SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 1
การรักษาดุลยภาพ
ในร่างกาย
By TASSANEEYA CHUENCHAROEN
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
ระบบหายใจ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์โครงสร้างที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สของคน
ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของคน
ระบบหมุนเวียนเลือด การลาเลียงสารในร่างกายของสัตว์
การลาเลียงสารในร่างกายของคน
ระบบน้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความสาคัญของการ
รักษาดุลยภาพในร่างกาย
สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปโครงสร้างที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บาง
ชนิด
สารวจตรวจสอบ อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุป
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์
จุดประสงค์การเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย และ
สรุปโครสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และ
กระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของคน
สืบค้นข้อมูล อภิปราย สรุป และนาเสนอผลงานที่
เกี่ยวข้องกับความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรค
ของระบบทางเดินหายใจ
ทดลอง อภิปรายและสรุปกับการวัดอัตราการหายใจ
RESPIRATION
OR
GAS EXCHANGE
...คาถามนี้มีคาตอบ...
Q1 : ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่มีโครงสร้างซับซ้อน สภาวะ
แวดล้อมมีทั้งสภาวะแวดล้อมภายนอกร่างกาย และสภาวะ
แวดล้อมภายในร่างกาย นักเรียนคิดว่าสภาวะแวดล้อมใดมี
ผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
A1 : สภาวะแวดล้อมภายในร่างกาย เพราะเซลล์สัมผัสกับ
สภาวะแวดล้อมภายในร่างกายมากกว่าสภาวะแวดล้อม
ภายนอกร่างกาย (สภาพแวดล้อมของเซลล์)
...คาถามนี้มีคาตอบ...
Q2 :ในชีวิตประจาวันสภาพแวดล้อมภายในร่างกายของ
นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงบ้างหรือไม่ จงยกตัวอย่าง
A2 : ในแต่ละวันสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น อุณหภูมิ
ของอากาศ ปริมาณน้า แร่ธาตุ และสารอาหารอื่นๆ ที่
ร่างกายรับมาจากอาหาร ทาให้สภาพแวดล้อมภายใน
ร่างกาย เช่น ความเข้มข้นของสารต่างๆ ความเป็นกรด-
เบส และอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
การแลกเปลี่ยนgas จากสิ่งแวดล้อม โดย
การนา O2 เข้าสู่ร่างกายทางระบบหมุนเวียน
เลือดเข้าสู่กระบวนการหายใจระดับเซลล์
เพื่อสร้างพลังงานเก็บในรูปของATP
( Adenosine triphosphase ) และก๊าซ CO2
ที่เกิดจากกระบวนการหายใจก็จะขับออกมา
โดยระบบหมุนเวียนเลือดเช่นกัน
บริเวณการแลกเปลี่ยนแก๊ส
1. พื้นผิวแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีขนาดพอเพียงและมี
ความบางพอเหมาะ ซึ่งเป็นลักษณะสาคัญที่สุด
2. พื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สต้องได้รับการ
รักษาให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ ความชุ่มชื้นที่ผิวมีความ
จาเป็นสาหรับการที่จะให้แก๊สละลายน้าและการผ่าน
เข้าออกจากเซลล์
บริเวณการแลกเปลี่ยนแก๊ส
3. มีกลไกและวิธีการต่างๆ ที่จะช่วยในการลาเลียง
แก๊สระหว่างพื้นที่แลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมและ
เซลล์ที่อยู่ข้างในร่างกาย
4. มีการป้ องกันพื้นที่ผิวหายใจจากอันตรายต่างๆ
โดยเฉพาะการเสียดสีและการกระทบกระเทือน
อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส (RESPIRATORY ORGAN)
1. เยื่อเซลล์ (wet body surface of small
organism)
: พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่น prokaryotes
: พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์เช่น sponges,
หนอนตัวแบน, cnidarians (เคยมีชื่อว่า
ไฟลัมซีเลนเตอราตา หรือพวกระบบประสาทเป็น
แบบร่างแห (Nerve Net))
อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส (RESPIRATORY ORGAN)
2. ผิวหนัง
:พบในไส้เดือน
3. เหงือก (gill)
:พบในสัตว์น้า เช่น ดาวทะเล หนอนทะเล หอย กุ้ง ปลา
4. ท่อลม (tracheae)
:เช่น ในแมลง
5. ปอด (lung)
:พบในสัตว์บก เช่น แมงมุม หอยทากบก และสัตว์มี
กระดูกสันหลัง
ระบบหายใจ
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
- เช่น Amoeba, Paramecium
- มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมผ่านทาง
cell membrane โดยตรง
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์
สัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
- อาศัยอยู่ในน้าและยังไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
(Sponges,Hydra, planaria )
- มีการเจริญหรือพัฒนาการของระบบเนื้อเยื่อที่ซับซ้อน
(Earthworm)
สัตว์ที่มีร่างกายขนาดใหญ่และมีระบบต่างๆซับซ้อน
(Insect, Spider, Fish, Birds etc.,)
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
- อาศัยอยู่ในน้าและยังไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด(Sponges, Hydra, planaria )
- มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมผ่านทางcell membrane โดยตรง
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
Hydra
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
- มีการเจริญหรือพัฒนาการของระบบเนื้อเยื่อที่ซับซ้อน
(Earthworm)
- มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมผ่านบริเวณผิวหนังของลาตัว
ที่เปียกชื้น
- แก๊สที่ผ่านเข้ามาและปล่อยออกนอกร่างกาย จะถูกลาเลียงโดย
อาศัยระบบหมุนเวียนเลือด
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
Earthworm
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็ก
Earthworm
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ
สัตว์ที่มีร่างกายขนาดใหญ่และมีระบบต่างๆซับซ้อน
- มีอวัยวะพิเศษเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
- เช่น ท่อลม (trachea) : พวก arthropod
เหงือก (gill)
ปอด (Lung)
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ท่อลม (trachea)
Insect
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ท่อลม (trachea)
- อากาศเข้าทางช่อง spiracle เข้าสู่ Tracheae
- มีการแตกแขนงเป็นท่อเล็กๆ เรียก Tracheoles ไปสัมผัส
กับเซลล์กล้ามเนื้อโดยตรง
- แมลงที่บินได้บางชนิดจะมี air sac ติดกับช่องหายใจในส่วน
ท้องจานวนมาก เพื่อสารองอากาศไว้ใช้ในขณะบิน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ท่อลม (trachea)
spider
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ท่อลม (trachea)
- แมงมุมไม่มีท่อลมแทรกไปตามเนื้อเยื่อต่างๆ
- แต่มีท่อลมซ้อนเป็นชั้นพับไปมาคล้ายเล่มหนังสือมี
ลักษณะคล้ายแผงและ มีหลอดเลือดนา
คาร์บอนไดออกไซด์มาแลกเปลี่ยนที่แผงท่อลมนี้แล้วรับ
ออกซิเจน
จึงเรียกโครงสร้างที่ใช้ใน
การแลกเปลี่ยนแก๊สของ
แมงมุมว่า ปอดแผง:บุคลัง (book lung)
โครงสร้างที่ใช้แลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์โดยตัวกลางเป็นน้า
ข้อดีคือทาให้ไม่ต้องระวังเกี่ยวกับการรักษาความชื้น
ให้กับอวัยวะที่ใช้แลกเปลี่ยน
ข้อเสียคือปริมาณออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในน้าเค็มและน้าอุ่น
 ดังนั้นเหงือกจึงมีวิธีดึงเอา O2 ออกมาจากน้าให้ได้มาก
ที่สุด เช่นให้น้าผ่านเหงือกตลอดเวลาเวลาจัดเรียงเส้น
เลือดฝอยให้ไหลสวนทางกับกระแสน้า
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
การแลกเปลี่ยนแก๊สของปลา
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
- เหงือกของปลามีลักษณะเป็นแผง เรียกแต่ละแผงว่า
กิลล์อาร์ช (gill arch)
- gill arch ซึ่งเป็นกระดูกอ่อน ด้านในมีลักษณะเป็นซี่ และแผ่
ออก เรียกว่า กิลล์เรเกอร์ (gill raker)
- gill raker ทาหน้าที่ป้ องกันอนุภาคขนาดใหญ่และอาหาร
ไม่ให้ไหลผ่านออกทางเหงือก
- แต่ละกิลล์อาร์ชมีแขนงออกมาเป็นซี่ๆ มากมาย เรียกแต่ละซี่
ว่ากิลล์ฟิลาเมนต์ (gill filament)
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
- แต่ละกิลล์ฟิลาเมนต์ มีส่วนที่นูนขึ้น เรียกว่า กิลล์ลาเมลลา
(gill lamella)
- ซึ่งภายในกิลล์ลาเมลลาแต่ละอันมีร่างแหของเส้นเลือด
ฝอยอยู่ เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยdiffusion-
- กิลล์ลาเมลลามีลักษณะเป็นสันนูนไม่เรียบทาให้มีการเพิ่ม
พื้นที่สัมผัสน้าได้มากขึ้น ทาให้ O2 แพร่เข้าสู่เส้นเลือด
ฝอยภายในเหงือกได้อย่างเพียงพอ
- ในขณะเดียวกัน CO2 ในเส้นเลือดฝอยก็แพร่ออกจากเส้น
เลือดฝอยเข้าสู่น้าที่อยู่รอบตัวปลาได้ดี
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เหงือก (gill)
แม้ปลาจะอยู่นิ่งๆ แต่แผ่นปิดเหงือก (operculum) ของปลาจะ
ขยับอยู่ตลอดเวลา โดยการเคลื่อนไหวจะเป็นจังหวะพอดีกับ
การอ้าปากและหุบปากของปลา การทางานที่สัมพันธ์กันเช่นนี้
ทาให้น้าซึ่งมี O2 ละลายอยู่เข้าทางปากแล้วผ่านออกทางเหงือก
ตลอดเวลา
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส Lung of frog
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส Lung of frog
- ขณะที่เป็นตัวอ่อนเรียกว่า ลูกอ๊อด อาศัยอยู่ในน้า ใช้
เหงือกที่อยู่ภายนอกตัว (external gill) ในการหายใจ
- แต่เมื่อกบเจริญเติบโตขึ้นเหงือกจะหดหาย แล้วเปลี่ยนมา
ใช้ปอดและผิวหนังในการหายใจแทน
- ทางเดินหายใจของกบประกอบด้วยรูจมูก 1 คู่ โพรงจมูก
รูจมูกภายใน 1 คู่ โพรงปาก คอหอย ช่องลมหรือ
กลอทติส (glottis)
- ปอดของกบห้อยอยู่ภายช่องในลาตัว ผนังด้านในของปอด
จะย่น ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากขึ้น
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส Lung of frog
- ที่ปอดมีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงจานวนมากเพื่อช่วยใน
การแลกเปลี่ยนและลาเลียงแก๊ส
- กบไม่มีหลอดลม ไม่มีกระบังลม ไม่มีซี่โครงและ ไม่มี
กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครง จึงมีการหายใจต่างจากสัตว์เลี้ยง
ลูก ด้วยน้านม
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
- นก (Aves) ต้องใช้พลังงานมาก
- ระบบหายใจของนกต้องมีประสิทธิภาพสูง
- ปอดของนกมีขนาดเล็ก แต่นกมีถุงลมซึ่งเจริญดีมาก
- โดยแยกออกจากปอดเป็นคู่ ๆ หลายคู่
ทั้งถุงลมด้านหน้า ถุงลมในช่องอก
ถุงลมในช่องท้องและในกระดูก
นอกจากนี้นกยังมีกระดูกซี่โครงด้วย
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
- ขณะหายใจเข้ากระดูกของนกจะลดต่าลง ถุงลม
ขยายขนาดขึ้น
- อากาศจะผ่านเข้าสู่หลอดลมผ่านปอดแล้วเข้าสู่ถุง
ลมที่อยู่ตอนท้าย ส่วนอากาศที่ใช้แล้วจะออกจาก
ปอดเข้าสู่ถุงลม ตอนหน้า ถูกขับออกจากตัวนก
ทางลมหายใจออก
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
- อากาศที่ไหลเข้าปอดเป็นอากาศที่มีปริมาณออกซิเจนสูง
ทั้งสิ้น
- อากาศไหลผ่านปอดเป็นแบบทางเดียว นกจึงได้รับ
ออกซิเจนในปริมาณสูงด้วย
- ถุงลมไม่ได้ทาหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สแต่ช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการถ่ายเทอากาศให้แก่ปอดนกเป็นอย่างดี
- นอกจากนี้ถุงลมที่แทรกอยู่ในกระดูกจะทาให้กระดูกของ
นกกลวงและเบาเหมาะต่อการบินของนก
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส สัตว์ปีก
เพื่อให้การ
หายใจของนก
ครบวงจร
นกต้องมี
การหายใจเข้า
และหายใจ
ออก 2 ครั้ง
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ปอด (Lung)
กิจกรรม ที่ 6.1 โครงสร้างภายนอกของปอดหมู หรือปอดวัว
วัสดุอุปกรณ์
1. ปอดหมูหรือปอดวัว
2. เครื่องมือผ่าตัด ถาดผ่าตัด
3. สายยางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 cm
4. ถุงมือยาง
5. ที่สูบลม
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ปอด (Lung)
วิธีการทดลอง
ให้นักเรียนสวมถุงมือยาง นาปอดไปล้างให้สะอาดและดาเนินการดังนี้
1. ให้พิจารณาลักษณะและโครงสร้างของปอด
2. ตัดหลอดลม ลองใช้นิ้วมือบีบแล้วปล่อย สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้น จากนั้นสังเกตการณ์จัดเรียงตัวของกระดูกอ่อน และรูปร่างของกระดูก
อ่อนที่ประกอบกันเป็นหลอดลม
3. ผ่าเนื้อปอด ศึกษาลักษณะภายในของปอด และขั้ว
ปอด (bronchus) ใช้สายยางสอดเข้าไปในหลอดลมแล้วใช้ที่สูบลมสูบเข้า
ไป สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง (ห้ามใช้ปากเป่า)
4. ทาเช่นเดียวกับข้อ 3. แต่เปลี่ยนบริเวณและตาแหน่งที่กรีดเนื้อปอด
5. สังเกตทางเดินของอากาศเรียงลาดับตั้งแต่กล่องเสียง ว่าจะไปสิ้นสุด
ที่ใด
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ปอดของคน (Lung)
6. วาดรูปโครงสร้างของปอดพร้อมกับชี้ส่วนประกอบ
* ปอดมีสีอะไร เพราะเหตุใดจึงมีสีเช่นนั้น
ANS.. มีสีแดงเรื่อ เพราะตามถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยไป
หล่อเลี้ยง
* ลักษณะรูปร่างและขนาดของปอดซ้าย และปอด
ขวาที่นักเรียนสังเกตได้มีความแตกต่างกันอย่างไร
ANS.. ปอดซ้ายมี 2 lobe ปอดขวามี 3 lobe ปอดซ้ายเล็กกว่า
และยาวกว่าปอดขวาเล็กน้อย เนื่องจากด้านซ้ายมีหัวใจอยู่ด้วย
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ปอดของคน (Lung)
* เมื่อใช้นิ้วมือบีบหลอดลมแล้วปล่อย หลอดลมมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ANS.. หลอดลมจะคงกลับรูปเดิม
* ลักษณะของหลอดลม การจัดเรียงตัวของกระดูก
อ่อน ลักษณะของกระดูกอ่อน และถุงลมมีความ
เหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ปอดของคน (Lung)
ANS.. หลอดลมมีลักษณะเป็นวงเรียงต่อกัน ปลาย
กระดูกอ่อนแต่ละชิ้นจะไม่ชนกันจะมีกล้ามเนื้อเชื่อม
ระหว่างปลาย (เหมือนรูปเกือกม้า) มีความยืดหยุ่นทาให้
หลอดลมไม่ตีบแบน สามารถขยายตัวได้เล็กน้อย ถุงลมมี
ปริมาณมากช่วยให้เพิ่มพื้นผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ได้มาก
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
1
3
4
2
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
1. รูจมูก (Nostril)
2. ช่องจมูกหรือโพรงจมูก (nasal cavity)
3. คอหอย (pharynx) กล่องเสียง (Larynx)
อยู่ทางส่วนหน้าของคอมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
ที่ประกอบด้วยกระดูกอ่อนซึ่งมีกล้ามเนื้อบังคับการ
เคลื่อนไหว ข้างในมีแถบเยื่อเมือกที่มีใยเอ็นยืดหยุ่น
ฝังอยู่เป็นแถบเรียกว่า สายเสียงหรือ โวคัลคอร์ด
(vocal cord)
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
4. กล่องเสียง (Larynx)
5. หลอดลม (trachea)
6. ขั้วปอด (bronchus)
7. แขนงขั้วปอดหรือหลอดลมฝอย (bronchiole)
8. ถุงลม (alveolus หรือ air sac) มีเส้นเลือดฝอย
(capillaries) ล้อมรอบ (ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน
O2 และ CO2 อย่างมีประสิทธิภาพ)
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
- ปอดของคนอยู่ในทรวงอกมีอยู่ 2 ข้าง
- ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมประมาณ 300 ล้านถุง
- แต่ละถุงมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 0.25 มิลลิเมตร
คิดเป็นพื้นที่ผิวทั้งหมดของปอด
- ทั้ง 2 ข้าง ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ประมาณ 70 ตารางเมตรหรือประมาณ
40 เท่าของพื้นที่ผิวทั่วร่างกาย
- ผนังด้านในของหลอดลมบุด้วยเซลล์บุผิวที่มีซิเลียและเซลล์ซึ่ง
ทาหน้าที่สร้างเมือกเพื่อคอยดักจับสิ่งสกปรกไม่ให้เข้าไปถึงถุงลม
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
กิจกรรมที่ 6.2 การจาลองการทางานของกล้ามเนื้อกะบังลม
วัสดุอุปกรณ์
1. กระบอกเข็มฉีดยาพลาสติกใสขนาดใหญ่ เจาะรูด้านบน 1 รู
2. ลูกโป่ง
3. จุกยางที่มีรู 1 รู
วิธีการทดลอง
1. จัดชุดการทดลองดังภาพ
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
วิธีการทดลอง
1. จัดชุดการทดลองดังภาพ
2. ดึงลูกสูบให้เลื่อนไปอยู่ด้านท้ายของกระบอกสูบ
ใช้หัวแม่มือปิดรูที่กระบอกสูบ แล้วเลื่อนลูกสูบไป
ด้านหน้า สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง แล้วดึงลูกสูบให้
ไปอยู่ จุดเดิมพร้อมทั้งสังเกตการเปลี่ยนแปลง
3. ทาซ้าข้อ 2 อีก 1 ครั้ง แต่ไม่ใช้หัวแม่มือปิดรูที่
กระบอกสูบ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
คาถาม? น่าตอบ
* ลูกโป่งเปรียบเทียบได้กับโครงสร้างใดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
* ลูกสูบเปรียบเทียบได้กับโครงสร้างใด
* ผลการทดลองครั้งแรกกับครั้งที่สองแตกต่างกันหรือไม่
เพราะเหตุใด
กลไกการหายใจเข้าออก:Ventilation mechanism
- สมองที่ควบคุมการหายใจเข้าออกของคน คือสมองส่วน
Medulla oblongata เป็นศูนย์ควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อกระดูกซี่โครง
Ventilation mechanism
-
Ventilation mechanism
กลไกขณะหายใจเข้า (Inspiration)
คือ กล้ามเนื้อซี่โครงแถบนอกจะหด
ตัว ส่วนกล้ามเนื้อซี่โครงแถบในจะ
คลายตัว กระดูกซี่โครงจะถูกยกตัว
สูงขึ้น กระดูกหน้าอก (sternum) จะ
สูงขึ้นด้วย ทาให้ด้านหน้าและด้านข้าง
ของช่องอกขยายขึ้น ความกดดันของ
ช่องอกและ ปอดลดลง ปิดขยายตัว
ตาม กะบังลมแบนราบลง ท้องจะป่อง
ออก
Ventilation mechanism
กลไกขณะหายใจออก
(Expiration) คือ กล้ามเนื้อซี่โครง
แถบในหดตัวและกล้ามเนื้อ
ซี่โครงแถบนอกคลายตัว กระดูก
ซี่โครงและกระดูกหน้าอกลด
ระดับต่าลง กะบังลม(diaphragm)
คลายตัว ความกดดันของช่องอก
และปอดสูงขึ้น ปอดแฟบลง
อากาศถูกขับออกจากปอดท้องจะ
แฟบลง
Summary :Ventilation mechanism
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
กิจกรรมที่ 6.3 ปริมาตรอากาศในลมหายใจออก
วัสดุอุปกรณ์
1. ขวดพลาสติกใสความจุ 5,000 cm3
2. บีกเกอร์ขนาด 500 cm3
3. ปากกาสาหรับทาเครื่องหมาย
4. สายยางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 cm ยาว 60 cm
5. กะละมังพลาสติกใส สูง 10 cm
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
วิธีการทดลอง
1. ใช้บีกเกอร์ตวงน้าใส่ขวดให้เต็ม โดยทาเครื่องหมาย
ทุกๆ 500 cm3 ของน้าที่เติม
2. เติมน้าให้เต็มขวด แล้วคว่าลงในกะละมังที่มีน้าสูง 5 cm
ดังรูป
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
3. นาปลายข้างหนึ่งของสายยางใส่ไว้ที่ปากขวด ดังรูป และให้
เพื่อคนหนึ่งคอยจับขวดไว้
4. สูดลมหายใจเข้าปอดเต็มที่ แล้วเป่าลมหายใจออกให้มาก
ที่สุดเพียงครั้งเดียวทางปลายสายยางอีกข้างหนึ่ง
5. สังเกตผลที่เกิดขึ้น และวัดปริมาตรของลมหายใจออกที่ไป
แทนที่น้าในขวด
6. ทาการทดลองซ้าตั้งแต่ ข้อ 2-5 อีก 2 ครั้ง และหาค่าเฉลี่ย
คาถาม? น่าตอบ
* ปริมาตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่ แต่ละครั้งเท่ากัน
หรือไม่ อย่างไร
* นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบได้อย่างไรว่า อายุ เพศ ขนาด
ของร่างกาย และกิจกรรมที่ร่างกายกระทามีผลต่อปริมาตร
ของอากาศที่หายใจออก
การหายใจ : สไปโรมิเตอร์ (Spiro meter)
การหายใจ : สไปโรมิเตอร์ (Spiro meter)
คาถาม? น่าตอบ
* จากกราฟการหายใจเข้าออกปกติ 1 ครั้ง จะมีปริมาตรของ
อากาศเท่าใด
* นักเรียนสามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด
* ปริมาตรของอากาศจากการบังคับให้มีการหายใจเข้าเต็มที่
กับการหายใจออกเต็มที่ต่างกันหรือไม่อย่างไร
* เมื่อหายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศที่ตกค้างในปอด
เป็นเท่าไร
โครงสร้างการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
Hb + O2 HbO2
CO2 + H2O H2CO3 H+ +HCO3
-
1. การควบคุมแบบอัตโนวัติ
- สมองส่วนพอนส์และเมดัลลาเป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไป
กระตุ้นกล้ามเนื้อ
- ทาให้การหายใจเข้า-ออก เกิดขึ้นได้อย่างเป็นจังหวะสม่าเสมอทั้งใน
ยามหลับและยามตื่น
2. การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ
- สมองส่วนหน้าส่วนที่เรียกว่า ซีรีบรัลคอร์เทกซ์ไฮโพทาลามัส และ
สมองส่วนหลังส่วนที่เรียกว่า ซีรีเบลลัม
- การพูด การร้องเพลง การเล่นเครื่องดนตรีประเภทเป่า การว่าย
น้า การดาน้า หรือการกลั้นหายใจ
1. นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบ
ทางเดินหายใจ โดยกล่าวถึงสาเหตุอาการ การป้องกันและ
การรักษาโรค รวมทั้งข้อมูลที่แสดงถึงสาเหตุสาคัญที่ทาให้
คนเป็นโรค เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจเป็นจานวนมาก
ของประเทศ
2. ให้นักเรียนทาออกมาในรูปของชิ้นงาน 1 ชิ้น
(ครูและนักเรียนตกลงกันว่าจะเป็นชิ้นงานอะไร)
Respiration m.5
Respiration m.5

More Related Content

What's hot

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
krusarawut
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Ratarporn Ritmaha
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 

Similar to Respiration m.5

การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Nan Nam
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
พัน พัน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
พัน พัน
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
Pandora Fern
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
kasidid20309
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Computer ITSWKJ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
น๊อต เอกลักษณ์
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
Thanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
Wichai Likitponrak
 
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdf
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdfVertebrates_Part 2 Pisces.pdf
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdf
Ratarporn Ritmaha
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 

Similar to Respiration m.5 (20)

การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdf
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdfVertebrates_Part 2 Pisces.pdf
Vertebrates_Part 2 Pisces.pdf
 
Cell
CellCell
Cell
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 

More from Kantida SilverSoul

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
Kantida SilverSoul
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
Kantida SilverSoul
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
Kantida SilverSoul
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1
Kantida SilverSoul
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
Kantida SilverSoul
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
Kantida SilverSoul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kantida SilverSoul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
Kantida SilverSoul
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
Kantida SilverSoul
 

More from Kantida SilverSoul (14)

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคม
 
Nerve system 5.5
Nerve system 5.5Nerve system 5.5
Nerve system 5.5
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
 

Respiration m.5