SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
LIFE IN ANCIENT EGYPTIAN “ ยุคของอีโบราณ ”
ออียียิิปตต์โ์โบบรราาณ หรรือือ ไไออยคคุุปตต์ ์ เเปป็น็นหนนึ่งึ่งใในน 
ออาารยธรรมทที่เี่เกก่า่าแแกก่ท่ที่สี่สุดุดใในนโโลลก 
ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา 
มีพื้นที่ตั้งแต่ 
ตอนกลางจนถึงปากแม่นำ้าไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ 
ประเทศอียิปต์ 
อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3,150 ปี 
ก่อนคริสต์ศักราช 
โดยการรวมอำานาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือ 
และตอนใต้ 
ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนา 
อารยธรรม 
เรื่อยมากว่า 5,000 ปี 
ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลา 
หนึ่ง 
หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัย 
ของอียิปต์โบราณ 
เป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้น 
มาปกครอง 
จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย 
หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง"
งงาานจจิติตรกรรม 
งานจิตรกรรมของอียิปต์ เป็นภาพทเี่ขียน 
ไว้บนฝาผนังสุสานและวิหารต่าง ๆ สีที่ใช้ 
เขียนภาพทำาจากวัสดุทางธรรมชาติ 
ได้แก่ เขม่าไฟ สารประกอบทองแดง หรือ 
สีจากดินแล้วนำามาผสมกับนำ้าและยางไม้ 
ลักษณะของงานจิตรกรรมเป็นงานที่เน้น 
ให้เห็นรูปร่างแบน ๆ มีเส้นรอบ นอกที่คม 
ชัด จัดท่าทางของคนแสดงอิริยาบถต่าง ๆ 
ในรูปสัญลักษณ์มากกว่าแสดงความ 
เหมือนจริงตามธรรมชาติ มักเขียนอักษร 
ภาพลงในช่องว่างระหว่างรูปด้วย และ 
เน้นสัดส่วนของสิ่งสำาคัญในภาพให้ใหญ่ 
โตกว่าส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น ภาพของ 
กษัตริย์หรือฟาโรห์ จะมีขนาดใหญ่กว่า 
มเหสี และคนทั้งหลาย นิยมระบายสีสดใส
งงาานสถถาาปปัตัตยกรรม 
สถาปัตยกรรมอียิปต์ ใช้ระบบโครงสร้างเสาและคาน 
แสดงรูปทรงที่เรียบง่ายและ แข็งทื่อ ขนาดช่องว่าง 
ภายในมีเล็กน้อยและต่อเนื่องกันโดยตลอด 
สถาปัตยกรรมสำาคัญของชาวอียิปต์ได้แก่ สุสานที่ฝัง 
ศพ ซึ่งมีตั้งแต่ของประชาชนธรรมดาไปจนถึงกษัตริย์ 
ซึ่งจะมีความวิจิตร พิสดาร ใหญ่โตไปตามฐานะ และ 
อำานาจ 
ลักษณะของการสร้างสุสานที่เป็นสถาปัตยกรรม 
สำาคัญแห่งยุคก็คือ พีรามิด พีรามิดในยุคแรกเป็นแบบ 
ขั้นบันได หรือเรียกว่า มัสตาบา ต่อมามีการพัฒนา รูป 
แบบวิธีการก่อสร้างจนเป็นรูปพีรามิดที่เห็นในปัจจุบัน 
นอกจากนี้ ยังมีการสร้างวิหารเทพเจ้า เพื่อใช้ประกอบ 
พิธีกรรมของนักบวช และวิหารพิธีศพ เพื่อใช้ประกอบ 
พิธีศพ ในสมัยอาณาจักรใหม่ (1,020 ปีก่อน พ.ศ - 
พ.ศ. 510) วิหารเหล่านี้มีขนาดใหญ่โต และสวยงาม 
ทำาจากอิฐและหิน ซึ่งนำารูปแบบวิหารมาจากสมัย 
อาณาจักรกลางที่เจาะเข้าไปในหน้าผา บริเวณหุบผา 
กษัตริย์และ หุบผาราชินี ซึ่งเป็นบริเวณที่มีสุสาน
ภภูมูมิปิปัญัญญญาาแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอียิปต์เป็น 
ชนชาติที่มีความสามารถในการคิดค้น 
เทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญ ด้านต่างๆ 
เพื่อตอบสนองการดำารงชีวิต ความเชื่อทาง 
ศาสนาและการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ 
จักรวรรดิอียิปต์ เช่น ความรู้ทางคณิตศาสตร์ 
เรขาคณิต และฟิสิกส์ ได้ส่งเสริมความเจริญใน 
ด้านการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม ความรู้ด้าน 
ดาราศาสตร์ช่วยให้ชาวอียิปต์ประดิษฐ์ปฏิทิน 
รุ่นแรกๆของโลก ความสามารถในการประดิษฐ์ 
อักษรที่เรียกว่า “ไฮโรกลิฟิก” (Hieroglyphic) 
ทำาให้เกิดการบันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวกับศาสนา 
และฟาโรห์ และความเจริญทางการแพทย์ก็ 
ทำาให้ชาวอียิปต์สามารถคิดค้นวิธีผ่าตัดเพื่อ 
รักษา ผู้ป่วย ตลอดจนใช้นำ้ายารักษาศพไม่ให้ 
เน่าเปื่อย (มัมมี่) ความเจริญเหล่านี้ทำาให้สังคม 
อียิปต์เจริญรุ่งเรืองต่อเนื่องหลายพันปี สามารถ
มรดกททาางววัฒัฒนธรรม 
มหาวิหารอาบูซิมเบล ซึ่งประกอบ 
ด้วยวิหารใหญ่ของ ฟาโรห์รามเสส 
ที่ 2 และวิหารของเนเฟอร์ตารี ซึ่ง 
เป็นมเหสีที่รักของพระองค์ วิหา 
รอาบูซิมเบลงดงามยิ่งใหญ่และ 
มีชื่อก้องโลกเพราะเมื่อมีการสร้าง 
เขื่อนขนาดยักษ์ที่อัสวาน ทำาให้ 
วิหาร 17 แห่งจมอยู่ใต้นำ้า จนองค์ 
การยูเนสโก้ต้องมาช่วยยกให้พ้น 
นำ้าและมหาวิหารอาบูซิมเบลก็ถูก 
ยกขึ้นสูงจากพื้นดิน 65 เมตร ซึ่ง 
เป็นงานที่ยากมาก ใช้เวลาทั้งสิ้น 4 
ปี สิ้นค่าใช้จ่าย 40 ล้านเหรียญ 
สหรัฐ 
ภายในวิหารใหญ่มีห้องบูชาและมี 
รูปสลัก 4 องค์นั่งอยู่ หนึ่งในนั้นคือ 
ฟาโรห์รามเสสที่ 2 พร้อมด้วย 
เทพเจ้าต่างๆ อีก 3 องค์ ทุกปีวันที่ 
22 ก.พ. และวันที่ 22 ต.ค. ลำาแสง 
แรกของพระอาทิตย์จะสาดส่อง 
เข้าไปต้องรูปสลัก และว่ากันว่าวัน 
ที่ 22 กุมภาพันธ์ ตรงกับวันประสูติ 
ของฟาโรห์รามเสสที่ 2 ขณะที่วันที่
ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural landscape ) 
คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดยกรรมาธิการมรดก 
โลกว่าเป็นพื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ 
“...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” 
ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้เกิดจากการ 
พิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้น ในแวดวงของ 
มรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ 
ความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ย 
ปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติและ 
วัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก
ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
แนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิ 
ทัศน์วัฒนธรรม” มีต้นตอจาก 
ภาพเขียนภูมิทัศน์แบบ 
ประเพณีของยุโรป นับตั้งแต่ 
ประมาณ พ.ศ. 2,050 เป็นต้น 
มา ศิลปินยุโรปหลายคนได้ 
เขียนภาพภูมิทัศน์แบบตามใจ 
ผู้คน โดยย่อตัวคนในภาพ 
เขียนให้เล็กลงและจัดกลุ่มให้ 
อยู่ในภูมิทัศน์ประเภทต่างๆ ที่ 
กว้างใหญ่
ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ผู้ที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการแพร่หลาย 
แนวคิดภูมิทัศน์วัฒนธรรมได้แก่ คาร์ล 
โอ. ซาวเออร์ นักภูมิศาสตร์มนุษย์ ซาว 
เออร์มีความแน่วแน่ในการผลักดันหน่วย 
งานทางวัฒนธรรมให้มีอิทธิพลในการ 
สร้างรูปโฉมของพื้นผิวโลกในเขต 
กำาหนดเฉพาะ ในการให้นิยามนี้ ซาวเอ 
อร์บ่งชี้ว่าสิ่งแวดล้อมทางกายภาพควรคง 
ไว้ซึ่งความสำาคัญที่เป็นมัชชิมหรือ 
ตัวกลางร่วมอยู่กับกิจกรรมทาง 
วัฒนธรรมของมนุษย์ นิยามคลาสสิก 
ของซาวเออร์มีดังนี้ : 
“ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นรูปแบบที่ปั้นแต่ง 
มาจากภูมิทัศน์ธรรมชาติโดยกลุ่ม 
วัฒนธรรมกลุ่มหนึ่ง วัฒนธรรมเป็น 
ตัวการ (agent) ธรรมชาติเป็นตัวกลาง 
(medium) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมคือผลลัพธ์”
ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ประเทศอียิปต์มีสภาพ 
ภูมิประเทศและภูมิอากาศแบบ 
ทะเลทราย 
มีผลทำาให้รูปแบบการจัด 
พื้นที่มีลักษณะการใช้กำาแพง 
ปิดล้อม (enclosed garden) 
เพื่อปิดกั้นทิวทัศน์ความแห้ง 
แล้งของทะเลทรายอันเวิ้งว้าง 
กว้างไกล กำาแพงล้อมรอบ 
เป็นรูปทรงเราขาคณิต 
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือ 
สี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในมีการ 
แบ่งพื้นที่ทั้งหมดออกเป็นส่วน 
ย่อยโดยใช้กำาแพงเตี้ยๆอีก 
หลายชั้น

More Related Content

What's hot

เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22pnmn2122
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) Me'e Mildd
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)Me'e Mildd
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)Me'e Mildd
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วkittiyawir
 

What's hot (8)

A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
 

Viewers also liked

Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggis
Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggisKearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggis
Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggismarlinasitipriyati
 
ZHP Irlandia - początki
ZHP Irlandia - początkiZHP Irlandia - początki
ZHP Irlandia - początkikostienko
 
التعليم في ماليزيا
التعليم في ماليزياالتعليم في ماليزيا
التعليم في ماليزياmanalAmer
 
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...IJERA Editor
 
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cgh
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cghполногеномный скрининг эмбрионов методом A cgh
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cghDmytro Mykytenko
 
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultats
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultatsInfografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultats
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultatsFundació Jaume Bofill
 
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...IJERA Editor
 

Viewers also liked (14)

poston rec letr
poston rec letrposton rec letr
poston rec letr
 
Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggis
Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggisKearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggis
Kearifan Lokal tentang Pencemaran limbah di Sungai kampungan pondok manggis
 
Meghana Certificate
Meghana CertificateMeghana Certificate
Meghana Certificate
 
Jermaine Mcfarlane resume
Jermaine Mcfarlane resumeJermaine Mcfarlane resume
Jermaine Mcfarlane resume
 
B4 t4 include_files
B4 t4 include_filesB4 t4 include_files
B4 t4 include_files
 
KARAKTERISTIK GENERASI IBRAHIM
KARAKTERISTIK GENERASI IBRAHIMKARAKTERISTIK GENERASI IBRAHIM
KARAKTERISTIK GENERASI IBRAHIM
 
483 2001 zz_v20160101
483 2001 zz_v20160101483 2001 zz_v20160101
483 2001 zz_v20160101
 
ZHP Irlandia - początki
ZHP Irlandia - początkiZHP Irlandia - początki
ZHP Irlandia - początki
 
التعليم في ماليزيا
التعليم في ماليزياالتعليم في ماليزيا
التعليم في ماليزيا
 
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...
Increment of carbohydrate concentration of Chlorella minutissima microalgae f...
 
Sholat
SholatSholat
Sholat
 
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cgh
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cghполногеномный скрининг эмбрионов методом A cgh
полногеномный скрининг эмбрионов методом A cgh
 
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultats
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultatsInfografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultats
Infografia. LECXIT. 10 claus LECXIT. Presentació de resultats
 
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...
Improving Galacto-Oligosaccharide Content in the Production of Lactose-Reduce...
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์Aniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญาAniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพรAniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 

002 ancient egypt กัมพล

  • 1. LIFE IN ANCIENT EGYPTIAN “ ยุคของอีโบราณ ”
  • 2. ออียียิิปตต์โ์โบบรราาณ หรรือือ ไไออยคคุุปตต์ ์ เเปป็น็นหนนึ่งึ่งใในน ออาารยธรรมทที่เี่เกก่า่าแแกก่ท่ที่สี่สุดุดใในนโโลลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ ตอนกลางจนถึงปากแม่นำ้าไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3,150 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยการรวมอำานาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือ และตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนา อารยธรรม เรื่อยมากว่า 5,000 ปี ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลา หนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัย ของอียิปต์โบราณ เป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้น มาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง"
  • 3. งงาานจจิติตรกรรม งานจิตรกรรมของอียิปต์ เป็นภาพทเี่ขียน ไว้บนฝาผนังสุสานและวิหารต่าง ๆ สีที่ใช้ เขียนภาพทำาจากวัสดุทางธรรมชาติ ได้แก่ เขม่าไฟ สารประกอบทองแดง หรือ สีจากดินแล้วนำามาผสมกับนำ้าและยางไม้ ลักษณะของงานจิตรกรรมเป็นงานที่เน้น ให้เห็นรูปร่างแบน ๆ มีเส้นรอบ นอกที่คม ชัด จัดท่าทางของคนแสดงอิริยาบถต่าง ๆ ในรูปสัญลักษณ์มากกว่าแสดงความ เหมือนจริงตามธรรมชาติ มักเขียนอักษร ภาพลงในช่องว่างระหว่างรูปด้วย และ เน้นสัดส่วนของสิ่งสำาคัญในภาพให้ใหญ่ โตกว่าส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น ภาพของ กษัตริย์หรือฟาโรห์ จะมีขนาดใหญ่กว่า มเหสี และคนทั้งหลาย นิยมระบายสีสดใส
  • 4. งงาานสถถาาปปัตัตยกรรม สถาปัตยกรรมอียิปต์ ใช้ระบบโครงสร้างเสาและคาน แสดงรูปทรงที่เรียบง่ายและ แข็งทื่อ ขนาดช่องว่าง ภายในมีเล็กน้อยและต่อเนื่องกันโดยตลอด สถาปัตยกรรมสำาคัญของชาวอียิปต์ได้แก่ สุสานที่ฝัง ศพ ซึ่งมีตั้งแต่ของประชาชนธรรมดาไปจนถึงกษัตริย์ ซึ่งจะมีความวิจิตร พิสดาร ใหญ่โตไปตามฐานะ และ อำานาจ ลักษณะของการสร้างสุสานที่เป็นสถาปัตยกรรม สำาคัญแห่งยุคก็คือ พีรามิด พีรามิดในยุคแรกเป็นแบบ ขั้นบันได หรือเรียกว่า มัสตาบา ต่อมามีการพัฒนา รูป แบบวิธีการก่อสร้างจนเป็นรูปพีรามิดที่เห็นในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีการสร้างวิหารเทพเจ้า เพื่อใช้ประกอบ พิธีกรรมของนักบวช และวิหารพิธีศพ เพื่อใช้ประกอบ พิธีศพ ในสมัยอาณาจักรใหม่ (1,020 ปีก่อน พ.ศ - พ.ศ. 510) วิหารเหล่านี้มีขนาดใหญ่โต และสวยงาม ทำาจากอิฐและหิน ซึ่งนำารูปแบบวิหารมาจากสมัย อาณาจักรกลางที่เจาะเข้าไปในหน้าผา บริเวณหุบผา กษัตริย์และ หุบผาราชินี ซึ่งเป็นบริเวณที่มีสุสาน
  • 5. ภภูมูมิปิปัญัญญญาาแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอียิปต์เป็น ชนชาติที่มีความสามารถในการคิดค้น เทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญ ด้านต่างๆ เพื่อตอบสนองการดำารงชีวิต ความเชื่อทาง ศาสนาและการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ จักรวรรดิอียิปต์ เช่น ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เรขาคณิต และฟิสิกส์ ได้ส่งเสริมความเจริญใน ด้านการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม ความรู้ด้าน ดาราศาสตร์ช่วยให้ชาวอียิปต์ประดิษฐ์ปฏิทิน รุ่นแรกๆของโลก ความสามารถในการประดิษฐ์ อักษรที่เรียกว่า “ไฮโรกลิฟิก” (Hieroglyphic) ทำาให้เกิดการบันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวกับศาสนา และฟาโรห์ และความเจริญทางการแพทย์ก็ ทำาให้ชาวอียิปต์สามารถคิดค้นวิธีผ่าตัดเพื่อ รักษา ผู้ป่วย ตลอดจนใช้นำ้ายารักษาศพไม่ให้ เน่าเปื่อย (มัมมี่) ความเจริญเหล่านี้ทำาให้สังคม อียิปต์เจริญรุ่งเรืองต่อเนื่องหลายพันปี สามารถ
  • 6. มรดกททาางววัฒัฒนธรรม มหาวิหารอาบูซิมเบล ซึ่งประกอบ ด้วยวิหารใหญ่ของ ฟาโรห์รามเสส ที่ 2 และวิหารของเนเฟอร์ตารี ซึ่ง เป็นมเหสีที่รักของพระองค์ วิหา รอาบูซิมเบลงดงามยิ่งใหญ่และ มีชื่อก้องโลกเพราะเมื่อมีการสร้าง เขื่อนขนาดยักษ์ที่อัสวาน ทำาให้ วิหาร 17 แห่งจมอยู่ใต้นำ้า จนองค์ การยูเนสโก้ต้องมาช่วยยกให้พ้น นำ้าและมหาวิหารอาบูซิมเบลก็ถูก ยกขึ้นสูงจากพื้นดิน 65 เมตร ซึ่ง เป็นงานที่ยากมาก ใช้เวลาทั้งสิ้น 4 ปี สิ้นค่าใช้จ่าย 40 ล้านเหรียญ สหรัฐ ภายในวิหารใหญ่มีห้องบูชาและมี รูปสลัก 4 องค์นั่งอยู่ หนึ่งในนั้นคือ ฟาโรห์รามเสสที่ 2 พร้อมด้วย เทพเจ้าต่างๆ อีก 3 องค์ ทุกปีวันที่ 22 ก.พ. และวันที่ 22 ต.ค. ลำาแสง แรกของพระอาทิตย์จะสาดส่อง เข้าไปต้องรูปสลัก และว่ากันว่าวัน ที่ 22 กุมภาพันธ์ ตรงกับวันประสูติ ของฟาโรห์รามเสสที่ 2 ขณะที่วันที่
  • 7. ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural landscape ) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดยกรรมาธิการมรดก โลกว่าเป็นพื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้เกิดจากการ พิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้น ในแวดวงของ มรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ย ปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติและ วัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก
  • 8. ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม แนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิ ทัศน์วัฒนธรรม” มีต้นตอจาก ภาพเขียนภูมิทัศน์แบบ ประเพณีของยุโรป นับตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ. 2,050 เป็นต้น มา ศิลปินยุโรปหลายคนได้ เขียนภาพภูมิทัศน์แบบตามใจ ผู้คน โดยย่อตัวคนในภาพ เขียนให้เล็กลงและจัดกลุ่มให้ อยู่ในภูมิทัศน์ประเภทต่างๆ ที่ กว้างใหญ่
  • 9. ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ผู้ที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการแพร่หลาย แนวคิดภูมิทัศน์วัฒนธรรมได้แก่ คาร์ล โอ. ซาวเออร์ นักภูมิศาสตร์มนุษย์ ซาว เออร์มีความแน่วแน่ในการผลักดันหน่วย งานทางวัฒนธรรมให้มีอิทธิพลในการ สร้างรูปโฉมของพื้นผิวโลกในเขต กำาหนดเฉพาะ ในการให้นิยามนี้ ซาวเอ อร์บ่งชี้ว่าสิ่งแวดล้อมทางกายภาพควรคง ไว้ซึ่งความสำาคัญที่เป็นมัชชิมหรือ ตัวกลางร่วมอยู่กับกิจกรรมทาง วัฒนธรรมของมนุษย์ นิยามคลาสสิก ของซาวเออร์มีดังนี้ : “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นรูปแบบที่ปั้นแต่ง มาจากภูมิทัศน์ธรรมชาติโดยกลุ่ม วัฒนธรรมกลุ่มหนึ่ง วัฒนธรรมเป็น ตัวการ (agent) ธรรมชาติเป็นตัวกลาง (medium) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมคือผลลัพธ์”
  • 10. ภภูมูมิทิทัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ประเทศอียิปต์มีสภาพ ภูมิประเทศและภูมิอากาศแบบ ทะเลทราย มีผลทำาให้รูปแบบการจัด พื้นที่มีลักษณะการใช้กำาแพง ปิดล้อม (enclosed garden) เพื่อปิดกั้นทิวทัศน์ความแห้ง แล้งของทะเลทรายอันเวิ้งว้าง กว้างไกล กำาแพงล้อมรอบ เป็นรูปทรงเราขาคณิต รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือ สี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในมีการ แบ่งพื้นที่ทั้งหมดออกเป็นส่วน ย่อยโดยใช้กำาแพงเตี้ยๆอีก หลายชั้น