SlideShare a Scribd company logo
โวหารภาพพจน์
วิชาภาษาไทย๕ ระดับชั้น ม.๓
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โดย ครูอรุณศรี บงกชโสภิต
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ประเภทของอุปมาโวหาร
๑. อุปมา ( Simile)
๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor )
๓. ปฏิพากย์ ( Paradox )
๔. อติพจน์ ( Hyperbole )
๕. บุคลาธิษฐาน ( Personification )
๖. สัญลักษณ์ ( symbol )
๗. นามนัย ( Metonymy )
๘. สัทพจน์ ( Onematoboeia )
๑. อุปมา ( Simile)
อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้
คาเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คาว่า " เหมือน "
เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราว กับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์
ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ
ตัวอย่างเช่น
ปัญญาประดุจดังอาวุธ
ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง
ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา
จมูกเหมือนลูกชมพู่
ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ
• สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า
พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สองแก้มกัลยาดังลูกยอ
คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ
หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลาคอโตตันสั้นกลม
สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม
เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มันน่าเชยน่าชมนางเทวี
(จากเรื่องระเด่นลันได)
• สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์
(ที่มา : นิราศภูเขาทอง)
สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า
พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สองแก้มกัลยาดังลูกยอ
คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ
(ที่มา: ระเด่นลันได)
• ๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor )
อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบ
เหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย ให้
เข้าใจเอาเอง ที่สาคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคาเชื่อมเหมือนอุปมา
• ตัวอย่างเช่น
ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย
ทหารเป็นรั้วของชาติ
เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด
เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์
ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
ครูคือแม่พิมพ์ของชาติ
ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง
• ๓. ปฏิพากย์ ( Paradox )
ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคาที่มี
ความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อ
เพิ่มความหมายให้มีน้าหนักมากยิ่งขึ้น
ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้าย
กาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า น้าร้อนปลาเป็น
น้าเย็นปลาตาย
• ตัวเป็นไทยใจเป็นทาส, เธอหัวเราะทั้งน้าตา, ถึงตัวไกลใจยังอยู่กับ
น้อง
• ๔. อติพจน์ ( Hyperbole )
อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง
เพื่อเน้นความรู้สึก ทาให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง
ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่
ทาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน
• ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะ
แตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า
คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก
• อวพจน์หรืออติพจน์โวหาร เป็นการกล่าวเปรียบเทียบโดยการกล่าวให้
ผิดจากความเป็นจริง ถ้ากล่าวเกินจริงเรียกว่า อติพจน์ ถ้ากล่าวน้อยกว่า
ความเป็นจริงเรียกว่า อวพจน์ ดังตัวอย่าง
• อติพจน์ = เหนื่อยสายตัวแทบขาด
• อวพจน์ = มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว
เล็กเท่าขี้ตาแมว เพียงชั่วลัดนิ้วมือเดียว
รอสักอึดใจเดียว
• ๕. บุคลาธิษฐาน ( Personification )
บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่
ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น
โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน
หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้
แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์
( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน
หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล )
• ตัวอย่างเช่น
• มองซิ..มองทะเล บางครั้งมันบ้าบิ่น
ทะเลไม่เคยหลับใหล บางครั้งยังสะอื้น
เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน กระแทกหินดังครืนครืน
ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น ทะเลมันตื่นอยู่ร่าไป
ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ ดินนั้นถืออภิสิทธิ์ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้า
• ๖. สัญลักษณ์ ( symbol )
สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ
ส่วนใหญ่คาที่นามาแทนจะเป็นคาที่เกิดจากการเปรียบเทียบและ
ตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป
• ตัวอย่างเช่น
เมฆหมอก แทน อุปสรรค
สีดา แทน ความตาย ความชั่วร้าย
สีขาว แทน ความบริสุทธิ์
กุหลาบแดง แทน ความรัก
หงส์ แทน คนชั้นสูง
• กา แทน คนต่าต้อย
ดอกไม้ แทน ผู้หญิง
แสงสว่าง แทน สติปัญญา
เพชร แทน ความแข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ
แก้ว แทน ความดีงาม ของมีค่า
ลา แทน คนโง่ คนน่าสงสาร
สุนัขจิ้งจอก แทน คนเจ้าเล่ห์
• ๗. นามนัย ( Metonymy )
นามนัย คือการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้น
จะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วน
ทั้งหมด
• เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี
เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา
ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีมมาเลเซีย
ทีมสิงโตคาราม หมายถึง อังกฤษ
เก้าอี้ หมายถึง ตาแหน่ง
มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน
• ๘. สัทพจน์ ( Onematoboeia )
สัทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียง
ธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียง
ลม เสียงฝนตก เสียงน้าไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้
เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
• ตัวอย่างเช่น
• ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ
ลุกนกร้องจิ๊บๆ
ลูกแมวร้องเหมียว ๆ
เปรี้ยงๆ ดังเสียงฟ้าฟาด
ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสารวลสรวลสันต์
คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
• แบบทดสอบเรื่องโวหารภาพพจน์
๑) ข้อใดเป็นความหมายของโวหารแบบ “บุคคลวัต หรือบุคลาธิษฐาน”
ก. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกัน
ข. การเปรียบเทียบโดยสมมุติสิ่งต่างๆ ให้มีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย์
ค. การเชื่อมโยงความคิดหนึ่งไปสู่ความคิดอีกอย่างหนึ่ง
ง. การพลิกแพลงภาษาเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ
• ๒. ข้อใดเป็นความหมายของ “อติพจน์”
ก. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกัน
ข. โวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก
ค. การเชื่อมโยงความคิดหนึ่งไปสู่ความคิดอีกอย่างหนึ่ง
ง. การเปรียบเทียบโดยสมมุติสิ่งต่างๆ ให้มีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย์
• ๓. ตัวเป็นไทย แต่ใจเป็นทาส” เป็นการใช้โวหารแบบใด
ก. อวพจน์
ข. อติพจน์
ค. เทศนา
ง. ปฏิพากย์
• ๔. ข้อความ "ริมกระถางวางธูปรูปฝรั่ง ถึงนาทีตีระฆังดังหง่าง
เหง่ง"
คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารใด
• ก. อุปมาโวหาร
ข. อติพจน์โวหาร
ค. สัทพจน์โวหาร
ง. อุปลักษณ์โวหาร
• ๕. ข้อความ " มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมรินทร์"
คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารใด
• ก. อุปลักษณ์
ข. อุปมา
ค. สัทพจน์
ง. บุคคลวัต
• ๖. ข้อความ" นางพิมพริ้มเพราดังจันทรา เอ็งเหมือนเต่านาอยู่ต่าใต้"
คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารประเภทใด
• ก. สัทพจน์
ข. บุคคลวัต
ค. อุปมา
ง. อุปลักษณ์
• ๗. ข้อความ "
• เมื่อฟ้าหลั่งน้าตา หมู่เมฆาพากันหัวร่อ
แผ่นดินร่วมยั่วล้อ ลมรุมด่าว่าซ้าเติม"
คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารภาพพจน์ใด
• ก. บุคคลวัต
ข. สัทพจน์
ค. อุปมา
ง. อติพจน์
• ๘. ข้อความ "ชีวิตคนเราไม่ยืนยาวเหล็กเหมือนศิลา"
คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารภาพพจน์ใด
• ก. อุปลักษณ์โวหาร
ข. อุปมาโวหาร
ค. อติพจน์โวหาร
ง. สัทพจน์โวหาร
• ๙. ข้อใดใช้โวหารอติพจน์
ก. ดาริพลางนางมารอ่านพระเวท ให้สองเนตรโชติช่วงดังดวงแก้ว
ข. อสุรีมีกาลังดังปลาวาฬ ตามประมาณสามวันจะทันตัว
ค. ขอลาแล้วแก้วตาไปธานี อย่าราคีขุ่นข้องให้หมองมัว
ง. ไม่เห็นช่องตรองตรึกนึกวิตก ทุกข์ในอกนั้นสักเท่าภูเขาหลวง
• ๑๐. ข้อใดใช้โวหารภาพพจน์อุปลักษณ์
ก. อันโทษนี้ใหญ่หลวงนัก ลูกรักจักขอโทษา
อย่าให้เป็นกรรมเวรา แก่ข้าน้อยนี้สืบไป
ข. แม้นหาวเป็นดาวเดือนตะวัน ให้เห็นสาคัญประจักษ์ก่อน
เราจึ่งจะเชื่อว่าบิดร ทหารพระสี่กรอวตาร
ค. รูปกายก็คล้ายกับกู สองหูพรรณรายฉายฉาน
ฤาจะเป็นกุณฑลสุรกานต์ เหมือนมารดาสั่งความไว้
ง. อันศึกครั้งนี้ซึ่งมีมา เพราะเขาขอบุษบาเราไม่ให้
จึงเป็นเสี้ยนศัตรูหมู่ภัย น้อยใจด้วยอิเหนานัดดา
• เฉลยแบบทดสอบ
๑. ข ๒. ข ๓. ง
๔. ค ๕. ข ๖. ค
๗. ก ๘. ข ๙. ง
๑๐. ข

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
Santichon Islamic School
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
Nanthida Chattong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
Nanthida Chattong
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
คำเมย มุ่งเงินทอง
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Similar to โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี

โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
Vorramon1
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
Aon Narinchoti
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 
วรรณคดี.pptx
วรรณคดี.pptxวรรณคดี.pptx
วรรณคดี.pptx
IntelligentChannel
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
speedpiyawat
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
Manee Prakmanon
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
Kroo R WaraSri
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
ปวริศา
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
Kam
KamKam
Kamsa
 

Similar to โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี (19)

โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
วรรณคดี.pptx
วรรณคดี.pptxวรรณคดี.pptx
วรรณคดี.pptx
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Kam
KamKam
Kam
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 

More from Kornnicha Wonglai

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
Kornnicha Wonglai
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
Kornnicha Wonglai
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
Kornnicha Wonglai
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
Kornnicha Wonglai
 
โปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนโปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอน
Kornnicha Wonglai
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
Kornnicha Wonglai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kornnicha Wonglai
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
Kornnicha Wonglai
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Kornnicha Wonglai
 
77 จังหวัด
77 จังหวัด77 จังหวัด
77 จังหวัด
Kornnicha Wonglai
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
Kornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
Kornnicha Wonglai
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
Kornnicha Wonglai
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
Kornnicha Wonglai
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Kornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
Kornnicha Wonglai
 
ข่าว It-news
ข่าว It-newsข่าว It-news
ข่าว It-news
Kornnicha Wonglai
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
Kornnicha Wonglai
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It news
Kornnicha Wonglai
 

More from Kornnicha Wonglai (20)

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
โปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนโปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอน
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
77 จังหวัด
77 จังหวัด77 จังหวัด
77 จังหวัด
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ข่าว It-news
ข่าว It-newsข่าว It-news
ข่าว It-news
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It news
 

โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี

  • 1. โวหารภาพพจน์ วิชาภาษาไทย๕ ระดับชั้น ม.๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โดย ครูอรุณศรี บงกชโสภิต โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ประเภทของอุปมาโวหาร ๑. อุปมา ( Simile) ๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor ) ๓. ปฏิพากย์ ( Paradox ) ๔. อติพจน์ ( Hyperbole ) ๕. บุคลาธิษฐาน ( Personification ) ๖. สัญลักษณ์ ( symbol ) ๗. นามนัย ( Metonymy ) ๘. สัทพจน์ ( Onematoboeia )
  • 3. ๑. อุปมา ( Simile) อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้ คาเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คาว่า " เหมือน " เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราว กับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ
  • 5. • สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สองแก้มกัลยาดังลูกยอ คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลาคอโตตันสั้นกลม สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มันน่าเชยน่าชมนางเทวี (จากเรื่องระเด่นลันได)
  • 6. • สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์ (ที่มา : นิราศภูเขาทอง) สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สองแก้มกัลยาดังลูกยอ คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ (ที่มา: ระเด่นลันได)
  • 7. • ๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor ) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบ เหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย ให้ เข้าใจเอาเอง ที่สาคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคาเชื่อมเหมือนอุปมา
  • 9. • ๓. ปฏิพากย์ ( Paradox ) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคาที่มี ความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อ เพิ่มความหมายให้มีน้าหนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้าย กาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า น้าร้อนปลาเป็น น้าเย็นปลาตาย • ตัวเป็นไทยใจเป็นทาส, เธอหัวเราะทั้งน้าตา, ถึงตัวไกลใจยังอยู่กับ น้อง
  • 10. • ๔. อติพจน์ ( Hyperbole ) อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ทาให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ ทาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน
  • 11. • ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะ แตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก • อวพจน์หรืออติพจน์โวหาร เป็นการกล่าวเปรียบเทียบโดยการกล่าวให้ ผิดจากความเป็นจริง ถ้ากล่าวเกินจริงเรียกว่า อติพจน์ ถ้ากล่าวน้อยกว่า ความเป็นจริงเรียกว่า อวพจน์ ดังตัวอย่าง • อติพจน์ = เหนื่อยสายตัวแทบขาด • อวพจน์ = มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว เล็กเท่าขี้ตาแมว เพียงชั่วลัดนิ้วมือเดียว รอสักอึดใจเดียว
  • 12. • ๕. บุคลาธิษฐาน ( Personification ) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล )
  • 13. • ตัวอย่างเช่น • มองซิ..มองทะเล บางครั้งมันบ้าบิ่น ทะเลไม่เคยหลับใหล บางครั้งยังสะอื้น เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน กระแทกหินดังครืนครืน ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น ทะเลมันตื่นอยู่ร่าไป ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ ดินนั้นถืออภิสิทธิ์ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้า
  • 14. • ๖. สัญลักษณ์ ( symbol ) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คาที่นามาแทนจะเป็นคาที่เกิดจากการเปรียบเทียบและ ตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป • ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน อุปสรรค สีดา แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสูง
  • 15. • กา แทน คนต่าต้อย ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่าง แทน สติปัญญา เพชร แทน ความแข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ แก้ว แทน ความดีงาม ของมีค่า ลา แทน คนโง่ คนน่าสงสาร สุนัขจิ้งจอก แทน คนเจ้าเล่ห์
  • 16. • ๗. นามนัย ( Metonymy ) นามนัย คือการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่ง หนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้น จะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วน ทั้งหมด
  • 17. • เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีมมาเลเซีย ทีมสิงโตคาราม หมายถึง อังกฤษ เก้าอี้ หมายถึง ตาแหน่ง มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน
  • 18. • ๘. สัทพจน์ ( Onematoboeia ) สัทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียง ธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียง ลม เสียงฝนตก เสียงน้าไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้ เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
  • 19. • ตัวอย่างเช่น • ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ เปรี้ยงๆ ดังเสียงฟ้าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสารวลสรวลสันต์ คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
  • 20. • แบบทดสอบเรื่องโวหารภาพพจน์ ๑) ข้อใดเป็นความหมายของโวหารแบบ “บุคคลวัต หรือบุคลาธิษฐาน” ก. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกัน ข. การเปรียบเทียบโดยสมมุติสิ่งต่างๆ ให้มีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย์ ค. การเชื่อมโยงความคิดหนึ่งไปสู่ความคิดอีกอย่างหนึ่ง ง. การพลิกแพลงภาษาเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ
  • 21. • ๒. ข้อใดเป็นความหมายของ “อติพจน์” ก. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกัน ข. โวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ค. การเชื่อมโยงความคิดหนึ่งไปสู่ความคิดอีกอย่างหนึ่ง ง. การเปรียบเทียบโดยสมมุติสิ่งต่างๆ ให้มีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย์
  • 22. • ๓. ตัวเป็นไทย แต่ใจเป็นทาส” เป็นการใช้โวหารแบบใด ก. อวพจน์ ข. อติพจน์ ค. เทศนา ง. ปฏิพากย์
  • 23. • ๔. ข้อความ "ริมกระถางวางธูปรูปฝรั่ง ถึงนาทีตีระฆังดังหง่าง เหง่ง" คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารใด • ก. อุปมาโวหาร ข. อติพจน์โวหาร ค. สัทพจน์โวหาร ง. อุปลักษณ์โวหาร
  • 24. • ๕. ข้อความ " มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร ดังเวไชยันต์อมรินทร์" คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารใด • ก. อุปลักษณ์ ข. อุปมา ค. สัทพจน์ ง. บุคคลวัต
  • 25. • ๖. ข้อความ" นางพิมพริ้มเพราดังจันทรา เอ็งเหมือนเต่านาอยู่ต่าใต้" คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารประเภทใด • ก. สัทพจน์ ข. บุคคลวัต ค. อุปมา ง. อุปลักษณ์
  • 26. • ๗. ข้อความ " • เมื่อฟ้าหลั่งน้าตา หมู่เมฆาพากันหัวร่อ แผ่นดินร่วมยั่วล้อ ลมรุมด่าว่าซ้าเติม" คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารภาพพจน์ใด • ก. บุคคลวัต ข. สัทพจน์ ค. อุปมา ง. อติพจน์
  • 27. • ๘. ข้อความ "ชีวิตคนเราไม่ยืนยาวเหล็กเหมือนศิลา" คาประพันธ์ข้างต้นใช้โวหารภาพพจน์ใด • ก. อุปลักษณ์โวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. อติพจน์โวหาร ง. สัทพจน์โวหาร
  • 28. • ๙. ข้อใดใช้โวหารอติพจน์ ก. ดาริพลางนางมารอ่านพระเวท ให้สองเนตรโชติช่วงดังดวงแก้ว ข. อสุรีมีกาลังดังปลาวาฬ ตามประมาณสามวันจะทันตัว ค. ขอลาแล้วแก้วตาไปธานี อย่าราคีขุ่นข้องให้หมองมัว ง. ไม่เห็นช่องตรองตรึกนึกวิตก ทุกข์ในอกนั้นสักเท่าภูเขาหลวง
  • 29. • ๑๐. ข้อใดใช้โวหารภาพพจน์อุปลักษณ์ ก. อันโทษนี้ใหญ่หลวงนัก ลูกรักจักขอโทษา อย่าให้เป็นกรรมเวรา แก่ข้าน้อยนี้สืบไป ข. แม้นหาวเป็นดาวเดือนตะวัน ให้เห็นสาคัญประจักษ์ก่อน เราจึ่งจะเชื่อว่าบิดร ทหารพระสี่กรอวตาร ค. รูปกายก็คล้ายกับกู สองหูพรรณรายฉายฉาน ฤาจะเป็นกุณฑลสุรกานต์ เหมือนมารดาสั่งความไว้ ง. อันศึกครั้งนี้ซึ่งมีมา เพราะเขาขอบุษบาเราไม่ให้ จึงเป็นเสี้ยนศัตรูหมู่ภัย น้อยใจด้วยอิเหนานัดดา
  • 30. • เฉลยแบบทดสอบ ๑. ข ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ข ๖. ค ๗. ก ๘. ข ๙. ง ๑๐. ข