SlideShare a Scribd company logo
1 of 104
Download to read offline
สภาพภูมิศาสตร์
จีนมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 906 ล้านตารางกิโลเมตร ถือได้ว่า
เป็นประเทศที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในเอเชีย พื้นที่ส่วนใหญ่
ประมาณ 2 ใน 3 ปกคลุมด้วยภูเขา เทือกเขา ที่ราบสูง ทะเลทราย
ก่อนประวัติศาสตร์ (3 ล้านปีก่อน – ก่อนคริสศตวรรษที่ 21)
มีการขุดพบซากฟอสซิลโบราณของ
‘มนุษย์อูซาน’ที่มีอายุกว่า 2,000,000 ปี
ที่อําเภออูซานในมณฑลฉงชิ่ง
โครงกระดูกมนุษย์หยวนเหมย มนุษย์
หลันเถียน มนุษย์ปักกิ่ง และ มนุษย์ถ้ํา
เครื่องมือหินกะเทาะแห่งยุคหินเก่า
ศิลปวัฒนธรรมจีน
1. แหล่งวัฒนธรรมสมัยหินเก่า
พบที่ถ้ําโจเกาเถียน ทาง
ตะวันตกเฉียงเหนือของกรุง
ปักกิ่ง มีการค้นพบโครง
กระดูกมนุษย์ปักกิ่ง และ
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทําด้วยหิน
ซากมนุษย์ปักกิ่งในโจวโข่วเตี้ยนตั้งอยู่บนภูเขาหลงกู่หมู่บ้านโจวโข่วเตี้ยนเขตฝางซานนคร
แหล่งโบราณคดีโจวโข่วเตี้ยน
ได้รวบรวมกะโหลกศีรษะมนุษย์ที่สมบูรณ์ไว้ 6 หัว
ฟอสซิลฟันของมนุษย์ปักกิ่ง กระดูกหน้าผากมนุษย์ปักกิ่งชิ้นแรกที่พบในปี ค.ศ.1929
2. แหล่งวัฒนธรรมสมัยหินใหม่
พบในแมนจูเลียและมองโกล ได้แก่แหล่งวัฒนธรรม
ยางเชา (Yang-shaow)และแหล่งวัฒนธรรมลุง
ชาน(Lung-shan)
วัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของจีน
 1.วัฒนธรรมยางเชา(Yang Shaow)
ลุ่มแม่น้ําฮวงโห พบหลักฐานที่
เป็นเครื่องปั้นดินเผามีลักษณะ
สําคัญคือเครื่องปั้นดินเผาเป็นลาย
เขียนสี มักเป็นลาย เรขาคณิต พืช
นก สัตว์ต่างๆ และพบใบหน้า
มนุษย์ สีที่ใช้เป็นสีดําหรือสีม่วง
เข้ม นอกจากนี้ยังมีการพิมพ์ลาย
หรือขูดสลักลายเป็นรูปลายจักสาน
ลายเชือกทาบ
วัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของจีน
วัฒนธรรมหลงซาน ( Lung
Shan Culture ) ลุ่มน้ําแยงซี
พบหลักฐานที่เป็น
เครื่องปั้นดินเผามีลักษณะ
สําคัญคือ เครื่องปั้นดินเผามี
เนื้อละเอียดสีดําขัดมันเงา
คุณภาพดีเนื้อบางและแกร่ง
เป็นภาชนะ 3 ขา
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ของจีน
ราชวงศ์เซี่ย (2000-1500 ก่อนคศ.)
เริ่มต้นการครองราชย์โดยการสืบสายโลหิต เป็นราชวงศ์แรกที่
ปกครองแบบพ่อสืบทอดให้ลูก โดยเริ่มจากพระเจ้าเซี่ยหวี่ ถึง
พระเจ้าลวี่กุ่ย (เซี่ยเจี๋ย) เป็นช่วงที่ผู้ปกครองมักใช้อํานาจใน
การยึดครองทรัพย์สินเป็นของส่วนตัว
เป็นช่วงที่ผู้ปกครองไม่สนใจในการปกครองมีการแย่งชิง
อํานาจ ในที่สุดถูกพวกซางรุกรานและยึดครอง
ยุคประวัติศาสตร์ของจีน
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณสมัย(ฟิวดัล) เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์
ชาง สิ้นสุดสมัยราชวงศ์โจว
ประวัติศาสตร์สมัยจักรวรรดิ เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิ๋น จนถึง
ปลายราชวงศ์ชิงหรือเช็ง
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มปลายราชวงศ์เช็งจนถึงการปฏิวัติ
เข้าสู่ระบอบสังคมนิยม
ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เริ่มตั้งแต่จีนปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองเข้าสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์จนถึงปัจจุบัน
เขตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน
อารยธรรมจีนสมัยประวัติศาสตร์
ราชวงศ์ชาง เป็นราชวงศ์แรกของจีน
มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้เป็น
ครั้งแรก พบจารึกบนกระดองเต่า
และกระดูกวัว เรื่องที่จารึกส่วนใหญ่
เป็นการทํานายโชคชะตาจึงเรียกว่า
“กระดูกเสี่ยงทาย”
มีความเชื่อเรื่องการบูชาบรรพบุรุษ
มีการปกครองแบบนครรัฐ
1. สมัยฟิวดัล (Feudul System)อํานาจอยู่กับขุนนาง
ราชวงศ์ชางหรือยิน (ปี 1766-1028 ก่อน ค.ศ. )
ศูนย์กลางความเจริญอยู่บริเวณแม่น้ําเหลืองในมลฑลเหอหนัน เหอ
เป่ย ซันตุง เรื่องราวของราชวงศ์นี้ได้มาจากอักษรจีนที่จารึกบน
กระดองเต่าและกระดูกวัว มีการแบ่งอาณาเขตเป็นแคว้นขึ้นต่อ
กษัตริย์ การปกครองคล้ายระบบศักดินา มีชนชั้นปกครองที่
เข้มแข็งกองทัพมีประสิทธิภาพ เนื่องจากต้องทําสงครามเผ่าต่าง
ตลอดเวลา และสร้างระบบความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนา
เพื่อเสริมสร้างบารมีของกษัตริย์
ลักษณะทางสังคม
มีการแบ่งชนชั้นโดยใช้ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจเป็น
ตัวกําหนด
- ชนชั้นสูงบ้านเรือนมุงหลังคาด้วยกระเบื้องมีรั้วรอบ
- ชนชั้นต่ําบ้านคับแคบ อึดอัด
◊นับถือเทพเจ้าในธรรมชาติ บรรพบุรุษผู้ล่วงลับและเทพ
แห่งสงคราม
การสิ้นสุด
ปลายสมัยราชวงศ์ชาง ชนเผ่าทางตะวันตกของ
มณฑลฉ่านซีมีอํานาจมากขึ้นและยกทัพเข้ามาโค่น
ล้มอํานาจพร้อมทั้งสถาปนาราชวงศ์ขึ้นมาใหม่ คือ
ราชวงศ์โจว
ศิลปวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ชาง (Shang Dynasty) ประมาณ 1700 ปีก่อน
คริสตกาล มีศูนย์กลางอยู่ที่บริเวณลุ่มน้ําฮวงโห
งานศิลปวัฒนธรรมที่สําคัญ เช่น
-การเขียนตัวอักษรบนกระดูกสัตว์ เพื่อทําเป็นกระดูกเสี่ยงทาย
-การทําเครื่องสําริดโลหะ เช่นอาวุธ ภาชนะ
-การทําเครื่องปั้นดินเผา เครื่องหยก เครื่องเคลือบ
''ติ่ง''4 ขา สมัยซาง ใช้ในการเซ่นไหว้
บรรพบุรุษและบ่งบอกฐานะทางสังคม
มังกรหยกสลักเครื่องประดับสมัยซาง
กระดูกเสี่ยงทาย
ขวานสําริดรูปหน้าสัตว์
ศิลปะสมัยชาง
มังกรหยกสลัก เครื่องประดับสมัย
หยกสลักรูปคน เครื่องประดับสมัยซาง
หงส์หยกสลัก เครื่องประดับสมัย
ภาชนะบรรจุเหล้ารูปนกทําด้วยสําริดขวานสําริดรูปหน้าสัตว์
อารยธรรมจีนสมัยประวัติศาสตร์
ราชวงศ์โจวหรือจิว(1122-221 ปีก่อน ค.ศ.)แบ่งออกเป็น 2 สมัยคือ
-โจวตะวันตก (1122-771 ปีก่อน ค.ศ.) ศูนย์กลางความเจริญอยู่ภาค
ตะวันออกของเมืองซีอาน มลฑลฉ่านซี
-โจวตะวันออก (771-256 ปีก่อน ค.ศ.) ศูนย์กลางความเจริญอยู่ที่เมืองลั่ว
หยาง มลฑลเหอหนัน
 สมัยนี้มีกษัตริย์ปกครอง 35 องค์ ถือเป็นราชวงศ์ที่มีอายุยาวนานที่สุด
 ทัศนคติเกี่ยวกับอาณัติแห่งสวรรค์(เทียนหมิง) การปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
 การปกครองคล้ายระบบศักดินาของยุโรป
ความสําคัญ
เหล็กเข้ามาแทนสําริด ทําให้เกิดการบุกเบิกที่ดินอย่าง
กว้างขวาง มีการขุดคลองเพื่อการเกษตร
ความเชื่อที่ว่า จีนเป็นศูนย์กลางความเจริญของโลก ไม่
ยอมรับวัฒนธรรมของคนอื่น
เป็นยุคทองทางนักคิดและนักปราชญ์เนื่องจากความ
วุ่นวายทางการเมืองและสงคราม
ลักษณะเด่นในสมัยนี้คือ ระบบจิงเทียนหรือระบบบ่อน้ําโดย
กําหนดให้ชาวนา 8 ครอบครัวมีที่นาคนละแปลง แต่ต้อง
ทํานาร่วมกัน ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง 1 แปลง เป็นการ
เสียภาษีแก่รัฐวิธีหนึ่ง
ขุนนางสําคัญที่ร่วมบุกเบิกราชวงศ์โจว ได้แก่
เจียงซ่าง(ซ้าย) โจวกง(กลาง)และเจากง(ขวา)
„กุ้ย‟ ภาชนะใส่อาหารและเครื่องยศที่
มีพัฒนาการมาจาก „ติ่ง‟
ศิลปวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์โจว (chou
Dynasty) ประมาณ 1,122-200 ปีก่อนคริสตกาล
งานศิลปวัฒนธรรมที่สําคัญ เช่น
-การทําโลหะสําริด
-การทําภาชนะดินเผา
-การทําเครื่องเคลือบ
-การแกะสลักหยก
ประณีต กว่าสมัยราชวงศ์ชาง
ภาชนะใส่เหล้ารูปม้าศึกทําด้วยสําริด
กระเบื้องมุงหลังคาดินเผาที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในสมัยโจวตะวันตก
เครื่องหยกสลักลวดลายมังกร
เกิดลัทธิความเชื่อ 2 ลัทธิคือ
1.ลัทธิเต๋า เน้นความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ไม่ยึดมั่นใน
กฎระเบียบ ไม่เน้นเหตุผล แต่สอนให้คนรู้จักควบคุมตนเอง
2.ลัทธิขงจื้อ เน้นความมีเหตุผล และยึดมั่นในขนบธรรมเนียม
ประเพณี
นักปรัชญาที่สําคัญ ได้แก่ เม่งจื้อ ขงจื้อ เล่าจื้อ โม่จื้อ
งานด้านวรรณกรรมและปรัชญา
 เล่าจื๊อ นักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงชาวจีนที่สุด
ท่านหนึ่งของชนชาติจีน ที่เชื่อกันว่าอาศัย
อยู่ในช่วง 400 ปี ก่อน ค.ศ. ในช่วงของ
สงครามปรัชญา และสงครามการเมืองยุค
ชุนชิว เล่าจื๊อได้เขียนตําราอันเป็นแบบ
แผนในทางเต๋า นั่นคือ "เต๋าเต็กเก็ง" ซึ่ง
เป็นผลงานทางลัทธิเต๋าที่ยังคงตกทอด
มาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่
เชี่ยวชาญทางเต๋า ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์
 เล่าจื๊อได้ทํางานในราชวงศ์โจว
 ขงจื้อ ขงฟู่จื่อ ขงจื่อ คงฉิว หรือ คงซ้งนี) เป็น
นักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน
คําสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปใน
สังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20
ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับ
ศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง
ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ใน
สังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ
 ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง
ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปาน
ใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่
สุดท้ายต้องร่วงโรย"
เม่งจื้อเกิดที่เองโฉเสียน อยู่ในแคว้นลู้
ปัจจุบันคือมณฑลชางตุง เม่งจื้อเกิดใน
ตระกูลหมาง เดิมชื่อหมางโก เม่งจื้อ
สาวกเอกของขงจื้อ ท่านเป็นนักตีความ
หลักปรัชญาของขงจื้อ นอกจากนั้นยัง
เป็นที่เข้าใจกันว่า มีความคิดใหม่เพิ่มเติม
อันเป็นของเขาเอง ความคิดที่สําคัญที่
เพิ่มเติมจากหลักคําสอนของขงจื้อ คือ
กําเนิดความดีความชั่วของบุคคล กษัตริย์
ปกครองประชาชนโดยคุณธรรม และ
พละกําลัง
โม่จื้อมีคําสอนอยู่ที่การมองทุกสิ่งทุกอย่าง โดยให้
ถือประโยชน์ส่วนใหญ่เป็นหลักซึ่งตรงกับ หลัก
อรรถประโยชน์นิยม ดังนั้น โมจื้อจึงเป็นคนต่อต้าน
พิธีกรรมและการสงคราม เป็นผู้นําในด้าน
ตรรกวิทยาพวกแรกของชาติจีน เขาได้กล่าวถึง
ความคิดของเขาอย่างง่ายๆดังต่อไปนี้
1. แหล่งกําเนิดของเหตุผล ควรหาได้จากความ
ชํานาญและศึกษาความคิดของผู้ที่มีความรู้ในอดีต
2. วิธีการที่จะนําไปสู่เหตุผล ควรจะตริตรองหา
ความจริงจากประสบการณ์และชีวิตของประชาชน
3. การนําเหตุผลมาปฏิบัติ ควรทําให้เป็นกฎหมาย
หรือระเบียบของรัฐบาล ควรสืบสวนดูว่าสิ่งเหล่านี้มี
ประโยชน์แก่ประเทศชาติหรือประชาชนมากน้อย
เพียงใด
เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับศีรษะชายหญิง
ศิลปะราชวงศ์โจวตะวันตก
รถศึก
ป้อมที่คุมขังโจวป๋อชั่งหรือโจวเหวินหวัง
ภาชนะใส่เหล้ารูปห่านทําด้วยสําริด
การสิ้นสุด
ราชวงศ์โจวสิ้นสุดลงเพราะกษัตริย์ไม่สามารถ
ปราบปรามจราจลและยุติสงครามระหว่างรัฐลง
ได้ แคว้นฉินรวบรวมแผ่นดินจีนเข้าเป็น
ปึกแผ่นและสถาปนาราชวงศ์ปกครองอาณาจักร
ทั้งหมด
2.สมัยสมบูรณญาสิทธิราชย์/สมัยจักรวรรดิจีน
 ปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ประกอบราชวงศ์
1.ราชวงศ์จิ๋นหรือฉิน (ปี 221-206 ก่อน ค.ศ.)
ต้นราชวงศ์จิ๋น ได้แก่ฉิน เชออ่วงตี๋(จักรพรรดิจิ๋นซี ฮ่องเต้) อดีตเป็นเจ้าผู้
ครองนครจิ๋น ได้รับการยกย่องว่าเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจีน ทํา
การปราบปรามนครรัฐใหญ่น้อยเข้าด้วยกัน ต่อมาแผ่นดินนี้รู้จักกันใน
ชื่อประเทศจีน
ศูนย์กลางการปกครองอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ําวุยในมลฑลสั่นซี สมัยนี้เป็น
จุดเริ่มต้นของการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในประเทศจีน
สมัยราชวงศ์จิ๋น เป็นราชวงศ์
แรกที่รวบรวมจีนให้เป็น
ปึกแผ่น มีความเจริญด้าน
สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นคือ
การสร้างกําแพงเมืองจีน
เพื่อป้องกันการรุกรานจาก
พวกมองโกล
พระจักรพรรดิ จิ๋น ซี ฮ่องเต้ สร้างความเข้มแข็งในส่วนกลางราชธานี
โดยสั่งเผาทําลายวรรณกรรม และประหารชีวิตนักปราชญ์จากสํานักต่างๆ
เพื่อให้ประชาชนฟังในอํานาจของผู้นํา
การปฏิวัติวัฒนธรรมที่สําคัญสมัยนี้คือ
การล้มเลิกความเชื่อเกี่ยวกับปรัชญา
ต่างๆทําลายความคิดของประชาชน
ให้เผาตําราต่างๆ ใช้หลักปรัชญา
ระบบฟาเฉีย คือ ยึดหลักกฎหมายจะ
เป็นเครื่องกําหนดควบคุม
พฤติกรรมของคนในสังคม อํานาจ
ของจักรพรรดิเป็นอํานาจสูงสุด
ฉินซีฮ่องเต้ (อิ๋งเจิ้ง)
วัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ฉิน
รวบรวมดินแดนจีนเข้าเป็นหนึ่งเดียว
ออกเหรียญและระบบแลกเปลี่ยนเงินตราเป็นมาตรฐาน
เดียวกัน
ใช้ภาษาเขียนเป็นแบบเดียวกัน
ใช้ลัทธินิติธรรมนิยม (ฟาเฉีย)เป็นหลักในการปกครอง
วางมาตรฐานการชั่ง ตวง วัด
ศิลปะราชวงศ์ฉิน
กําแพงเมืองจีน หนึ่งในผลงานมหัศจรรย์ของจิ๋นซีฮ่องเต้
หุ่นปั้นดินเผากองทัพนักรบ
ในมหาสุสานของจิ๋นซีฮ่องเต้อันลือลั่น
หุ่นปั้นดินเผากองทัพนักรบในมหาสุสานของจิ๋นซีฮ่องเต้อันลือลั่น
ชุดหยก ทําจากแผ่นหยกนับพันชิ้นเรียงร้อยด้วยเส้นไหมทองคํา
ใช้ห่อหุ้มศพของกษัตริย์หรือชนชั้นสูงในสมัยนั้นโดยเชื่อว่า
หยกเป็นสิ่งบริสุทธิ์จะช่วยรักษาสภาพศพไม่ให้เน่าเปื่อย
เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว จากการคิดค้นของจางเหิง
สร้างขึ้นในคริสตศักราช 132 ถือเป็น
เคียวเหล็ก-เครื่องมือทําการเกษตรสมัยฮั่นตะวันออก
จิ๋นตะวันตก
ตุ๊กตาดินเผาอ่านหนังสือ
พระพุทธรูปสําริด
คําจารึกที่สลักไว้บนแผ่นไม้หน้าสุสานของ
หวังหมิ่น จิ๋นตะวันตกเป็นยุคสมัยที่อักษรจีน
เริ่มพัฒนาสู่รูปแบบที่ใช้ในปัจจุบัน
จิ๋นตะวันออก
ผลงานชิ้นเอก ของนักเขียนพู่กันจีนชั้นครูหวังซีจือ
รองเท้าถักสานจากป่านปอ ปักเป็นลวดลายตัวอักษรจีน
ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูง
เครื่องแต่งกายและทรงผมของผู้หญิง ชนชั้นสูงนิยมสวมวิกมวยผมอย่างแพร่หลาย
เครื่องแต่งกายชาย นิยมแขนเสื้อหลวมกว้าง
การสิ้นสุด
ฉิน ซื่อหวง หรือ ฉิน เชออ่วงตี๋สิ้นพระชนม์เมื่อ
210 ปีก่อน ค.ศ.หลังจากนั้นราชวงศ์ฉินก็เสื่อม
ลง
2.ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อน ค.ศ.-ค.ศ.220)
เมื่อราชวงศ์จิ๋นถูกโค่นลง หลิวปังได้ปกครองจีน
และตั้งราชวงศ์ใหม่
จักรพรรดิองค์สําคัญคือจักรพรรดิวู่ตี่ ซึ่งได้
ขยายอาณาเขตจีนอย่างกว้างขวางมีความ
เจริญรุ่งเรือง ต่อมาราชวงศ์ฮั่นได้ย้ายเมืองหลวง
ไปอยู่ที่เมืองโลยาง ทางทิศตะวันออก จึงเรียก
สมัยฮั่นตะวันออก
ในระยะนี้มีการติดต่อกับอินเดีย ศาสนาพุทธ
จึงเข้ามายังประเทศจีนตาม เส้นทางสายไหม
(Silk Road)
ฮั่นเกาสูปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฮั่น
มีความเจริญด้านศิลปวัฒนธรรมดังนี้
1.ด้านการปกครอง มีการแบ่งงานออกเป็นทบวงเพื่อแบ่ง
หน้าที่รับผิดชอบ มีการสอบแเข่งขันรับราชการเป็น
ครั้งแรก(สอบจอหงวน)
2.ด้านวรรณกรรม มีการค้นพบการทํากระดาษ มีการแปล
คัมภีร์พระไตรปิฎกเป็นภาษาจีน เป็นยุคที่ให้
ความสําคัญกับนักปราชญ์อีกครั้ง โดยเฉพาะลัทธิขงจื้อ
3. ลูกคิด
4.ด้านจิตกรรม ได้รับแรงบัลดาลใจจากลัทธิเต๋าและพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 พระพุทธศาสนา เข้ามาในสมัยราชวงศ์ฮั่น
โดยพ่อค้าชาวอินเดียที่เข้ามาติดต่อค้าขาย
ในคริสต์ศตวรรษที่ 2 มีการส่งทูตไปอินเดีย
ในคริสต์ศตวรรษที่ 3-4 มีพระจีนได้เดินทางไปอินเดียเพื่อศึกษา
พระพุทธศาสนา เช่น พระฟาเหียน
ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 พระเสวียนจัง (พระถังซัมจัง)
พระพุทธศาสนาเจริญสูงสุด ได้เดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก
ที่อินเดีย (สมัยราชวงค์ถัง)
ศาสนาพุทธในจีนจะมีลัทธิเต๋าผสมอยู่
ศาสนาคริสต์
ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ทูตจีนติดเดินทางไปถึงกรุงคอนสแตนติโน
เปิล ยุโรปได้ส่งมิชชันนารีเข้ามาในสมัยพระเจ้าถังไทจง
เผยแพร่ศาสนาในจีนแต่หลังจากนั้นอีก 300 ปี ศาสนาคริสต์ก็
หายไปพร้อมๆกับศาสนาพุทธ
ศาสนาอิสลาม
ในคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 มีผู้เผยแพร่ศาสนาอิสลาม เดินทาง
จีนทางบกเป็นกองคาราวานมาแถบเอเชียกลาง มายังเมือง
กว้างตุ้ง แต่ได้รับการต่อต้าน
ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พวกมองโกลนําทหารมุสลิมเข้ามา
ช่วยรบในสงครามได้ชัยชนะ ให้อาศัยอยู่ทางภาคตะวันตก
เฉียงเหนือและเฉียงใต้ ศาสนาอิสลามไม่ค่อยได้รับความ
นิยมเพราะมีลัทธิขงจื้อ
ในปลายราชวงศ์ฮั่นมีการแย่งชิงอํานาจกัน
โดยแบ่งออกเป็นก๊กใหญ่ๆได้ 3 ก๊ก แต่ละ
ก๊กได้แบ่งแยกกันปกครองจีนเป็นระยะเวลา
เกือบ 50 ปี
สามก๊กเป็นยุคสมัยที่เกิดจากสภาพ
การคานอํานาจกันของกองกําลัง
3 ฝ่ายอันได้แก่ ก๊กวุ่ย ก๊กสู และ
ก๊กอู๋ ที่ต่างก็แย่งชิงกันเป็นใหญ่
โดยช่วงปีค.ศ. 220 นั้นเป็นเวลา
ที่วุ่นขึ้นครองอํานาจใหญ่แทน
ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก
สมัยสามก๊ก (ค.ศ.220-265)
สมัยนี้นักประวัติศาสตร์ไม่ถือว่า มีบุคคลใดสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮั่นอย่าง
ถูกต้อง จึงไม่เรียกเป็นสมัยราชวงศ์ แต่เรียกว่าสมัยสามก๊ก สมัยนี้สิ้นสุดลง
โดยการถูกรวมอยู่ใต้การปกครองของราชวงศ์สุย
บุคคลสําคัญในก๊กวุ่ย จากซ้ายมาขวา ได้แก่ โจโฉ โจผี โจสิด สุมาอี้
บุคคลสําคัญในก๊กสู จากซ้ายมาขวา ได้แก่ เล่าปี่ ขงเบ้ง กวนอู เตียหุย
บุคคลสําคัญในก๊กอู๋ จากซ้ายมาขวา ได้แก่ ซุนเจี้ยน ซุนเช่อ
ซุนกวน จิวยี่
ตะเกียงดินเผา สินค้าขึ้นชื่อของก๊กอู๋
หยางเจียน สุยเหวินตี้ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์สุย
3.ราชวงศ์สุย (ค.ศ.581-618)
เป็นสมัยแห่งการรวมประเทศจีนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จักรพรรดิบุ่นตี่
เป็นผู้ก่อตั้งเมืองหลวงอยู่ที่ฉางอัน มณฑลสั่นซี ผลงานที่สําคัญ
การสร้างถนน พระราชวัง การขุดคลองหลวงเชื่อมภาคเหนือกับภาคใต้
เข้าด้วยกัน ภาพวาดเกี่ยวกับพุทธประวัติ รูปปั้นพระโพธิสัตว์
หอไฟสัญญาณที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เตือนถึงการรุกรานของชนเผ่านอกด่าน
เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน กองไฟจะถูกจุดขึ้น และที่ด่านไกลออกไปจะจัดเตรียม
กองกําลังเพื่อรับมือกับศัตรูที่รุกรานเข้ามา
ราชลัญจกรหยกของหลี่ว์ฮองเฮาในฮั่นเกาจู่ สลักคําว่า
„หวงโฮ่วจือสี่‟(皇后之玺)ซึ่งหมายถึงราชลัญจกรในฮองเฮา
สะพานเจ้าโจวหรือสะพานหินอันจี้ อายุกว่า 1,400 ปี ได้ชื่อว่าเป็นสะพาน
โบราณที่หนึ่งแห่งแผ่นดินใช้เทคนิควิศกรรมก่อสร้างสะพานหินโค้งที่ล้ําหน้า
กล่าวกันว่าเป็นผลงานของหลู่ปัน ช่างฝีมือเอกแห่งยุค
การสิ้นสุด
จักรพรรดิได้ดําเนินการก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่น
นครหลวงฉางอานขึ้นมาใหม่ การขุดคลองเชื่อม
ภาคเหนือภาคใต้ ซึ่งโครงการเหล่านี้ต้องใช้คน
จํานวนมาก ทําให้ประชาชนเดือดร้อนและเกิดการ
ต่อต้าน
4.ราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 – 907)
ภาพเขียนฝีมือจิตรกรเอกจางเซเวียน ยุคสมัยนี้นิยม
วาดภาพคนและการดําเนินชีวิตประจําวัน
หลังแผ่นราชวงศ์สุยแผ่นดินจีนเกิดการแตกแยก หลี่หยวน สามารถ
ปราบปรามและรวมแผ่นดินจีนขึ้นใหม่เป็นปฐมกษัตริย์สมัยนี้ได้รับ
การยกย่องให้เป็นสมัยที่มีความเจริญสูงสุดในประวัติศาสตร์
พระพุทธศาสนาและลัทธิขงจื้อได้รับความเจริญควบคู่กันไป
ถังไท่จง ให้ความสําคัญต่อการรวบรวมและจัดเก็บตํารับตํารา
ความรู้วิทยาการและประวัติศาสตร์เป็นหมวดหมู่ ทั้งยังเปิดกว้างใน
การนับถือและเผยแพร่แนวคิดในลัทธิศาสนาต่างๆ เช่น พุทธศาสนา
เต๋า หยู(ลัทธิขงจื้อ) รวมทั้งศาสนาบูชาไฟของเปอร์เซีย ศาสนา
แมนนี และคริสต์ศาสนา
2. ศาสนาพุทธเจริญสูงสุด
ศิลปวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ถัง
1.ด้านวรรณกรรม เป็นช่วงที่เจริญสูงสุด มีกวีหลายคน เช่น
ลิโป ตูฟู โปซูอี๋
''ไช่หลุน'' ผู้คิดค้นปรับปรุงคุณภาพกระดาษ จนเป็นที่นิยมแพร่หลาย
3. การพิมพ์
ตําหนักหัวชิง อยู่ในเขตราชอุทยานในสมัยถังสระหัวชิง
เป็นที่มาของภาพกุ้ยเฟยสรงสนานอันเลื่องชื่อ
(ตําหนักได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ในภายหลัง)
สถูปทองคําบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ขุดพบจากห้องใต้ดินวัด
ฝ่าเหมิน (บน) ภาพวาดฝาผนังจากถ้ําผาพันพระในตุนหวง ซิ
นเกียง (ล่าง)
บูเหม่ยเหนียง หรือ บูเช็กเทียน
เป็นสนมในพระเจ้าถังไท่จง
เป็นฮองเฮาในถังเกาจงฮ่องเต้
เป็นฮองไทเฮาในพระเจ้าถังจง
จงฮ่องเต้
เป็นจักรพรรดิเมื่ออายุ 64 ปี
สิ้นพระชนม์เมื่ออายุ 81 ปี บูเช็กเทียน --- จักรพรรดินี
หนึ่งเดียวในแผ่นดิน (624 – 705)
นับเป็นบุญ ช่วยหนุนนํา หรือกรรมซัด

สวรรค์จัด ให้กําเนิด เกิดใต้ฟ้า
ฤๅนรก บีฑาคน ดลเธอมา
ลงเป็นข้า พระองค์ ใน ถังไท่จง
เป็นสตรี ถือดีมา กว่าหญิงอื่น
กล้าหยัดยืน ฝืนชะตา ที่ฟ้าส่ง
ขอลิขิต ขีดเส้นทาง อย่างทะนง
เป็นนางหงส์ คงเคียงคู่ หมู่มังกร
ภาพเขียนชีวิตประจําวันของผู้หญิงในสมัยถัง
ลายมือของหลี่ไป๋ กวีเอกแห่งยุค
ในตอนปลายราชวงศ์มีการต่อต้านวัฒนธรรมภายนอก
โดยเฉพาะศาสนาพุทธหาว่าเป็นศาสนาต่างชาติและฟื้นฟู
ลัทธิขงจื๊อใหม่
ปี ค.ศ.751 พวกเติร์กเข้าโจมตีดินแดนตอนกลางของจีน
แผ่นดินต้องแตกแยกอีกครั้งหนึ่ง ราชวงศ์เล็กๆเข้ามา
ปกครองอาณาจักรในแต่ละส่วน
การสิ้นสุดราชวงศ์ถัง
5. ราชวงศ์ซ้อง/ซ่ง (ค.ศ.960-1279)
ผู้ก่อตั้งคือจักรพรรดิไถจือ ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองไคเฟิง
มณฑลเหอหนัน เรียกราชวงศ์ซ้องเหนือ ต่อมาย้ายไปตั้งเมืองหลวง
ใหม่ทางภาคใต้ที่เมืองหังโจว มณฑลเจ้อเจียง เรียกราชวงศ์ซ้องใต้
ยุคนี้เป็นยุคที่เศรษฐกิจเจริญสูงสุด ลัทธิขงจื้อใหม่เริ่มปรากฎขึ้น
ภาพ ‚ชิงหมิงซ่างเหอถู‛ สะท้อนภาพวิถีชีวิตชาวเมืองไคเฟิง
ริมฝั่งแม่น้ําในเทศกาลเชงเม็ง ถือเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าแห่งยุค
วัฒนธรรมที่สําคัญ
ฟื้นฟูลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า
ประเพณีรัดเท้าสตรี
ประดิษฐ์เข็มทิศ ดินระเบิด
เครื่องปั้นดินเผาได้รับการยกย่องว่าสวยงาม
ศิลปะที่โดดเด่นคือ การทําเครื่องเคลือบ ซึ่งพัฒนาได้สมบูรณ์และ
สวยมากๆ
งานสลักถ้ําผาที่ต้าจู๋(มรดกโลก)
เป็นสมัยที่การวาดภาพ
เจริญสูง ภาพที่นิยมกันคือ
รูปต้นสน ภูเขา น้ําตกลํา
ธาร การทําเครื่องลายคราม
สีขาว สีน้ําเงิน มีการทอผ้า
ไหมที่ประดับลวดลายลง
บนผืนผ้า
6.ราชวงศ์หยวนหรือมองโกล (ค.ศ.1279-1368)
‚มองโกล เผ่าพันธุ์ลูกหลานแห่งเจงกีสข่านผู้ยิ่งใหญ่ ชนชาติ
จากแผ่นดินทุ่งหญ้าอันเวิ้งว้าง นักล่าผู้ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นนักขี่ม้าและ
นักยิงธนูตัวยง ได้เริ่มต้นประกาศแสนยานุภาพด้วยการยาตราทัพ
อันแข็งแกร่งบุกสู่ยุโรป ผนวกแผ่นดินซี่เซี่ยและจิน กระทั่งยึดครอง
ลงใต้มายังราชธานีของราชวงศ์ซ่ง จนจีนต้องถึงกาลผลัดแผ่นดินอีกครั้ง...‛
ราชวงศ์หยวน หรือที่เรียกในนามว่าต้าหยวน(大元) เป็น
มหาอาณาจักรที่ถูกสถาปนาขึ้นโดยชนชาติมองโกลที่อาศัย
อยู่บนที่ราบสูงทางตอนเหนือของประเทศจีน ซึ่งนับเป็น
ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีชนกลุ่มน้อยสามารถเข้ายึด
ครองอํานาจการปกครองทั่วทั้งแผ่นดินจีนได้ ชาวมองโกลที่
เชี่ยวชาญด้านการสัประยุทธ์ ครองเขตภาคกลางและพื้นที่
ทางตอนใต้ของแม่น้ําฉางเจียง (แยงซีเกียง) ไปจนถึงเขต
เอเชียตะวันตก กลางเป็นราชวงศ์ที่มีขอบเขตการปกครองที่
กว้างใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่มีประวัติศาสตร์จีนเป็นต้นมา
ช่วงศตวรรษที่ 12 ในชนเผ่ามองโกลได้บังเกิดยอด
คนที่เป็นผู้นําขึ้นคนหนึ่งนามว่า เถี่ยมู่เจิน หรือเตมู
จินที่ได้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นําของชนเผ่าด้วยการ
รวบรวมชาวมองโกลที่แตกแยกกระจัดกระจายได้
สําเร็จ จนได้รับการขนานนามเป็น ‚เจงกิสข่าน‛ใน
ปีค.ศ. 1206
มาร์โค โปโล นักเดินทางชาวอิตาเลียน ซึ่ง
ถือว่าเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางข้าม
ทวีปเอเชียและเขียนบันทึกการเดินทางถึง
สิ่งที่ได้พบได้ยินเอาไว้ในหนังสือที่ชื่อ The
Travels of Marco Polo
ในหนังสือของมาร์โค โปโลมีการบันทึกถึงรูปร่างของ
แผ่นดิน สัตว์ พืชพันธุ์ต่างๆ รวมไปถึงสิ่งประดิษฐ์ การเล่า
ถึงหินและของเหลวที่ติดไฟได้ (ถ่านหินและน้ํามัน) โดยเขา
ได้พรรณนาถึงอารยธรรมจีนว่ามีความเจริญเหนือกว่า
วัฒนธรรมและเทคโนโลยีของชาวยุโรป และระบุว่าจีนมี
แหล่งพลังงานที่ยิ่งใหญ่อยู่ 2 อย่างก็คือ “ดินปืนและ
บะหมี่”
มาร์โค โปโล ใช้เวลาเดินทาง 3 ปี กระทั่งมาถึงประเทศจีน
ด้วยวัย 20 ย่าง 21 ปี โดยเดินทางไปถึงซั่งตู และได้รับ
พระราชทานจัดงานเลี้ยงต้อนรับขึ้นในวังหลวง
ราชวงศ์หยวนเป็นราชวงศ์ที่สถาปนาขึ้นโดยชนชาติมอง
โกล มีอายุทั้งสิ้น 97 ปี และมีฮ่องเต้ทั้งหมด 11 พระองค์
(นับจากที่กุบไลข่านสถาปนาราชวงศ์) นับเป็นหนึ่งใน
ราชวงศ์ที่มีอาณาจักรกว้างใหญ่และมีความเข้มแข็งมาก
ราชวงศ์หนึ่ง ทว่าด้วยความแบ่งแยกชนชั้น ความฟุ้งเฟ้อ
การขูดรีดและการกดขี่ชาวฮั่นทําให้ต้องล่มสลายเร็วกว่าที่
ควร ซึ่งความผิดพลาดในครั้งนี้ ได้กลายมาเป็นอุทาหรณ์
ให้กับชนชั้นปกครองของราชวงศ์ชิงในยุคต่อมา
7.ราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644)
ราชวงศ์หมิงหรือต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่สถาปนาขึ้นโดยชนชาติ
ฮั่น ภายใต้กองทัพประชาชนที่นําพาโดยจูหยวนจางในปีค.ศ.
1368 ด้วยการขับไล่มองโกลออกจากแผ่นดินจีน ตั้งอิ้งเทียนฝู่
(นานกิง) ขึ้นเป็นราชธานี ใช้ชื่อรัชกาลว่าหงอู่ และขนานนาม
ตนเองเป็นหมิงไท่จู่จากนั้นทรงออกปราบปรามกองกําลังต่างๆที่
เหลืออยู่ในซื่อชวน(เสฉวน) หยุนหนัน (ยูนนาน) อีกทั้งบุกขึ้นทาง
เหนือจนแผ่นดินมีความเป็นปึกแผ่น
ปฐมฮ่องเต้ราชวงศ์หมิงนามจูหยวนจาง เดิมถือกําเนิด
ในอําเภอเพ่ย มณฑลเจียงซู มีนามว่าจูจ้งปา
ประหารขุนนาง – ยกเลิกเสนาบดี - จัดอํานาจรวมศูนย์
หลังจูหยวนจาง หรือที่ถูกขนานพระนามตามชื่อรัชกาลว่า
ฮ่องเต้หงอู่ขึ้นครองราชย์ ได้ทุ่มเทเพื่อที่จะฟื้นฟูเศรษฐกิจ สังคม
และผลผลิตในประเทศ โดยด้านหนึ่งพยายามลดภาระของประชาชน
และชาวนา ในขณะที่อีกด้านก็เร่งปฏิรูประบบการปกครองที่ไม่
เหมาะสมรวมทั้งลงโทษขุนนางที่ฉ้อราษฎร์บังหลวง
ผลงานด้านศิลปะที่โดดเด่นคือ
งานศิลปะเครื่องเคลือบ เครื่องลาย
คราม นิยมถักลูกไม้ ทํากระดาษ
ปิดผนัง และการสร้างพระราชวัง
กรุงปักกิ่ง(จักรพรรดิยง เล)
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ชาวตะวันตกได้เดินทางมายังตะวันออก
และสนใจประเทศจีน
ปัญหาภายนอกประเทศสมัยนี้คือ การรุกรานของญี่ปุ่นและอา
นารยชน
ทางด้านในประเทศเป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรมเก่าๆ การปกครอง
เลียนแบบราชวงศ์ถัง เช่น การสอบคัดเลือกและกําหนด
คุณสมบัติของข้าราชการ
การปกครองไม่มีประสิทธิภาพกษัตริย์ไว้วางใจขันทีเกินไป ข้าว
ยากมากแพง ทําให้เกิดกบฏในเขตต่างๆ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เกิดจลาจลในจีน พวกแมนจูทางเหนือได้โอกาส
ยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองจีนเป็นราชวงศ์สุดท้าย ปีค.ศ. 1644
8.ราชวงศ์แมนจูหรือราชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644-1911)
 ราชวงศ์แมนจู คงใช้ระบบการปกครอง
แบบเก่า โดยทั่วไปแล้วจีนเจริญขึ้น
โดยเฉพาะสมัยพระเจ้าคังฮี ยุงเซ็ง และ
เคียนลุ้ง หลังจากนั้นจีนก็เสื่อมลง
ตามลําดับ
 ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จีนต้องประสบ
ปัญหาเศรษฐกิจ การปกครอง ภัย
ธรรมชาติ การเพิ่มประชากร กบฏใน
แคว้นต่างๆ
 อิทธิพลการค้าของตะวันตกขยายตัว จีน
พยายามต่อต้านจนทําให้เกิดความ
ขัดแย้งกลายเป็นสงคราม เช่น
หนังสือราชโองการของฮ่องเต้คังซี
สงครามฝิ่น
สงครามจีนและญี่ปุ่น ค.ศ.1894
ปฏิรูปร้อยวัน ค.ศ.1898
เกิดกบฏนักมวยต่อต้านชาวตะวันตก
ค.ศ.1900
เป็นสมัยที่ชนชาติแมนจูเข้ามามีอํานาจการปกครองและ
เป็นราชวงศ์สุดท้ายก่อนการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองเข้าสู่ระบอบสาธารรัฐ ศิลปวัฒนธรรม ได้แก่
- การแกะสลักหยก
- การทําเครื่องเคลือบ
- การสร้างพระราชวังฤดูร้อนของพระนางซูสีไทเฮา
การบังคับให้ผู้ชายชาวจีนโกนศีรษะด้านหน้าออก
แล้วไว้ผมเปีย
ห้ามสตรีมาเป็นนางใน
ชาติตะวันตกเข้ามาคุกคาม
- ฮ่องเต้ปูยีหรือผู่อี๋ เป็นฮ่องเต้องค์สุดท้ายก่อนถูก
ญี่ปุ่นยึดครอง
ฮ่องเต้ปู่หลานคู่เอกแห่งราชวงศ์ชิง ซ้าย คังซี ขวา เฉียนหลง
แผนที่แสดงพื้นที่ของจีนที่เพิ่มขึ้นในรัชกาลของฮ่องเต้คังซี
นาฬิกาดนตรี สร้างขึ้นในกว่างโจว สมัยฮ่องเต้เฉียนหลง
เซินยาง
ปักกิ่ง
ปักกิ่ง
เหรียญเงินที่ใช้สมัยฮ่องเต้ยงเจิ้ง
กระถางกํายานของฮ่องเต้เฉียนหลง
ในรัชกาลของเฉียนหลงถือเป็นยุคทองที่รุ่งเรืองที่สุด
ของราชวงศ์ชิง มีความเจริญก้าวหน้าทางศิลปะวิทยา
กาต่างๆเป็นอันมาก
พจนานุกรมคังซี
ค.ศ. 1757หรือในรัชกาลเฉียนหลงปีที่ 22 ก็ได้มีการกาหนดให้เมือง
กว่างโจวเป็นเมืองท่าเพียงแห่งเดียวที่ได้รับการอนุญาตให้ติดต่อกับชาติ
ต่างชาติ อังกฤษได้นาเข้าใบชา ถ้วยชามเครื่องเคลือบและผ้าไหมจากจีน
เป็นจานวนมาก ในขณะที่มีสินค้าส่งออกให้จีนเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ทา
ให้อังกฤษเสียเปรียบดุลการค้าให้จีนอย่างมหาศาล
สงครามฝิ่น
ปีค.ศ. 1839 หลินเจ๋อสีว์
ผู้ตรวจการหูกว่าง สมัยฮ่องเต้เต้ากวง
ค.ศ. 1773 เพื่อถ่วงดุลการค้าที่เสียเปรียบ อังกฤษได้เริ่มนาเอาฝิ่น
เข้ามาจาหน่ายในเมืองจีน นอกจากอังกฤษแล้ว ยังมีอเมริกา
ฝรั่งเศสและรัสเซียที่ต่างก็พยายามนาเอาฝิ่นจากตุรกี และเอเชีย
กลางมาจาหน่ายในจีนเช่นกัน
การสูบฝิ่นที่เริ่มแพร่ระบาดในสังคมจีน
การปะทะกันของไท่ผิงเทียนกั๋วกับอังกฤษที่เทียนจิน
ภาพวาดการลงนามในสนธิสัญญานานกิง
 ทางการจีนจาต้องยอมเจรจาภายใต้เงื่อนไขที่ไม่ยุติธรรมอย่างยิ่ง เรียกว่า
“ร่างสนธิสัญญานานกิง” โดยสนธิสัญญาที่ถือว่าเป็นสัญญาอัปยศของจีน
นั้นมีเงื่อนไขโดยสรุปคือ
1. รัฐบาลต้าชิงจะต้องชดใช้เงินเงินทั้งสิ้น 21 ล้านตาลึง โดยแบ่งเป็นค่า
ปฏิกรรมสงคราม 12 ล้านตาลึง ค่าเสียหายให้พ่อค้าอังกฤษ 3 ล้านตาลึง และ
ค่าเสียหายจากฝิ่นอีก 6 ล้านตาลึง โดยจานวนนี้ไม่นับรวมกับ 6 ล้านตาลึงที่
จ่ายไปก่อนหน้า
2. จะต้องยกเกาะฮ่องกงให้อังกฤษ
3. เปิดเมืองท่าทั้ง 5 ได้แก่กว่างโจว เซี่ยเหมิน ฝูโจว หนิงปอ และเซี่ยงไฮ้
เป็นเมืองท่าพาณิชย์
4. ภาษีทั้งขาเข้าและขาออกของพ่อค้าอังกฤษให้เป็นไปตามการเจรจา
ของทั้ง 2 ฝ่าย
แผนที่แสดงเส้นทางการต่อสู้
ช่วงสงครามฝิ่นครั้งแรก โดยจุด
ที่มีธงคือจุดที่ทหารชิงต่อต้าน
อังกฤษ ส่วนสีชมพูคือจุดที่จีน
ถูกบังคับให้เปิดท่าเรือตาม
สนธิสัญญานานกิง
ปฏิรูปร้อยวัน ค.ศ.1898
 เกิดจากความคิดของข้าราชการหลังจากที่จีนแพ้สงครามฝิ่นแก่อังกฤษ
ค.ศ. 1482
 ในค.ศ.1898 กังยู่ไหว ได้เริ่มแผนการปฏิรูปด้วยการชักชวนชนชั้นสูง
เช่นจักรพรรดิกวางสู เรียกว่า “การปฏิรูปร้อยวัน” ในวันที่ 11 มิถุนายน-
20 กันยายน ค.ศ.1898
 เปลี่ยนรูปแบบประเทศจีนให้เป็นประเทศสมัยใหม่ เช่น กฎเกณฑ์
เกี่ยวกับการจัดราชการทหารแห่งชาติ การสอบแข่งขันของข้าราชการพล
เรือน มีการจัดตั้งราชมหาวิทยาลัยเปิดสอนศิลปะและวิชาการของฝ่าย
ตะวันตก สนับสนุนพัฒนาการค้า อุตสาหกรรม การคมนาคม
 การปฏิรูปร้อยวัน เต็มไปด้วยอุปสรรค
โดยเฉพาะพระราชชนนีซูสี อดีตผู้สาเร็จ
ราชการต่อต้านเกรงว่าพระราชอานาจของ
ตนจะหมดไป
 21 กันยายน 1898 พระราชชนนี รวบรวม
ข้าราชการกระทารัฐประหาร จับจักรพรรดิ
กวางสูไปคุมขัง แล้วพระนางขึ้นเป็น
ผู้สาเร็จราชการอีกครั้ง การปฏิรูปร้อยวันจึง
จบสิ้นลง
เกิดกบฏนักมวยต่อต้านชาวตะวันตก ค.ศ.1900
 เมื่อพระราชชนนี ซูสี เสด็จขึ้นว่าการขบวนการต่อต้านต้านชาติก็เฟื่องฟู
ในขณะนั้นมีสมาคมลับ คือ “สมาคมนักมวย” ซึ่งคอยลอบทาร้าย
มิชชันนารีและชาวตะวันตกที่เข้ามาในจีน
 ค.ศ.1900 ทูตชาวเยอรมันและนายเวรสถานทูตญี่ปุ่นถูกลอบฆ่า
มหาอานาจ 8 ประเทศ คือ อเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น รุสเซีย ออสเตรีย อิตาลี
เยอรมนี ร่วมกันจัดตั้งกองทัพนานาชาติเพื่อช่วยเหลือพวกตน ทาการ
กวาดล้างพวกนักมวยสาเร็จในปี ค.ศ. 1901
 พระราชชนนี ซูสี สวรรคตใน ค.ศ. 1908
ก่อนที่ราชวงศ์แมนจูจะถูกโค่นลง จีนมีการปฎิรูปการเปลี่ยนแปลง
การปกครองเป็นแบบกษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ แต่คนไม่พอใจและ
เกิดการปฏิวัติ
วันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ.1911 ซุนยัดเซ็นหัวหน้าสมาคมตั้งเม่งหวยหรือ
พรรคก๊กมินตั๋งได้ยึดอานาจจากราชวงศ์แมนจูสาเร็จ เรียกเหตุการณ์นี้ว่า
“การปฏิวัติสิบสิบ”
ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1912 จักพรรดิปูยี ทรงสละราชสมบัติ
ให้คณะปฏิวัติจัดตั้งการปกครองเป็นสาธารณรัฐ โดยมียวนชีไข
เป็นประธานาธิบดีคนแรก ราชวงศ์แมนจูก็สิ้นสุดลง
ดร.ซุนยัดเซ็น (ซุนจงซาน)
9 .สมัยสาธารณรัฐ (ค.ศ.1912-1949)
ยวนชีไข ได้รับตําแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนแรก ต่อมา
มีความทะเยอทะยานคิดจะฟื้นฟูระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นใหม่โดยสถาปนาตัวเองเป็น
จักรพรรดิ
ซุนยัดเซ็น ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ
ต่อมาฝ่ายต่อต้านยวนชีไขก่อกบฏ ยวนชีไขถึงแก่
อสัญกรรมใน ค.ศ.1916
 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ประชาชนเริ่มเสื่อมความนิยมใน พร
รก๊กมินตั๋ง หันมาสนใจพรรคคอมมิวนิสต์
 ในค.ศ.1949 พรรคก๊กมินตั๋ง ถูกยึดอานาจ
 รัฐบาลก๊กมินตั๋งลี้ภัยไปตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐจีนที่เกาะไต้หวัน ส่วน
พรรคคอมมิวนิสต์จีนประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน
14.สมัยสาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ.1949-ปัจจุบัน)
ค.ศ.1925 ซุนยัดเซ็น ถึงแก่อนิจกรรม เจียงไคเช็คเข้ารับตาแหน่งต่อทา
การขับไล่พวกคอมมิวนิสต์ออกจากพรรคก๊กมินตั๋ง ในค.ศ.1927-1949
รัฐบาลก๊กมินตั๋ง ต้องทาการต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์รวมตัวจากการ
สนับสนุนของรุสเซีย ซึ่งมีเหมา เจ๋อตุง เป็นผู้นาและ ต้องประสบปัญหาจาก
สงคราม ญี่ปุ่นบุกแมนจูเรียน ในค.ศ. 1931 และสงครามโลกครั้งที่ 2
10.สมัยสาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ.1949-ปัจจุบัน)
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง พรรคคอมมิวนิสต์
ขึ้นมามีอํานาจโดยการนําของเหมา เจ๋อตง โดยใช้
นโยบายเปลี่ยนประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม
และเกษตรกรรมสมัยใหม่ พรรคคอมมิวนิสต์ยึด
ที่ดินจากนายทุนนํามาแจกจ่ายให้ชาวนา โดยทํา
แบบนารวม รัฐยึดกิจการเอกชนมาเป็นของรัฐ
นโยบายก้าวกระโดด (The Great Leap Forward)
 นโยบายเศรษฐกิจเพื่อก้าวกระโดด โดยรวมสหกรณ์เข้าด้วยกันเรียกว่า
คอมมูน (Commune)
 เน้นการใช้แรงงานมนุษย์ในการผลิตมากกว่าเทคโนโลยี
ผลของนโยบาย
- ไม่ประสบผลสําเร็จ ทําให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประชาชนและ
ชาวนา
- ประชาชนอดยาก ขาดแคลนอาหาร 20 ล้านคน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (Cultural Revolution)
เกิดจากความล้มเหลวของนโยบายก้าวกระโดด เกิดความ
แตกแยกแบ่งเป็น 2 ฝ่าย
1. แนวทางปฏิรูปประเทศปฏิบัตินิยม ( นโยบายเป็น
กลาง) มี เติ้ง เสี่ยวผิงเป็นหัวหน้า
2. ฝ่ายหัวรุนแรง มี เหมา เจ๋อตงและนางเจียง จิง เป็น
ผู้นํา
เหมา เจ๋อตง ใช้นโยบายการปฏิวัติวัฒนธรรม
(Cultural Revolution) เพื่อทําร้ายผู้อื่น โดยตั้ง
ขบวนการยามแดง (The Red Guards) ซึ่งเป็นคน
หนุ่มสาว เพื่อโจมตี เจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมือง ครู
และผู้นําต่างๆ โดยกล่าวหาว่าทรยศต่ออุดมการณ์
ปฏิวัติ
อารยธรรมจีนPdf

More Related Content

What's hot

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

What's hot (20)

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

Similar to อารยธรรมจีนPdf

337271305 งานนำเสนอ1
337271305 งานนำเสนอ1337271305 งานนำเสนอ1
337271305 งานนำเสนอ1ancientvisualart
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมVisanu Euarchukiati
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ปาย' ลี่
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 

Similar to อารยธรรมจีนPdf (20)

มังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุคมังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุค
 
337271305 งานนำเสนอ1
337271305 งานนำเสนอ1337271305 งานนำเสนอ1
337271305 งานนำเสนอ1
 
Art
ArtArt
Art
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 

อารยธรรมจีนPdf