนประวัติศาสตร์ ทาจากดินสีแดง มีลวดลาย แดง ดา และขาวเป็นลวดลายแดง ดา และขาวเป็นลวดลายเรขาคณิต สมัยราชวงศ์ชาง มีการแกะสลักงาช้าง หินอ่อนและหยก ตามความเชื่อและความนิยม ของชาวจีน ที่เชื่อว่า หยก ทาให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความสุขความสงบ ความรอบรู้ ความกล้าหาญ ภาชนะสาริดเป็นหม้อสามขา สมัยราชวงศ์ถัง มีการพัฒนาเครื่องเคลือบดินเผาเป็นเคลือบ 3 สีคือ เหลือง นา้เงิน เขียว ส่วนสีเขียวไข่กามีชื่อเสียงมากในสมัยราชวงศ์ซ่ง ส่วนพระพุทธรูปนิยมสร้างใน สมัยราชวงศ์ถัง ทัง้งานหล่อสาริดและแกะสลักจากหิน ซงึ่มีสัดส่วนงดงาม เป็นการ ผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดียและจีนที่มีลักษณะเป็นมนุษย์มากกว่าเทพเจ้า นอกจากนียั้งมีการปั้นรูปพระโพธิสัตว์กวนอิมอีกด้วย
  • 4. สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถัง สมัยราชวงศ์ถัง(ค.ศ.618-907)เป็นช่วงที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมในสังคมศักดินาพัฒนาเร็วที่สุด ลักษณะพิเศษของ สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถังคือมีขนาดใหญ่โต มี ระบบระเบียบ ใช้สีไม่ค่อยมากแต่ลายชัดเจนดี ในเมืองฉางเมืองหลวง สมัยราชวงศ์ถัง(เมืองซีอันในปัจจุบัน)และเมืองลวั่หยาง เมืองหลวงทางตะวันออกของราชวงศ์ถังต่างก็เคยสร้างวังหลวง อุทยานและที่ทาการเป็นจานวนมาก เมืองฉางอันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโลกในสมัยนัน้ วังค้าหมิงในเมือง ฉางอันใหญ่ มาก เขตซากของวังนีก้ว้างกว่ายอดจานวนพืน้ที่วังต้องห้ามสมัยหมิงและชิงในกรุงปักกิ่ง 3 เท่ากวา่ ๆ สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยไม้ในสมัยราชวงศ์ถังสวยมาก วิหารประธานในวัดกวางเขต อู่ไถซานมณฑลซานซีก็คือ สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ถังที่เป็นแบบฉบับนอกจากนี้สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหินในสมัยราชวงศ์ถังก็ได้รับ การพัฒนาอีกขัน้หนงึ่ เจดีย์ห่านใหญ่ เจดีย์ห่านเล็กในเมืองซีอันและเจดีย์ เชียนสุน เมืองต้าหลี่ต่างก็เป็นเจดีย์ที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหิน
  • 5. สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ซ่ง สมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ.960-1279) เป็นช่วงที่การเมืองและการทหารของจีนค่อนข้างทรุดโทรม แต่เศรษฐกิจ การผลิตเครื่อง ศิลปหัตถกรรมและการค้าค่อนข้างพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียิ่งได้รับการพัฒนาอย่างมาก ลักษณะพิเศษของ สถาปัตยกรรมในสมัยราชวง์ซ่งคือ มีขนาดไม่ใหญ่เท่าใดนัก แต่มีรูปร่างสวยมาก สถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อนหินในสมัยราชวงศ์ซ่งมีระดับสูงขึน้เรื่อย ๆ ที่ สาคัญคือ เจดีย์และสะพาน เจดีย์ใน วัดหลิงอิ่นเมืองหางโจวและสะพานโหย่งทง ในอาเภอเจ้าเซียนมณฑลเหอเป่ย ก็เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างด้วยอิฐและก้อน หินที่เป็นแบบฉบับในสมัยราชวงศ์ซ่ง สังคมศักดินาของจีนได้รับการพัฒนาอีกขัน้หนงึ่ คนจีนในสมัย ราชวงศ์ซ่งเริ่มมีความ สนใจในการสร้างอุทยานขึน้ อุทยานสมัยซ่งที่มีลักษณะตัวแทนคือ ชังล่างถิงและตู๋เล่อหยวน สมัยราชวงศ์ซ่งยังได้ปรากฎวิทยานิพนธ์พิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยี่การก่อสร้างอย่างสมบูรณ์ เรื่องเหยิงเจ้าฝ่าสือ้หรือแปลว่า กฎเกณฑ์การก่อสร้าง เป็นสัญลักษณ์ ที่แสดงให้เห็นวา่ เทคโนโลยีและการควบคุมดูแลการก่อสร้างของจีนต่างก็ขึน้สู่ระดับใหม่
  • 6. สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวนเป็นราชอาณาจักรอันกว้างใหญ่ที่สร้างขึน้โดยผู้ปกครองชาวมองโกล เป็น ช่วงที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ จีนพัฒนาช้าที่สุด การก่อสร้างก็ตกอยู่ในภาวะ ทรุดโทรมในขัน้พืน้ฐาน สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่หยาบ ๆ เมืองต้าตูเมืองหลวงสมัยราชวงศ์หยวน (ส่วนด้านเหนือของกรุงปักกิ่งในปัจจุบัน) มีขนาดใหญ่ ทัง้ได้ขยายขอบเขตกว้างขึน้ อย่างต่อเนื่องจนก่อรูปขึน้ซงึ่กรุงปักกิ่งใน ปัจจุบัน เขาหมื่นปีในทะเลสาบไทเ่ย่สมัยราชวงศ์หยวนที่เหลืออยู่ในปัจจุบันก็คือ สวนสาธารณะเป๋ยไห่ ในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ปกครองสมัยราชวงศ์หยวนเป็นผู้นับถือศาสนา พุทธการสร้างวัดวาอาราม ในสมัยหยวนจึงเจริญมาก เจดีย์ขาวในวัดเมี่ยวอิงกรุงปักกิ่งเป็น วัดศาสนาลามะที่ออกแบบสร้างขึน้โดยนายช่างชาวเนปาล
  • 7. สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์หมิง นับตัง้แต่สมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) เป็นต้นมา จีนเริ่มเข้าสู่ช่วงปลายสังคม ศักดินา สถาปัตยกรรมในสมัยนีส้่วน ใหญ่สืบทอดลักษณะการก่อสร้างสมัยราชวงศ์ซ่ง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด แต่มีขนาดใหญ่โตและสง่างาม สถาปัตยกรรมทางการในสมัยนีส้ร้างขึน้ด้วยอิฐ ก้อนหินและไม้แข็ง คลุมกระเบือ้ง เคลือบ มีภาพและเครื่องประดับประดา ต่าง ๆ ส่วนชาวบ้านนัน้ส่วนมากใช้อิฐสร้างบ้าน สุสานสมัยราชวงศ์หมิงในเมืองนานกิงและกรุงปักกิ่งต่างก็เป็นกลุ่ม สถาปัตยกรรมที่มีระดับสูงการก่อสร้างในสมัยราชวงศ์หมิงให้ความสาคัญ ต่อฮวงซุ้ยอย่างมาก นอกจากนี้เครื่องเรือนสมัยราชวงศ์หมิงก็มีชื่อดังในโลก
  • 8. สถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ชิง ราชวงศ์ชิงเป็นราชวงศ์สุดท้ายในสังคมศักดินาของจีนสถาปัตยกรรมในสมัยนีส้่วนมากสืบทอดลักษณะที่มีมาแต่ดัง้เดิมของ สมัยราชวงศ์หมิงแต่หรูหรากว่าสมัยราชวงศ์หมิง กรุงปักกิ่งเมืองหลวงสมัยราชวงศ์ชิงได้รักษาไว้ซึ่งสภาพเดิมในสมัย ราชวงศ์หมิง ได้เปิดประตูเมืองที่มีหอคอยสูงใหญ่โต 20 ประตู ประตูเจิง้หยางเหมินเป็นประตูที่สาคัญ ที่สุดและใหญ่ที่สุด ของตัวเมืองชัน้ใน จักรพรรดิสมัยราชวงศ์ชิงยังได้สร้างอุทยานราช สานักที่มีขนาดใหญ่ ที่สวยที่สุดและหรูหราที่สุดคือ อุทยานหยวนหมิงหยวนและอี๋เหอ หยวน สถาปัตยกรรมของจีนในสมัยนียั้งเริ่มใช้กระจกด้วย ราชวงศ์ชิงยังได้สร้างวัดวาอารามพุทธศาสนานิกายธิเขตที่มีลักษณะพิเศษจานวนมาก เช่น วัดยงเหอในกรุงปักกิ่ง และวัดพุทธศาสนานิกายธิเบตจานวนหนึ่งในเมือง เฉิงเต๋อ เป็นต้น ช่วง ปลายสมัยราชวงศ์ชิง ยังได้ปรากฏสถาปัตยกรรมใหม่จานวนหนึ่งที่รวม ลักษณะ การก่อสร้างของจีนกับของฝ่ายตะวันตกเข้าด้วยกัน
  • 9. การสร้างพระราชวังหลวง พระราชวังหลวงเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่และสง่างามที่จักรพรรดิสร้างขึน้เพื่อเสริมสร้างการปกครองและความ ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสถาปัตยกรรมอันรุ่งโรจน์และ สูงใหญ่นับตัง้แต่สมัยราชวงศ์ฉินเป็นต้นมา พระราชวังหลวงก็เป็นที่ประทับ ของจักรพรรดิและพระราชสานัก ตาหนักก็เป็นที่ว่าการของจักรพรรดิ การสร้างพระราชวังหลวงมี ลักษณะพิเศษ คือ มี หลังคาใหญ่มาก ทัง้คลุมด้วยกระเบือ้งเคลือบสีเหลือง ประดับ ประดาด้วยภาพสีสวย เพดานลายแผนผังสี่เหลี่ยมสีสัน งดงาม ฐานและราวหินอ่อน สีขาวตลอดจนอื่น ๆ แผนผังของพระราชวังหลวงเป็นแบบที่มีเส้นกลางแบ่งเขตเป็นสองเขตที่มี สัดส่วนตรงกัน สิ่งก่อสร้างบนเส้นกลางนัน้ทัง้สูงทัง้ใหญ่และสง่างามมาก ส่วนสิ่งก่อสร้างทัง้ สองข้างนัน้จะต่ากว่าและเล็ก กว่า พระราชวังหลวงนัน้ก็แบ่งเป็นสองส่วนเช่นกัน คือ ส่วนด้านหน้าและส่วนด้านหลัง ส่วนด้านหน้าเป็นที่ว่าการและ สถานที่จัดพิธีสาคัญ ๆ ของจักรพรรดิ ส่วนด้านหลังเป็นที่ประทับของจักรพรรดิ พระราชินีและพระสนมต่าง ๆ พระราชวัง โบราณแบ่งเป็นสองเขต เขตด้านหน้าเป็นสถานที่ที่จักรพรรดิว่าการและ จัดพิธีสาคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่สาคัญประกอบด้วย ตาหนักไท่เหอ ตาหนักจงเหอและตาหนัก เป่าเหอ ซงึ่ต่างก็สร้างขึน้บนฐานหินอ่อนสีขาวสูง 8 เมตร สง่่างามมาก เขต ด้านหลัง เป็๋นสถานที่ทาการและที่ประทับของจักรพรรดิและบรรด่สนม ที่ สาคัญมีวังเฉียนชิงวังคุนหนิงและพระราชอุทยาน ซึ่งต่างก็เป็นวังที่ ประกอบด้วยสวนประดับ ห้องอ่านหนังสือ ศาลาและภูเขาหินจาลอง เป็นต้น วังแต่ละแห่งเป็นแบบลานบ้านจีนทัง้นัน้
  • 10. การแพทย์จีน ถือเป็นศาสตร์อีกชนิดหนึ่งที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประวัติอันยาวนานมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องของ จีน เนื่องจากคนจีน แพทย์แผนโบราณของจีนกาเนิดขึน้บริเวณลุ่มแม่นา้เหลืองของจีน หลังจากนัน้ชาวจีนก็ ทาการศึกษาเกี่ยวกับการแพทย์อย่างจริงจังจนให้เกิดหมอจีน พร้อมตารับตาราเกี่ยวกับทางการแพทย์เกิดขึน้ มากมาย มีการบันทึกความรู้ทางการแพทย์นอกจากในตาราแล้วยังมีการค้นพบตาราเกี่ยวกับทางการแพทย์ ของจีนที่มีอายุเก่าแกที่สุดคือตารา “หวาง ติ้เน่ย จิง” เป็นตาราทางการแพทย์ที่เก่าแกที่สุดของจีน การต่อเรือและการเดินเรือ จีนนับเป็นผู้บุกเบิกทางด้านนีเ้ช่นกัน จีนมีการสร้างเรือใช้มานานนับศตวรรษ เรือสาเภาจีนเป็นเรือชนิดแรกๆ ที่สามารถแล่นฝ่าความคลื่นลมอันแปรปรวนของมหาสมุทรได้ ยิ่งการคมนานคมในสมัยอดีตต้องพึ่งพาทาง นา้เป็นหลัก การที่จีนมีเรือท่องไปไหนมาไหนได้นัน้ทาให้เกิดการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าจากแหล่งหนงึ่กับ อีกแหล่งหนึ่ง ดาราศาสตร์และเข็มทิศ ศาสตร์แขนงนีถู้กพัฒนาควบคุมกันมากับการเดินเรือของจีน ชนชาวจีนศึกษาดาราศาสตร์โดยเน้นไปที่ การ คานวณหาพิกัดดาวจากเส้นศูนย์สูตรซงึ่แตกต่างกับการศึกษาดาราศาสตร์ของชนชาวตะวันตกในสมัยนัน้ที่ มุ่งเน้น ไปที่ระบบจักราศีแทน แต่จีนกลับมุ่งศึกษาถึงการโคจรของดาวแต่ละดวงไม่ว่าจะเป็น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ จีนมีการบันทึกถึงเหตุการณ์ทางธรรมชาติที่เกี่ยวกับดวงดาว หรือระบบสุริยจักรวาลไว้มากมาย ไม่ว่าจะเป็น การเกิดสุริยุปราคา จันทรยุปราคา หรือว่ามีการทาแผ่นที่ดาว กระดาษและการพิมพ์ กระดาษเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวจีนโบราณ ทาให้เกิดการ ถ่ายทอดองค์ความรู้กันได้อย่างไม่มีที่สิน้สุด โดยผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าสามารถประดิษฐ์กระดาษที่มี คุณภาพขึน้มาใช้ได้คนแรกคือ ไซหลุ่น ข้าราชสานักชาวจีนในสมัยราชวงศ์ฮนั่