SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (อังกฤษ: Romanesque 
architecture) เป็นคา ที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่ม 
ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่าง 
คริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า 
“สถาปัตยกรรมนอร์มัน” 
ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่น 
ความหนาของกาแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้ง 
ประทุนซ้อน การใช้โค้งซ้มุอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละ 
ชั้นที่ต่างขนาดกัน[1] เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง 
(เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะ 
เรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่น 
สถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ 
ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง 
สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสน 
สถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาท 
ในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่และบาง 
แห่งก็ยังใช้เป็นสถานท่สีักการะตราบจนทกุวันนี้
คาว่า “โรมาเนสก์” ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักโบราณคดีชาร์ลส์- 
อเล็กซีส-อาเดรียน ดูเอริสซิเยร์ เดอ แชวิลล์เมื่อต้นปีคริสต์วรรษที่ 19 
เพ่อืบรรยายสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์วรรษที่5 จนถึง 
คริสต์วรรษที่ 13 ในเวลาที่สิ่งก่อสร้างทั้งหลายยังระบุไม่ได้ว่าสร้างเมื่อไหร่ 
[3] คา นี้ในปัจจุบันจา กัดเวลาแคบลงจากเดิมมาเป็นสถาปัตยกรรมตั้งแต่ 
ปลายคริสต์วรรษที่ 10 จนถึงคริสต์วรรษที่ 12 คา ว่า “โรมาเนสก์” บรรยาย 
ถึงลักษณะที่เป็นแบบบอกได้แน่นอนว่าเป็นยุคกลางแต่ก่อนสมัย 
สถาปัตยกรรมกอธิคแต่ก็ยังรักษารูปลักษณ์แบบสิ่งก่อสร้างโรมันเช่นซ้มุ 
โค้งฉะนั้นจึงดูเหมือนว่าเป็นศิลปะที่ต่อเนื่องมาจากโรมันซึ่งเป็นแบบเรียบ 
ง่ายแต่วิธีการก่อสร้างไม่ดีเท่าสิ่งก่อสร้างโรมัน 
คาว่า “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์” บางครั้งจะหมายถึงสถาปัตยกรรม 
ในประเทศเยอรมนี สมัยคาโรแล็งเชียงและแบบอ็อตโตเนียน 
(Ottonian) ขณะที่ “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์ต้น” กล่าวถึง 
สิ่งก่อสร้างในประเทศอิตาลีประเทศสเปน และบางส่วนของ ประเทศ 
ฝรั่งเศสที่มีลักษณะโรมาเนสก์แต่ก่อนหน้าอิทธิพลของแอบบีคลูนี
ลักษณะโดยทั่วไปที่เราเข้าใจกันของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ไม่ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างทางศาสนาหรือที่อยู่อาศัยคือจะมี 
ลักษณะแน่นหนาเทอะทะ และแข็งแรง ซึ่งตรงกันข้ามกับสถาปัตยกรรมคลาสสิกของกรีกและโรมัน และสถาปัตยกรรมกอธิคที่จะ 
เพรียวกว่าในสมัยต่อมา โครงสร้างที่รับน้า หนักของสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่จะเป็นเสา เสาอิง และซ้มุโค้ง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์คล้าย 
กับสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์ตรงท่จีะใช้กับกา แพง หรือช่วงกา แพงที่เรียกว่าเสาอิง หรือเสาสี่เหลี่ยม (Pier) เป็นสิ่งสา คัญในการรับ 
น้า หนักสิ่งก่อสร้าง[ 
สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบ่งเป็นสองสมัย, “โรมาเนสก์สมัยต้น” และ “โรมาเนสก์สมัยสอง” ความแตกต่างของสองสมัย 
อยู่ที่ความชา นาญในการก่อสร้าง “โรมาเนสก์สมัยต้น” จะใช้ “กา แพงวัสดุ,” หน้าต่างแคบ, และหลังคาที่ยังไม่โค้ง “โรมาเนสก์สมัยสอง” 
ต่อมาฝีมือจะดีขีน้และมีใช้เพดานโค้งที่โค้งขึน้รวมท้งัมีการตกแต่งหน้าหินเพิ่มขึน้
กาแพง 
กา แพงของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์ 
มักจะหนามากและมีหน้าต่างหรือประตูแคบๆ เพียง 
ไม่ก่ชี่อง กา แพงจะเป็นสองชั้นภายในจุด้วยขยะ 
สิ่งก่อสร้างที่เรียกว่า “กา แพงวัสดุ” 
วัสดุการก่อสร้างจะแตกต่างกันแล้วแต่ละ 
ท้องถิ่น ในประเทศอิตาลี โปแลนด์ เยอรมนี และ 
บางส่วนของเนเธอร์แลนด์มักจะสร้างด้วยอิฐ บริเวณ 
อื่นๆ จะใช้ หินแกรนิต หินปูน หรือ หินเหล็กไฟ[1] หิน 
ที่ใช้จะตัดเป็นก้อนไม่เท่ากันเชื่อมต่อกันด้วยปูน การ 
ตกแต่งหน้าหินยังไม่ใช่ลักษณะเด่นของสิ่งก่อสร้างแบบ 
โรมาเนสก์โดยเฉพาะสมัยโรมาเนสก์ต้น แต่มาปรากฏ 
ภายหลังเมื่อมีการใช้หินปูนเป็นสิ่งก่อสร้าง
เสา 
เสาสี่เหลี่ยม เสาสี่เหลี่ยม หรือ 
เสาอิง (Pier) ในสถาปัตยกรรมแบบโร 
มาเนสก์ใช้สา หรับรับซุ้มโค้ง จะทา จากปูน 
เป็นสี่เหลี่ยมบางส่วนและมีบัวหัวเสาตรง 
บริเวณที่เริ่มโค้ง บางครั้งเสาก็จะมีเสา 
แนบ (Shaft) ประกบและมีบัวที่ฐาน แม้ว่า 
จะเป็นสี่เหลี่ยมแต่บางครั้งจะเป็นโครงสร้างที่ 
ซับซ้อนโดยการใช้ตัวเสาหลักท่กีลวงเป็น 
ตัวรับซุ้มโค้ง หรือใช้กลุ่มเสาแนบประกบกัน 
จนไปถึงซ้มุโค้ง บางครั้งเสาอิงก็ใช้สา หรับรับ 
ซ้มุโค้งสองซ้มุใหญ่ตัดกันเช่นภายใต้จุดตัด 
ระหว่างทางเดินกลางและแขนกางเขน และ 
มักจะเป็นลักษณะไขว้เป็นฉากต่อกัน 
เสากลม 
เสาใช้แล้ว ในสมัยนีใ้นอิตาลีจะมีการไปนาเอาเสาโรมันโบราณมาใช้ 
ภายในสงิ่ก่อสร้างโรมาเนสก์ เสาที่ชนิดที่ทนทานที่สุดก็จะเป็นเสาหินอ่อนเนือ้ขนาน 
แต่ส่วนใหญ่ที่มีจะเป็นเนีอ้ตัง้และมีหลายสี บางครัง้ก็จะนาเอาหัวเสาแบบโรมัน 
ของเดิมมาใช้ด้วยโดยเฉพาะหัวเสาแบบโครินเธียน หรือแบบ “โรมันผสม”[ สิ่งก่อสร้าง 
บางแห่งเช่นเอเทรียมที่บาซิลิกาซานเคลเมนเตที่กรุงโรมจะประกอบด้วยเสาหลายชนิด 
บนหัวเสาเตีย้ก็ตัง้หัวเสาใหญ่ บนหัวเสาสูงก็ตัง้หัวเสาเล็กลงหน่อยเพื่อปรับระดับให้ 
เท่ากันความยืดหยุ่นในการก่อสร้างเชน่นีจ้ะไมเ่ป็นที่ยอมรับกันโดยสถาปนิกโรมันหรือ 
กอธิค การเอาเสาโรมันมาใช้ในประเทศฝรั่งเศสก็มีบ้างแต่น้อย ส่วนในเยอรมนีและ 
ประเทศอื่นๆ การสร้างเสาใหญ่ก็จะตัดจากหินก้อนเดียวทัง้เสา และวางสลับกับเสาอิง 
ใหญ่ 
เสากลอง การใช้เสาในสมัยนีจ้ะเป็นเสาใหญ่หนักเพราะใช้รับนา้หนัก 
กาแพงหนาและหลังคาที่หนักในบางครัง้ วิธีก่อสร้างเสาขนาดใหญ่เชน่นีมั้กจะตัดหิน 
เป็นแว่นๆที่เรียกว่า “กลอง” แล้ววางซ้อนกัน เช่นเสาในห้องใต้ดินที่มหาวิหารสเปเยอร์ 
ในประเทศเยอรมนีวิธีสร้างเดียวกันนีใ้ช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก 
เช่นที่ตึกแพนธีอันที่กรุงโรม 
เสากลวง ถ้าต้องใช้เสาใหญ่มากๆ เช่นที่มหาวิหารเดอแรมที่อังกฤษก็ 
สร้างโดยใช้ปูนก่อกลวงภายในเสาก็อัดด้วยเศษวัสดุก่อสร้าง เสาลักษณะนีบ้างทีก็จะมี 
การตกแต่ง
หัวเสา การแกะหัวเสาสมัยโรมาเนสก์ได้รับอิทธิพลบางส่วนมาจากการแกะหัวเสาตกแต่งด้วยไบไม้แบบโครินเธียนของโรมัน ฝีมือ 
การแกะก็ขึน้อยู่กับความใกล้ชิดเท่าใดกับต้นตอเช่นการแกะหัวเสาในอิตาลีที่มหาวิหารปิซาหรือทางใต้ของฝรั่งเศสก็จะคล้ายต้นตา 
หรับมากกว่างานที่พบในอังกฤษเป็นต้น[9][2] 
ตรงฐานของหัวเสาแบบโครินเธียนจะกลมเพราะใช้วางบนเสากลม แต่ตอนบนจะเป็นสี่เหลี่ยมเพื่อรับผนังหรือซ้มุโค้ง หัวเสาโร 
มาเนสก์ก็ยังใช้ลักษณะเดียวกันนี้ ซึ่งทา โดยการตัดหินเป็นสี่เหลี่ยมและปาดมุมล่างสึ่มุมออก[5] ฉะนั้นด้านบนจึงยังคงเป็นสี่เหลี่ยม 
แต่ด้านล่างจะเป็นแปดเหลี่ยมจากการปาดมุมออก เช่นที่พบท่วีัดเซนต์ไมเคิลที่ฮิลเดสไฮม์ (St. Michael's Hildesheim)[9] 
การตัดเช่นนี้ทา ให้ง่ายต่อการแกะตกแต่งผิวหินเช่นใบไม้หรือรูปอื่นๆ ทางตอนเหนือของยุโรปการแกะใบไม้บนหัวเสาจะคล้ายกับที่ 
เห็นในหนังสือวิจิตรมากว่าจะเป็นหัวเสาแบบคลาสสิก การแกะหัวเสาในบางส่วนของฝรั่งเศสและอิตาลีจะไปทางศิลปะไบแซน 
ไทน์แต่การแกะหัวเสาเป็นรูปลักษณ์ต่างๆ นอกเหนือไปจากไบไม้เป็นลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ที่สุดอย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมโร 
มาเนสก์ บางหัวเสาก็แกะจากตานานจากคัมภีร์ไบเบิลหรือแกะเป็นรูปคนหรือสัตว์อัปลักษณ์ หรือจากจินตนาการ หรือแกะเป็น 
ตา นานของนักบุญในท้องถิ่น[5]บางครั้งหัวเสาทรงสี่เหลี่ยมปาดอย่างที่กล่าวก็จะถูกบีบลงมาเหลือเป็นเพียงแป้นโดยเฉพาะเมื่อใช้กับ 
เสาปูนใหญ่ๆ หรือ เสาใหญ่ที่ใช้สลับกับเสาอิงเช่นที่พบที่มหาวิหารเดอแรม เป็นต้น[6]การใช้เสาในการแบ่งช่องว่างภายในตัวอาคาร 
การแบ่งช่องว่างภายในอาคารไม่ว่าจะเป็นวัดหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โรมาเนสก์จะใช้ซ้มุโค้งสลับกับเสาต่างๆ เป็นเครื่องแบ่ง ลักษณะที่ 
ง่ายที่สุดคือการใช้เสาระหว่างช่วง ที่ชูเมจส์ (Jumieges) ใช้เสากลองสูงระหว่างเสาสี่เหลี่ยม แต่ละเสาสี่เหลี่ยมก็จะรับด้วยเสาที่ 
เตีย้กว่า หรือที่มหาวิหารเดอแรมที่ใช้บัวและเสาแนบกับเสาสี่เหลี่ยมที่ตกแต่งอย่างสวยงาม และเสาปูนที่ใหญ่โต แต่ละเสาก็ตกแต่ง 
ด้วยลวดลายเรขาคณิต[9]บางครั้งความซับซ้อนของการแบ่งช่องว่างมิได้อยู่ที่การใช้เสาชนิดต่างๆ แต่อยู่ที่ตัวเสาชนิดเดียวกันที่แต่ละ 
อันจะก็แตกต่างจากกันเช่นที่วัดซานอัมโบรจิโอที่มิลานที่ลักษณะเพดานโค้งเป็นตัวกา กับในการบ่งลักษณะของเสาสี่เหลี่ยมสลับที่ 
ต้องรองรับน้า หนักมากกว่าทา ให้เสาสี่เหลี่ยมต้องสร้างให้ใหญ่กว่า[4]
การใช้โค้งหน้าต่างและประตู 
โค้งในสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์เป็นครึ่งวงกลมนอกจากบางแห่งที่ยกเว้นเช่นที่มหาวิหารแซงต์ลาซาร์แห่งโอทุงในประเทศ 
ฝรั่งเศส และมหาวิหารมอนริอาล ที่ซิซิลีแต่เป็นส่วนน้อย ทัง้สองแห่งใช้โค้งแหลม เชื่อกันว่าการใช้โค้งครึ่งวงกลมมีอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรม 
อิสลาม การวางหน้าต่างจะมีขื่อเหนือหน้าต่าง ถ้าหน้าต่างใหญ่ก็จะเป็นหน้าต่างโค้ง ประตูก็เช่นกันจะเป็นโค้งครึ่งวงกลมด้านบน นอกจากประตูที่ 
มีเสีย้วครึ่งวงกลม หรือเสีย้วพระจันทร์ (lunette) ตกแต่งเหนือประตูที่ทาให้ประตูกลายเป็นสี่เหลี่ยม

More Related Content

What's hot

Romanesque architecture & civilization
Romanesque architecture & civilizationRomanesque architecture & civilization
Romanesque architecture & civilizationKeyur Brahmbhatt
 
Byzantine architecture
Byzantine architectureByzantine architecture
Byzantine architecturevaibhav ghodke
 
gothic architecture
gothic architecturegothic architecture
gothic architectureAysha Asaad
 
BAROQUE ARCHITECTURE
BAROQUE ARCHITECTUREBAROQUE ARCHITECTURE
BAROQUE ARCHITECTUREShourya Puri
 
Romanasque architecture (Features & Structures)
Romanasque architecture (Features & Structures)Romanasque architecture (Features & Structures)
Romanasque architecture (Features & Structures)Ansh Agarwal
 
Romanesque Architecture
Romanesque ArchitectureRomanesque Architecture
Romanesque Architecturemfresnillo
 
Romanesque Architecture
Romanesque ArchitectureRomanesque Architecture
Romanesque ArchitectureNaomi Aquino
 
Comparison studies between Romanesque and Gothic architecture
Comparison studies between Romanesque and Gothic architectureComparison studies between Romanesque and Gothic architecture
Comparison studies between Romanesque and Gothic architectureNoorul Mushfika
 
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0HISTORY: Byzantine Architecture 1.0
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0ArchiEducPH
 
Characteristics of Gothic Architecture
 Characteristics of Gothic Architecture Characteristics of Gothic Architecture
Characteristics of Gothic ArchitectureVISHAKA BOTHRA
 
Romanesque churches
Romanesque churchesRomanesque churches
Romanesque churchesAlex Waktola
 
italian romanesque architecture
 italian romanesque architecture italian romanesque architecture
italian romanesque architectureDhananjay Marda
 
THEORY: Roman Architecture
THEORY: Roman Architecture THEORY: Roman Architecture
THEORY: Roman Architecture ArchiEducPH
 
Boromini bernini(baroque style)
Boromini bernini(baroque style)Boromini bernini(baroque style)
Boromini bernini(baroque style)PaTel Yash
 

What's hot (20)

Romanesque architecture & civilization
Romanesque architecture & civilizationRomanesque architecture & civilization
Romanesque architecture & civilization
 
Byzantine architecture
Byzantine architectureByzantine architecture
Byzantine architecture
 
Pisa complex
Pisa complexPisa complex
Pisa complex
 
gothic architecture
gothic architecturegothic architecture
gothic architecture
 
07 roman architecture 1 4
07 roman architecture 1 407 roman architecture 1 4
07 roman architecture 1 4
 
BAROQUE ARCHITECTURE
BAROQUE ARCHITECTUREBAROQUE ARCHITECTURE
BAROQUE ARCHITECTURE
 
Romanasque architecture (Features & Structures)
Romanasque architecture (Features & Structures)Romanasque architecture (Features & Structures)
Romanasque architecture (Features & Structures)
 
Romanesque Architecture
Romanesque ArchitectureRomanesque Architecture
Romanesque Architecture
 
Romanesque Architecture
Romanesque ArchitectureRomanesque Architecture
Romanesque Architecture
 
Comparison studies between Romanesque and Gothic architecture
Comparison studies between Romanesque and Gothic architectureComparison studies between Romanesque and Gothic architecture
Comparison studies between Romanesque and Gothic architecture
 
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0HISTORY: Byzantine Architecture 1.0
HISTORY: Byzantine Architecture 1.0
 
Characteristics of Gothic Architecture
 Characteristics of Gothic Architecture Characteristics of Gothic Architecture
Characteristics of Gothic Architecture
 
Roman architecture
Roman architectureRoman architecture
Roman architecture
 
Romanesque churches
Romanesque churchesRomanesque churches
Romanesque churches
 
Early Christian Architecture
Early Christian ArchitectureEarly Christian Architecture
Early Christian Architecture
 
italian romanesque architecture
 italian romanesque architecture italian romanesque architecture
italian romanesque architecture
 
Romanesque Architecture
Romanesque ArchitectureRomanesque Architecture
Romanesque Architecture
 
THEORY: Roman Architecture
THEORY: Roman Architecture THEORY: Roman Architecture
THEORY: Roman Architecture
 
Boromini bernini(baroque style)
Boromini bernini(baroque style)Boromini bernini(baroque style)
Boromini bernini(baroque style)
 
Ancient greek architecture.
Ancient greek architecture.Ancient greek architecture.
Ancient greek architecture.
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์Aniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญาAniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพรAniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 

010 romanesque ปิยะพัทธ์

  • 1.
  • 2. สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (อังกฤษ: Romanesque architecture) เป็นคา ที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่ม ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่าง คริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่น ความหนาของกาแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้ง ประทุนซ้อน การใช้โค้งซ้มุอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละ ชั้นที่ต่างขนาดกัน[1] เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะ เรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่น สถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสน สถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาท ในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่และบาง แห่งก็ยังใช้เป็นสถานท่สีักการะตราบจนทกุวันนี้
  • 3. คาว่า “โรมาเนสก์” ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักโบราณคดีชาร์ลส์- อเล็กซีส-อาเดรียน ดูเอริสซิเยร์ เดอ แชวิลล์เมื่อต้นปีคริสต์วรรษที่ 19 เพ่อืบรรยายสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์วรรษที่5 จนถึง คริสต์วรรษที่ 13 ในเวลาที่สิ่งก่อสร้างทั้งหลายยังระบุไม่ได้ว่าสร้างเมื่อไหร่ [3] คา นี้ในปัจจุบันจา กัดเวลาแคบลงจากเดิมมาเป็นสถาปัตยกรรมตั้งแต่ ปลายคริสต์วรรษที่ 10 จนถึงคริสต์วรรษที่ 12 คา ว่า “โรมาเนสก์” บรรยาย ถึงลักษณะที่เป็นแบบบอกได้แน่นอนว่าเป็นยุคกลางแต่ก่อนสมัย สถาปัตยกรรมกอธิคแต่ก็ยังรักษารูปลักษณ์แบบสิ่งก่อสร้างโรมันเช่นซ้มุ โค้งฉะนั้นจึงดูเหมือนว่าเป็นศิลปะที่ต่อเนื่องมาจากโรมันซึ่งเป็นแบบเรียบ ง่ายแต่วิธีการก่อสร้างไม่ดีเท่าสิ่งก่อสร้างโรมัน คาว่า “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์” บางครั้งจะหมายถึงสถาปัตยกรรม ในประเทศเยอรมนี สมัยคาโรแล็งเชียงและแบบอ็อตโตเนียน (Ottonian) ขณะที่ “สถาปัตยกรรมก่อนโรมาเนสก์ต้น” กล่าวถึง สิ่งก่อสร้างในประเทศอิตาลีประเทศสเปน และบางส่วนของ ประเทศ ฝรั่งเศสที่มีลักษณะโรมาเนสก์แต่ก่อนหน้าอิทธิพลของแอบบีคลูนี
  • 4. ลักษณะโดยทั่วไปที่เราเข้าใจกันของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ไม่ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างทางศาสนาหรือที่อยู่อาศัยคือจะมี ลักษณะแน่นหนาเทอะทะ และแข็งแรง ซึ่งตรงกันข้ามกับสถาปัตยกรรมคลาสสิกของกรีกและโรมัน และสถาปัตยกรรมกอธิคที่จะ เพรียวกว่าในสมัยต่อมา โครงสร้างที่รับน้า หนักของสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่จะเป็นเสา เสาอิง และซ้มุโค้ง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์คล้าย กับสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์ตรงท่จีะใช้กับกา แพง หรือช่วงกา แพงที่เรียกว่าเสาอิง หรือเสาสี่เหลี่ยม (Pier) เป็นสิ่งสา คัญในการรับ น้า หนักสิ่งก่อสร้าง[ สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบ่งเป็นสองสมัย, “โรมาเนสก์สมัยต้น” และ “โรมาเนสก์สมัยสอง” ความแตกต่างของสองสมัย อยู่ที่ความชา นาญในการก่อสร้าง “โรมาเนสก์สมัยต้น” จะใช้ “กา แพงวัสดุ,” หน้าต่างแคบ, และหลังคาที่ยังไม่โค้ง “โรมาเนสก์สมัยสอง” ต่อมาฝีมือจะดีขีน้และมีใช้เพดานโค้งที่โค้งขึน้รวมท้งัมีการตกแต่งหน้าหินเพิ่มขึน้
  • 5. กาแพง กา แพงของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์ มักจะหนามากและมีหน้าต่างหรือประตูแคบๆ เพียง ไม่ก่ชี่อง กา แพงจะเป็นสองชั้นภายในจุด้วยขยะ สิ่งก่อสร้างที่เรียกว่า “กา แพงวัสดุ” วัสดุการก่อสร้างจะแตกต่างกันแล้วแต่ละ ท้องถิ่น ในประเทศอิตาลี โปแลนด์ เยอรมนี และ บางส่วนของเนเธอร์แลนด์มักจะสร้างด้วยอิฐ บริเวณ อื่นๆ จะใช้ หินแกรนิต หินปูน หรือ หินเหล็กไฟ[1] หิน ที่ใช้จะตัดเป็นก้อนไม่เท่ากันเชื่อมต่อกันด้วยปูน การ ตกแต่งหน้าหินยังไม่ใช่ลักษณะเด่นของสิ่งก่อสร้างแบบ โรมาเนสก์โดยเฉพาะสมัยโรมาเนสก์ต้น แต่มาปรากฏ ภายหลังเมื่อมีการใช้หินปูนเป็นสิ่งก่อสร้าง
  • 6. เสา เสาสี่เหลี่ยม เสาสี่เหลี่ยม หรือ เสาอิง (Pier) ในสถาปัตยกรรมแบบโร มาเนสก์ใช้สา หรับรับซุ้มโค้ง จะทา จากปูน เป็นสี่เหลี่ยมบางส่วนและมีบัวหัวเสาตรง บริเวณที่เริ่มโค้ง บางครั้งเสาก็จะมีเสา แนบ (Shaft) ประกบและมีบัวที่ฐาน แม้ว่า จะเป็นสี่เหลี่ยมแต่บางครั้งจะเป็นโครงสร้างที่ ซับซ้อนโดยการใช้ตัวเสาหลักท่กีลวงเป็น ตัวรับซุ้มโค้ง หรือใช้กลุ่มเสาแนบประกบกัน จนไปถึงซ้มุโค้ง บางครั้งเสาอิงก็ใช้สา หรับรับ ซ้มุโค้งสองซ้มุใหญ่ตัดกันเช่นภายใต้จุดตัด ระหว่างทางเดินกลางและแขนกางเขน และ มักจะเป็นลักษณะไขว้เป็นฉากต่อกัน เสากลม เสาใช้แล้ว ในสมัยนีใ้นอิตาลีจะมีการไปนาเอาเสาโรมันโบราณมาใช้ ภายในสงิ่ก่อสร้างโรมาเนสก์ เสาที่ชนิดที่ทนทานที่สุดก็จะเป็นเสาหินอ่อนเนือ้ขนาน แต่ส่วนใหญ่ที่มีจะเป็นเนีอ้ตัง้และมีหลายสี บางครัง้ก็จะนาเอาหัวเสาแบบโรมัน ของเดิมมาใช้ด้วยโดยเฉพาะหัวเสาแบบโครินเธียน หรือแบบ “โรมันผสม”[ สิ่งก่อสร้าง บางแห่งเช่นเอเทรียมที่บาซิลิกาซานเคลเมนเตที่กรุงโรมจะประกอบด้วยเสาหลายชนิด บนหัวเสาเตีย้ก็ตัง้หัวเสาใหญ่ บนหัวเสาสูงก็ตัง้หัวเสาเล็กลงหน่อยเพื่อปรับระดับให้ เท่ากันความยืดหยุ่นในการก่อสร้างเชน่นีจ้ะไมเ่ป็นที่ยอมรับกันโดยสถาปนิกโรมันหรือ กอธิค การเอาเสาโรมันมาใช้ในประเทศฝรั่งเศสก็มีบ้างแต่น้อย ส่วนในเยอรมนีและ ประเทศอื่นๆ การสร้างเสาใหญ่ก็จะตัดจากหินก้อนเดียวทัง้เสา และวางสลับกับเสาอิง ใหญ่ เสากลอง การใช้เสาในสมัยนีจ้ะเป็นเสาใหญ่หนักเพราะใช้รับนา้หนัก กาแพงหนาและหลังคาที่หนักในบางครัง้ วิธีก่อสร้างเสาขนาดใหญ่เชน่นีมั้กจะตัดหิน เป็นแว่นๆที่เรียกว่า “กลอง” แล้ววางซ้อนกัน เช่นเสาในห้องใต้ดินที่มหาวิหารสเปเยอร์ ในประเทศเยอรมนีวิธีสร้างเดียวกันนีใ้ช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก เช่นที่ตึกแพนธีอันที่กรุงโรม เสากลวง ถ้าต้องใช้เสาใหญ่มากๆ เช่นที่มหาวิหารเดอแรมที่อังกฤษก็ สร้างโดยใช้ปูนก่อกลวงภายในเสาก็อัดด้วยเศษวัสดุก่อสร้าง เสาลักษณะนีบ้างทีก็จะมี การตกแต่ง
  • 7. หัวเสา การแกะหัวเสาสมัยโรมาเนสก์ได้รับอิทธิพลบางส่วนมาจากการแกะหัวเสาตกแต่งด้วยไบไม้แบบโครินเธียนของโรมัน ฝีมือ การแกะก็ขึน้อยู่กับความใกล้ชิดเท่าใดกับต้นตอเช่นการแกะหัวเสาในอิตาลีที่มหาวิหารปิซาหรือทางใต้ของฝรั่งเศสก็จะคล้ายต้นตา หรับมากกว่างานที่พบในอังกฤษเป็นต้น[9][2] ตรงฐานของหัวเสาแบบโครินเธียนจะกลมเพราะใช้วางบนเสากลม แต่ตอนบนจะเป็นสี่เหลี่ยมเพื่อรับผนังหรือซ้มุโค้ง หัวเสาโร มาเนสก์ก็ยังใช้ลักษณะเดียวกันนี้ ซึ่งทา โดยการตัดหินเป็นสี่เหลี่ยมและปาดมุมล่างสึ่มุมออก[5] ฉะนั้นด้านบนจึงยังคงเป็นสี่เหลี่ยม แต่ด้านล่างจะเป็นแปดเหลี่ยมจากการปาดมุมออก เช่นที่พบท่วีัดเซนต์ไมเคิลที่ฮิลเดสไฮม์ (St. Michael's Hildesheim)[9] การตัดเช่นนี้ทา ให้ง่ายต่อการแกะตกแต่งผิวหินเช่นใบไม้หรือรูปอื่นๆ ทางตอนเหนือของยุโรปการแกะใบไม้บนหัวเสาจะคล้ายกับที่ เห็นในหนังสือวิจิตรมากว่าจะเป็นหัวเสาแบบคลาสสิก การแกะหัวเสาในบางส่วนของฝรั่งเศสและอิตาลีจะไปทางศิลปะไบแซน ไทน์แต่การแกะหัวเสาเป็นรูปลักษณ์ต่างๆ นอกเหนือไปจากไบไม้เป็นลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ที่สุดอย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมโร มาเนสก์ บางหัวเสาก็แกะจากตานานจากคัมภีร์ไบเบิลหรือแกะเป็นรูปคนหรือสัตว์อัปลักษณ์ หรือจากจินตนาการ หรือแกะเป็น ตา นานของนักบุญในท้องถิ่น[5]บางครั้งหัวเสาทรงสี่เหลี่ยมปาดอย่างที่กล่าวก็จะถูกบีบลงมาเหลือเป็นเพียงแป้นโดยเฉพาะเมื่อใช้กับ เสาปูนใหญ่ๆ หรือ เสาใหญ่ที่ใช้สลับกับเสาอิงเช่นที่พบที่มหาวิหารเดอแรม เป็นต้น[6]การใช้เสาในการแบ่งช่องว่างภายในตัวอาคาร การแบ่งช่องว่างภายในอาคารไม่ว่าจะเป็นวัดหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โรมาเนสก์จะใช้ซ้มุโค้งสลับกับเสาต่างๆ เป็นเครื่องแบ่ง ลักษณะที่ ง่ายที่สุดคือการใช้เสาระหว่างช่วง ที่ชูเมจส์ (Jumieges) ใช้เสากลองสูงระหว่างเสาสี่เหลี่ยม แต่ละเสาสี่เหลี่ยมก็จะรับด้วยเสาที่ เตีย้กว่า หรือที่มหาวิหารเดอแรมที่ใช้บัวและเสาแนบกับเสาสี่เหลี่ยมที่ตกแต่งอย่างสวยงาม และเสาปูนที่ใหญ่โต แต่ละเสาก็ตกแต่ง ด้วยลวดลายเรขาคณิต[9]บางครั้งความซับซ้อนของการแบ่งช่องว่างมิได้อยู่ที่การใช้เสาชนิดต่างๆ แต่อยู่ที่ตัวเสาชนิดเดียวกันที่แต่ละ อันจะก็แตกต่างจากกันเช่นที่วัดซานอัมโบรจิโอที่มิลานที่ลักษณะเพดานโค้งเป็นตัวกา กับในการบ่งลักษณะของเสาสี่เหลี่ยมสลับที่ ต้องรองรับน้า หนักมากกว่าทา ให้เสาสี่เหลี่ยมต้องสร้างให้ใหญ่กว่า[4]
  • 8. การใช้โค้งหน้าต่างและประตู โค้งในสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์เป็นครึ่งวงกลมนอกจากบางแห่งที่ยกเว้นเช่นที่มหาวิหารแซงต์ลาซาร์แห่งโอทุงในประเทศ ฝรั่งเศส และมหาวิหารมอนริอาล ที่ซิซิลีแต่เป็นส่วนน้อย ทัง้สองแห่งใช้โค้งแหลม เชื่อกันว่าการใช้โค้งครึ่งวงกลมมีอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรม อิสลาม การวางหน้าต่างจะมีขื่อเหนือหน้าต่าง ถ้าหน้าต่างใหญ่ก็จะเป็นหน้าต่างโค้ง ประตูก็เช่นกันจะเป็นโค้งครึ่งวงกลมด้านบน นอกจากประตูที่ มีเสีย้วครึ่งวงกลม หรือเสีย้วพระจันทร์ (lunette) ตกแต่งเหนือประตูที่ทาให้ประตูกลายเป็นสี่เหลี่ยม