SlideShare a Scribd company logo
นางสาวจรรยพร อร่ามเลิศตระกูล ม.๖.๕ เลขที่ ๓
นางสาวณัฏฐณิ ชา นาเมือง
ม.๖.๕ เลขที่ ๙
เสนอ
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
วิชา ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา
โรงเรียนสตรีวทยา
ิ
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
ช่ วงคริสต์ ศตวรรษที่ 4-5
พวกเผ่าอนารยชนรุ กรานเข้ามาตั้งหลักแหล่ง
ในดินแดนของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
จักรพรรดิโรมันพยายามสร้างความเข้มแข็งจึงแบ่งออกเป็ น 2 ภาค
1. จักรวรรดิโรมันตะวันตก มีเมืองหลวงที่กรุ งโรม
2. จักรวรรดิโรมันตะวันออก มีเมืองหลวงที่กรุ งคอนสแตนติโนเปิ ล

Rome

แต่แทนที่จะมีการปกครองที่ดีข้ ึน ทั้ง
สองฝั่งกับทาสงครามกันเองเพื่อความ
เป็ นใหญ่

Constantinople
ค.ศ.476 สิ ้นสุดสมัยโบราณ เข้าสู่สมัยกลาง
แม่ทพเผ่าเยอรมันได้ปลดจักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
ั
ลง ดินแดนยุโรปจึงได้แตกแยกออกเป็ นอาณาจักร
ค.ศ.1453 สิ ้นสุดสมัยกลาง
จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรื อจักรวรรดิไบแซนไทน์ ล่มสลาย
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง






คริ สต์ศาสนาได้กาเนิ ดในช่วงต้นของสมัย
จักรวรรดิโรมัน ศาสดา คือ พระเยซูคริ สต์
เป็ นศาสนาต้องห้ามของจักรวรรดิโรมัน จน
จักรพรรดิคอนสแตนตินที่1 ทรงนับถือ
คริสต์ ศาสนา และต่อมา
จักรพรรดิที่โอโดซิ อสที่1
ั
ประกาศให้คริสต์ ศาสนาเป็ นศาสนาประจา
จักรวรรดิโรมัน

Jesus
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
บทบาททางสั งคม
่
คริ สต์ศาสนาเป็ นที่พ่ ึงของผูที่ปรารถนาจะหลบหนีจากความวุนวายในสังคมยุโรป
้
ในศตวรรษที่12-13 ศาสนจักรมีอานาจสู งสุ ด
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
บทบาททางสั งคม
คริ สตจักรใช้ระบบการบริ หารตามแบบโรมันเพื่อสร้างความเป็ นเอกภาพ โดยมี
กฎระเบียบและมีเป้ าหมายที่ชดเจน
ั
มนุษย์จึงต้องดาเนินชีวตตามคาสอนของศาสนาอย่างเคร่ งครัด
ิ
สั นตะปาปา (Pope)

ประมุขสู งสุ ด

คาร์ ดนัล (cardinal)
ิ

ทีปรึกษา
่

ผู้ปกครองมณฑล

อาร์ ชบิชอป (archbishop)

ระดับแขวง

บิชอป (bishop)

ผู้ปกครองดูแลโบสถ์

บาทหลวง
(priests)
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง



ถ้าผูใดเกิดความขัดเเย้งกับศาสนจักรจะต้องถูกไต่สวนและลงโทษ
้
การไล่ออกจากศาสนาหรือบัพพาชนียกรรม (excommunication) เป็ นการห้ามผู้
ต้องโทษไม่ให้เข้าร่ วมพิธีทางศาสนา ทาให้วญญาณไม่ได้หลุดพ้น
ิ
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง


การตัดขาดจากศาสนาทั้งชุ มชน (interdiction) เป็ นการลงโทษประชาชนทั้ง
ดินแดน โบสถ์ในดินแดนนั้นจะปิ ด ไม่ประกอบพิธีกรรมใดๆทั้งสิ้ น
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
บทบาททางการเมือง




ศาสนาได้เข้าไปมีส่วนร่ วมใน
ระบบกษัตริ ย ์
ระบบฟิ วดัล
ระบบศาล
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
ระบบกษัตริย์
ศาสนจักรได้มีอานาจเหนือ กษัตริ ยและขุนนางในฐานะ
์
ของผูสถาปนากษัตริ ย ์ "สั นตะปาปา“
้
ตั้งแต่สันตะปาปาลีโอที่ 3ทรงประกอบพิธีสวมมงกุฎแก่
จักรพรรดิชาร์ เลอมาญ (charlemagne ค.ศ.768-814)
จนกระทังนาไปสู่ การต่อสู ้ทางการเมืองระหว่างศาสนาและ
่
จักรพรรดิเยอรมันในสมัยกลาง
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
ระบบฟิ วดัล
ศาสนจักรได้เข้ามามีบทบาทในการยุติสงครามการเเย่งที่ดินระหว่าง
เจ้าของที่ดินต่างๆ โดยไปเกี่ยวข้องกับเจ้าของที่ดิน

ระบบศาล
ศาสนจักรได้จดระบบการพิจารณาคดีของศาล จึงอ้างสิ ทธิ
ั
ที่จะพิจารณาคดีท้ งทางศาสนาและทางโลก
ั
อิ ทธิ พลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
บทบาททางเศรษฐกิจ
ศาสนจักรเป็ นแหล่งรวมความมันคังในสมัยกลาง เนื่องจากวัดเก็บภาษี
่ ่
โดยตรงจากประชาชนภาษีน้ ีเรียกว่ า tithe เก็บร้ อยละ 10 จากรายได้ ท้งหมดของ
ั
ประชาชน
รวมถึงมีรายได้จาก เงินบารุ งศาสนา เงินเเละที่ดินที่มีผบริ จาค รายได้จากการ
ู้
ประกอบพิธีกรรม ทาให้วดมีที่ดินและทรัพย์สินเงินทองเป็ นจานวนมาก
ั
เป็ นช่วงเวลาของการสร้างอารยธรรมใหม่
ซึ่ งมีความแตกต่างจากอารยธรรมสมัยโบราณ
แบ่ งออกเป็ น 3 ระยะ
ระยะต้น
ค.ศ.476 ถึง ค.ศ.1000
เป็ นสมัยที่มีความตกต่าทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
่
นักประวัติศาสตร์ เรี ยกช่วงเวลานี้ วา ยุคมืด (Dark Ages)
ระยะต้น
การเมือง
ชนเผ่าเยอรมันได้ต้ งอาณาจักรปกครองดินแดนส่ วนต่างๆขึ้น ได้แก่
ั
เกาะอังกฤษ
Anglo Saxon Tribe

ภาคใต้ของฝรั่งเศส
Burgundian Tribe
ประเทศสเปน
Visigoth Tribe

ประเทศฝรั่งเศสเเละเบลเยียม
Frank Tribe
ประเทศอิตาลี
Lombard Tribe

Vandal Tribe
ภาคเหนือของทวีปแอฟริ กา

ประเทศอิตาลี
Ostrogoth Tribe
ระยะต้น
การเมือง
หลังจากคริ สต์ศตวรรษที่7 เหลือเพียงชนเผ่าแองโกลแซกซันในประเทศอังกฤษ
และชนเผ่าแฟรงก์ในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น
พวกแฟรงก์ในดินแดนฝรั่งเศส จึงพยายามผนวกดินแดนต่างๆเข้าเป็ นส่ วนหนึ่ ง
ของตนเป็ นพวกแรก
ระยะต้น
การเมือง
ค.ศ.800
พระเจ้าชาร์ เลอมาญ ได้รวบรวมดินแดนในยุโรป
เป็ นหนึ่งเดียวได้สาเร็ จ ได้รับการอภิเษกจาก
สันตะปาปา ภายใต้ชื่อ "จักรวรรดิโรมันอัน
ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Empire)"
ระยะต้น
การเมือง
หลังสิ้ นสมัยพระเจ้าชาร์ เลอมาญ ยุโรปถูกแบ่งเป็ น 3 ส่ วน
ต่อมากลายเป็ น ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี
ระยะต้น
เศรษฐกิจ
เมื่อชนเผ่าเยอรมันเข้ามาตั้งถิ่นฐานได้เปลี่ยนวิถีชีวตมาเป็ นเกษตรกรรมใช้
ิ
ระบบนาโล่ ง คือไม่มีการล้อมรั้วในการทาการเกษตร สามารถพึ่งพาที่ดินอื่นๆได้
เป็ นบริ เวณกว้าง
พืชที่ปลูกส่ วนใหญ่ คือข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต และข้าวบาร์ เลย์
ระยะต้น
เศรษฐกิจ
สมัยจักรพรรดิชาร์ เลอมาญได้พยายามทานุบารุ งโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ได้แก่
สร้างสะพาน ขุดคลอง จัดระบบการพาณิ ชย์ กาหนดมาตราชัง ตวง วัด ผลิตเงินตรา
่
ระยะต้น
คริสต์ ศตวรรษที่ 9
เกิดระบบฟิ วดัล (feudalism) ขึ้น

King

Pope

Knight

Noble man

Merchant
ระยะต้น
feudalism
หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านาย (lord) กับ ข้า
ในเรื่ องเกี่ยวกับการหาผลประโยชน์ของที่ดิน
เริ่ มจากกษัตริ ยมอบที่ดินให้ขนนาง เพื่อตอบแทน
์
ุ
ความดีความชอบ ขุนนางทาหน้าที่ปกครองผูคนที่
้
่
อาศัยอยูในที่ดิน และมีพนธะต่อกษัตริ ยโดยส่ งคนไป
ั
์
ช่วยรบ
ระบบฟิ วดัล (feudalism)
ระยะต้น
ซึ่ งเป็ นผลให้เกิดความจงรักภักดีระหว่างเจ้านายกับข้าโดยตรงกัน กษัตริ ยจึงไม่มี
์
อานาจในการควบคุมขุนนาง
ระยะต้น
การจัดระเบียบที่ดิน โดยขุนนางจะสร้างปราสาท เพือเป็ นศู นย์ กลาง รอบนอก
่
เป็ นหมู่บาน มีการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกือบครบวงจร ผลิตสิ่ งที่จาเป็ นสาหรับ
้
การดาเนินชิวิต รวมถึงการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ถูกเรี ยกว่าระบบ “แมเนอร์ ” (Manor)
ระยะต้น
สั งคม
ศาสนจักรทาหน้าที่แทนจักรวรรดิโรมันในการยึดเหนี่ยวประชาชนยุโรปไว้และ
รักษาวัฒนธรรมความเจริ ญต่างๆ สื บต่อมา
ระยะกลาง
ค.ศ. 1000-1350
สังคมตะวันตกมีประชากรเพิมขึ้น คริ สต์ศาสนาและระบบฟิ วดัลมีความเจริ ญรุ่ งเรื องสู งสุ ด
่
และเริ่ มพัฒนาหลายด้าน รวมทั้งภูมิปัญญา
ระยะกลาง
การเมือง
สันตะปาปามีฐานะเป็ นสถาบันสากลเป็ นระบบ และจากการครอบงาความเชื่อ
ศาสนาจึงมีความสาคัญในการสร้างความเป็ นเอกภาพของยุโรป
ศาสนจักรมีอานาจเหนือจักรพรรดิ
ทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่างสันตะปาปากับจักรพรรดิข้ ึน ส่ งผลให้ขนนางมีอานาจมากขึ้น
ุ
ระบบฟิ วดัลมีความแข็งแกร่ งเพิมขึ้น
่
ระยะกลาง
การเมือง
ในอังกฤษเกิดความขัดแย้งระหว่างพระมหากษัตริ ยกบ
์ั
ขุนนาง คณะขุนนางและพระได้กลายมาเป็ นสมาชิก
รัฐสภาของอังกฤษ

ส่ วนฝรั่งเศสกษัตริ ยกลับมีอานาจเพิ่มขึ้น กลายมาเป็ น
์
ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ในที่สุด
ระยะกลาง
เศรษฐกิจ
ระยะแรกการค้าซบเซา
เนื่องจากเกิดสงครามครู เสดระหว่างคริ สต์ศาสนากับศาสนาอิสลาม
สงครามครูเสด
จุดเริ่ มต้น คือการแย่งชิงดินแดน
ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่ งชาวมุสลิมปกครองอยู่
ดินแดนแห่งนี้เป็ นสถานที่สาคัญของสาม
ศาสนาได้แก่ อิสลาม ยูได และ คริ สต์ ใน
ปั จจุบนดินแดนแห่งนี้คือ ประเทศ
ั
อิสราเอล หรื อ ปาเลสไตน์
สงครามครูเสด
สงครามครู เสดเพื่อยึดครองแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ เกิดขึ้นครั้งแรกใน ค.ศ.1096

บทสรุ ปสงครามครู เสด
มีการทาสงครามกัน 8 ครั้ง กินระยะเวลานานกว่า 200 ปี มีผคนล้มตายกว่า 7,000,000
ู้
คน และสุ ดท้ายดินแดนศักดิ์สิทธิ ตกเป็ นของมุสลิม
ระยะกลาง
ผูคนออกไปภายนอกมากขึ้น ทาให้เกิดความต้องการสิ นค้าและอุตสาหกรรมในหัวเมืองสาคัญในอิตาลี
้

เศรษฐกิจ

เวนิส

เขตเมืองในเนเธอร์แลนด์
เจนัว
ระยะกลาง
เศรษฐกิจ
มีการตั้งศูนย์การค้าในหัวเมืองท้องถิ่น โดยเฉพาะเขตทะเลเหนือและทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน มีสินค้าจากต่างแดนแพร่ มา
ระยะปลาย
ค.ศ.1350-1500
เป็ นระยะของการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นสมัยใหม่ ความคิดแบบมนุษยนิยมเริ่ มที่
บทบาท ศาสนาถูกลดบทบาทลง
ระยะปลาย
ความเสื่ อมของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Empire)
จากการที่จกรพรรดิเยอรมันทรงพยายามรวบรวมจักรวรรดิท้ งในดินแดนอิตาลีและ
ั
ั
เยอรมัน ซึ่ งขัดกับผลประโยชน์ทางการเมืองของคริ สตจักรที่กรุ งโรม

สันตะปาปาทรงสนับสนุนสงครามการเมืองในเยอรมันเพื่อทาลายอานาจจักรพรรดิ
ผลคือ จักรพรรดิไม่มีอานาจ ดินแดนเยอรมันและอิตาลีแยกเป็ นรัฐเล็กๆ
ระยะปลาย
กาเนิดชาติรัฐ
(เริ่ มประวัติการก่อตั้งเป็ นประเทศต่าง ๆ ในยุโรป)

ค.ศ.1273 จักรพรรดิเป็ นตาแหน่งไม่มีอานาจ ขุนนางและผูครองแคว้นต่าง ๆ
้
แตกแยกออกเป็ นรัฐเล็กรัฐน้อย ระบบศักดินาเริ่ มเสื่ อมสลาย เกิดสงครามระหว่างขุน
นาง ภายในประเทศ
ขุนนางเริ่ มเสื่ อมอานาจ กษัตริ ยรวบรวมอานาจก่อตั้งเป็ น “ชาติรัฐ” ขึ้นมา
์
ระหว่างนี้ เกิดสงครามร้อยปี ระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสขึ้น
สงคราม100ปี
เป็ นความขัดแย้งระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส นาน 116 ปี นับ ค.ศ. 1337 ถึง 1453
ช่วงหลังของสงครามอังกฤษสามารถบุกเข้าไปยึดดินแดนของฝรั่งเศสได้จน
เกือบจะสิ้ นชาติ
หญิงสาว “ฌานดาร์ ค” (โจนออฟอาร์ ค) Jon of Arc สาวชาวนาผูได้รับนิมิต
้
จากพระเจ้าให้นาฝรั่งเศสไปสู่ เอกราชจากพวกอังกฤษ ต่อมาถูกฝรั่งเศสจับตัวส่ งไปให้
อังกฤษเผาทั้งเป็ น ในข้อหาว่าเป็ นแม่มด แต่พวกฝรั่งเศสขับไล่องกฤษออกจากประเทศ
ั
ได้ สาเร็ จ
ระยะปลาย
เศรษฐกิจ
คริ สต์ศตวรรษที่ 14
สงครามและกาฬโรคระบาด ทาให้ขาดแรงงาน เศรษฐกิจยุโรปเสื่ อมโทรม
ระยะปลาย
เศรษฐกิจ
คริ สต์ศตวรรษที่ 15
อุตสาหกรรมพัฒนา ระบบเศรษฐกิจกลับมารุ่ งเรื อง
เกิดกลุ่มนายทุนสนับสนุนสถาบันกษัตริ ยเ์ พื่อคุมครองกิจการตน ขุนนางและ
้
แรงงานยากจนลง ขายที่ดินให้ชนชั้นอื่นลงทุนทางด้านเกษตรกรรม
สังคมมองที่ความมังคัง
่ ่
ทาให้ ระบบฟิ วดัลยุติลง
ระยะปลาย
ชาวยุโรปเดินเรือพบดินแดนใหม่ ๆ ไปตั้งถิ่นฐานและเป็ นแหล่งวัตถุดิบ ยึดครองเป็ น
สถานีการค้า
ระยะปลาย
ระยะปลาย
ต่ อมาเกิดขบวนการนักวิชาการสายมนุษยนิยมหันไปสนใจศึกษาอารยธรรมกรีกและ
โรมัน
แยกกรอบความคิดทางศาสนาออกจากการศึกษาของตน

นำไปสู่ สมัยใหม่ ของยโรป
ุ

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
Mind Mmindds
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
พัน พัน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
Patt Thank
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 

Similar to พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
miccmickey
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
Benjawan Hengkrathok
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
จันทร์แสง บุญเทียม
 

Similar to พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง (20)

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 

More from Pannaray Kaewmarueang

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Pannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (12)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง