SlideShare a Scribd company logo
Ancient Indian
Architecture Aesthetic
History
Art
Architecture
Cultural
Heritage
อารยธรรมอินเดียกาเนิดในบริเวณที่อยู่ระหว่างแม่น้าสินธุและแม่น้าคงคา ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า “อนุทวีป” หรือเอเชียใต้ในปัจจุบัน
เป็นอารยธรรมที่เกิดจากการหล่อหลอมและผสมผสานความเจริญของชนชาติต่างๆ ที่ได้เข้ามาครอบครองและตั้งถิ่นฐาน จน
กลายเป็น “อารยธรรมอินเดีย” ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาอารยะรรมในภูมิภาคเอเชียอื่นๆ นับว่าเป็น
รากฐานสาคัญของอารยะรรมตะวันออก
Ancient Indian 01
อินเดียสมัยโบราณแบ่งเป็น 5 สมัย
1. สมัยอินโด- อารยันรุกราน (2,500- 2,000 B.C.)
2. สมัยพระเวท (2,000 -1,000 B.C.)
3. สมัยมหากาพย์ (1,000 – 500 B.C.)
4. สมัยจักรวรรดิ ( 321 B.C. – 220 A.D.)
5. สมัยคุปตะ (320-550 A.D.)
History
ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรที่อุดม
สมบูรณ์ ส่งเสริมให้ชนชาติต่างๆ ขยายอิทธิพลเข้ามา
ครอบครองอินเดีย เป็นผลให้เเกิดการผสมผสานและหล่อหลอม
อารยธรรมของชนชาติต่างๆ ที่เข้ามาปกครองอินเดีย ชนชาติที่มี
บทบาทสาคัญในการพัฒนาอารยธรรมอินเดียโบราณ ได้แก่
พวกดราวิเดียน หรือทราวิฑ (Dravidian) และอารยัน
(Aryan)
อาณาเขตอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
Ancient Indian 02
Art
ศิลปกรรมอินเดีย
งานสร้างสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่างๆของอารยธรรมอินเดียมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรมแขนงต่างๆของอินเดียจึงมัก
ปรากฏนับเนื่องในศาสนา ทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน
ความศรัทธาและความเคารพต่อศาสนาของชาวอินเดีย ทาให้มีการสร้างกฎเกณฑ์
เกี่ยวกับลักษณะของงานศิลปะต่างๆมีลักษณะร่วมกันอย่างมาก อิทธิพลศิลปะจาก
ภายนอก เช่น เปอร์เซีย กรีก แม้จะมีผลสาคัญต่อพัฒนาการทางศิลปะอินเดีย แต่ภายใน
เวลาไม่นานก็จะถูกกลมกลืนเข้ากับศิลปะอินเดีย
ศิลปกรรมของอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานในอารยธรรมลุ่มน้าสินธุ ราว 2,500 ปีก่อน
คริสต์ศักราช ในสมัยต่อมาชาวอารยันเข้ามาในอินเดีย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานงานทาง
ศิลปะของพวกอารยันวิวัฒนาการทางศิลปะของอินเดียจึงขาดช่วงเป็นเวลาเกือบพันปี
จนกระทั่งถึงสมัยพุทธกาลจึงได้ปรากฏหลักฐานทางศิลปะที่ชัดเจนขึ้นทางภาคตะวันตก
เฉียงเหนือแถบลุ่มน้าสินธุ เป็นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากจักรวรรดิเปอร์เซียและศิลปะ
แบบเฮลเลนิสติกของกรีก
อิทธิพลของศิลปะภายนอกดังกล่าวได้พัฒนามาสู่ศิลปกรรมสมัยราชวงศ์เมารยะ
ซึ่งเป็นศิลปะสมัยแรกที่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน ในช่วงสมัยนี้พระพุทธศาสนาเป็นแรง
บันดาลใจสาคัญในการสร้างสรรค์ศิลปกรรม และยังมีความสาคัญต่อสกุลศิลปะในสมัย
ต่อมา
ในสมัยราชวงศ์คุปตะ ศิลปะแขนงต่างๆได้พัฒนาไปมากจนกระทั่งได้ก่อกาเนิดยุค
ทองทางศิลปะของอินเดีย จนกระทั่งหลังศตวรรษที่ 12-13 แบบอย่างของศิลปะอิสลาม
แพร่ขยายอย่างกว้างขวาง ขณะที่ศิลปะในพระพุทธศาสนาสูญสิ้นไปและศิลปะใน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเสื่อมโทรมเป็นเวลานานหลายศตวรรษ
Ancient Indian 03
Artประติมากรรม
เกี่ยวข้องกับศาสนา ได้แก่ พระพุทธรูปแบบคันธาระ พระพุทธรูปแบบมถุรา
พระพุทธรูปแบบอมราวดี ภาพสลักนูนที่มหาพลิปุลัม ได้รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์
พระพุทธรูปแบบอมราวดี พระพุทธรูปแบบคันธาระ พระพุทธรูปแบบมถุรา
จิตรกรรม
อินเดียตามประวัติศาสตร์แล้ว วิวัฒนาการมากจากการเขียนภาพบุคคลใน
ศาสนาและพระมหากษัตริย์ จิตรกรรมอินเดียเป็นคาที่มาจากตระกูลการเขียน
หลายตระกูลที่เกิดขึ้นในอนุ ทวีปอินเดีย ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปมีตั้งแต่
จิตรกรรมฝาผนังขนาดใหญ่ของถ้าเอลเลรา (Ellora Caves) ไปจนถึงงานที่
ละเอียดลออของจุลจิตรกรรมของจิตรกรรมโมกุล และงานโลหะจากตระกูล
Tanjore ส่วนจิตรกรรมจากแคว้นคันธาระ-ตักกสิลา
เป็น จิตรกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากจิตรกรรมเปอร์เซียทางตะวันตก จิตรกรรม
ในอินเดียตะวันออกวิวัฒนาการในบริเวณตระกูลการเขียนของนาลันทา ที่เป็นงานที่
ได้รับอิทธิพลจากตานานเทพอินเดียสมัย คุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่
รุ่งเรืองที่สุดของอินเดียพบงานจิตรกรรมที่ ผนังถ้าอชันตะ เป็นภาพเขียนใน
พระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้น
และการอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ความรู้ สึก
สมจริง
นาฏศิลป์ และสังคีตศิลป์
เกี่ยวกับการฟ้ อนรา เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้าตามคัมภีร์
พระเวท ส่วน บทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ถือเป็นแบบแผนการร้องที่เก่าแก่
ที่สุดใน สังคีตศิลป์ ของอินเดีย แบ่งเป็นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานักและดนตรี
ท้องถิ่น เครื่องดนตรีสาคัญ คือ วีณา หรือพิณ ใช้สาหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย และกลอง
เป็นการแสดงที่มีการใช้ภาษาท่าในการสื่อความหมาย แสดงเพื่อเป็นการแสดง
ความเคารพต่อพระวิษณุ แหล่งกาเนิดอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย
“พระรามกับสีดาในป่า”
แบบปัญจาบ ค.ศ. 1780
ภาพจิตรกรรมบนผนังถ้าอชันตะ
Mohiniyattam
Ancient Indian 04
Architectur
สถาปัตยกรรมอินเดีย
ลักษณะเด่นของอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ คือ มีความเจริญในลักษณะสังคมเมือง มี
การวางผังเมืองที่เป็นระเบียบ บ้านเรือน แต่ละหลังมีห้องน้า และมีท่อระบายน้าเชื่อมต่อ
กับท่อระบายน้าของเมือง นอกจากนี้บ้านบางหลังยังก่อสร้างสูงถึง 3 ชั้น วัสดุก่อสร้างทา
ด้วยอิฐซึ่งมีคุณภาพดีและมีขนาดเท่ากันทุกก้อน เหล่านี้ล้วนแสดงถึงภูมิปัญญาด้าน
สถาปัตยกรรมและการก่อสร้างของพวกดราวิเดียนในอดีต
การขุดพบซากเมืองฮารัปปาและโมเฮนโจดาโรสมัยอารยธรรมลุ่มน้าสินธุทาให้เห็น
ว่าสถาปัตยกรรมอินเดียมีมาเกือบ 5,000 ปีแล้ว มีการวางผังเมืองและการก่อสร้างซึ่งเน้น
ประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความสวยงาม
หลักฐานทางสถาปัตยกรรมของอินเดียในสมัยต่อมากาหนดอายุได้ราวต้นพุทธกาล
มีการพบซากเมืองโบราณหลายสิบเมือง บริเวณสองฟากฝั่งลุ่มน้าคงคาจนถึงที่ราบลุ่ม
ปัญจาบ แต่ร่องรอยที่พบไม่ได้แสดงพัฒนาการสืบเนื่องทางสถาปัตยกรรมจากสมัยอารย
ธรรมลุ่มน้าสินธุสถาปัตยกรรมที่เป็นศิลปะอย่างชัดเจนปรากฏขึ้นในสมัยราชวงศ์เมารยะ
ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากจักรวรรดิเปอร์เซีย
ได้แก่ สถูป เสาหิน ตลอดจนฐานรากของพระราชวัง สถาปัตยกรรมดังกล่าวมัก
เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเพื่อแสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของสถานที่ หรือเพื่อเป็นอนุสรณ์
ถึงเหตุการณ์สาคัญ เช่น พระสถูปที่สาญจี เสาหินที่เมืองสารถี และพระราชวังของพระเข้า
อโศกมหาราชที่เมืองปาฏลีบุตร สถาปัตยกรรมอินเดียสมัยต่อมาเป็นสมัยที่ราชวงศ์
กุษาณะมีอานาจเหนืออินเดียทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และราชวงศ์มธุราในภาคกลาง
ของอินเดีย เกิดศิลปะสาคัญขึ้น 3 แบบ คือ ศิลปะแบบคันธาระ แบบมถุรา และแบบ
อมราวดี ซึ่งเป็นศิลปะเนื่องในพระพุทธศาสนา
ซากเมืองโบราณโมโฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา
มีอายุประมาณ 2,500-1,500 ปีก่อนศริสต์
ศักราช
Ancient Indian 05
Architectur
ซุ้มโทรณะมีปลายคานเป็ นรูป
ม้วนงอ อิทธิพลจากหัวเสาแบบ
lonic
สถูปสาญจี @ สาญจี
Ancient Indian 06
Cultural Heritag
ตราประทับแห่งลุ่มน้าสินธุ
ตราประทับนี้เป็นรูปช้าง
รูปปั้นพระศิวะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าสาคัญที่สุด
องค์หนึ่งของศาสนาฮินดู
กาลังร่ายร่าอยู่บนมารคือโมหะ
เครื่องมือเก็บเกี่ยวในสมัยโบราณ
สาหรับชาวนาดายหญ้าและปรับ
หน้าดิน
รูปปั้นที่ค้นพบจากเมืองโบราณ
มเหนโจ-ดาโร
Ancient Indian 07
Cultural Heritag
'ถ้าอชันตา'ปฏิมากรรมพุทธศาสนาเก่าแก่ที่สุดในโลก
ถ้าอชันตา (Ajanta Caves) เมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฎร์ ประเทศ
อินเดีย ได้ชื่อว่าเป็น วัดถ้าในพุทธศาสนาที่งดงามและเก่าแก่ที่สุดในโลก สร้างเมื่อ
พ.ศ.๓๕๐ โดยพระภิกษุในสมัยนั้นได้ค้นพบสถานที่แห่งนี้เห็นว่าเป็นสถานที่เหมาะ
สาหรับการปฏิบัติธรรมกรรมฐานเป็นอย่างยิ่ง จึงได้เจาะภูเขาเพื่อสร้ างเป็นกุฏิ
โบสถ์ วิหาร ฯลฯ เพื่ออาศัยอยู่อย่างสันโดษ เนื่องจากเป็นสถานที่ห่างไกลผู้คน ทา
ให้ประวัติศาสตร์หน้าต่อมาของ ศาสนาพุทธในอินเดีย ได้ปรากฏขึ้นในหมู่ถ้า
บริเวณฝั่งตะวันตกของที่ราบสูงเดกกัน เมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฎร์ แห่งนี้
ถ้าเหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์ เป็นวัด เป็นวิหาร โดยใช้วิธี
เจาะภูเขาทั้งลูกเข้าไป บางถ้ามีถึง ๓ ชั้น มีทางเดินเชื่อมถึงกันตลอด
ถ้าที่ก่อสร้างในยุคแรกๆ เป็น วัดถ้าของพุทธฝ่ายเถรวาท พระสงฆ์ในยุคนั้นได้
สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยอย่างเรียบง่าย โดยเจาะหินเข้าไปเป็ นห้องโถง เปิดโล่ง
ใช้เป็นที่นั่งสนทนาธรรม ส่วนผนังทั้งสามด้านก็สกัดหิน เจาะเข้าไปเป็นห้องนอน
ภายในมีเตียงหิน ห้องละ ๒ หลัง
วัดของพุทธฝ่ายเถรวาท หลายถ้าสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นห้องบูชา ด้วยฝีมือการ
แกะสลักของช่างในยุคนั้น โดยได้สกัดหินจากด้านนอกเข้าไป และสกัดจากเพดาน
ถ้าลงมา จนได้ห้องโถงขนาดใหญ่ มีระเบียงทางเดินอยู่ด้านข้าง มีเจดีย์อยู่ในสุด
ของห้อง
มีการสร้าง พระสถูปเจดีย์ ไว้เพื่อสักการบูชาแทนองค์พระพุทธเจ้า เป็นธรรม
เนียมปฏิบัติเช่นเดียวกับการสร้าง พระสถูปเจดีย์ ที่สืบทอดมาจากชาวพุทธทาง
อินเดียตอนเหนือ...ด้วยเหตุนี้ถ้าอชันตา ในยุคแรกจึงยังไม่มีการแกะสลักเป็นองค์
พระพุทธรูป ให้พบเห็นมาก่อนหน้านี้
Ancient Indian 08
Cultural Heritag
แชนด์ เบารี Chand Baori
แชนด์ เบารี หรือแชนด์โบริ ตั้งอยู่ที่ รัฐ Rajasthan ทาง
ตะวันตกของ ประเทศอินเดีย ใกล้กับหมู่บ้านอะบาห์เนรี ในเขตดา
อุษา ที่มาที่ไปของ บ่อน้าขั้นบันไดโบราณ แห่งนี้เกิดจากปัญหา
การขาดแคลนน้ากินน้าใช้ ในช่วงศตวรรษที่ 9 กษัตริย์ Chanda
จึงรวบรวมชาวเมืองมาร่วมด้วยช่วยกันสร้างบ่อน้าขึ้น เพื่อแก้ปัญหา
วิกฤติน้า โดยขุดบ่อลึกถึง 100 ฟุต ขนาดสูง 13 ชั้น มีจานวน
ขั้นบันไดทั้งหมด 3,500 ขั้น บ่อน้า แชนด์ เบารี ถือเป็นตัวอย่าง
หนึ่งที่แสดงถึงการวางแผนและการจัดการที่ดีของคนในยุคโบราณ
Ancient Indian 09
Landscap
การวางผังเมือง (City Planning) แผนผังมีระเบียบ งดงาม มีถนนตัดกัน แบ่งเมือง
เป็นตารางแยกพื้นที่ใช้สอยออกจากกัน เช่นที่อยู่อาศัย อาคารสาธารณะ ที่อยู่ช่างฝีมือ ยุ้งข้าว
ป่าช้า ท่าเรือ พื้นที่ทางศาสนา? แสดงถึงความรู้ด้านวิศวกรรมการสารวจและเรขาคณิตอย่าง
ดี มีถนน และซอยตัดกันเป็นมุมฉาก บ้านอยู่ 2 ฟาก ถนนมีเสาตะเกียงเป็นระยะๆ การ
สุขาภิบาล มีประสิทธิภาพมาก ทุกบ้านมีห้องน้า มีท่อระบายน้าเสีย-น้าดี พบอ่างอาบน้าใหญ่
เจริญกว่าอารยธรรมอื่นจนสมัยโรมันจึงมีห้องน้าดีๆเทียบได้ มีการสร้างกาแพงเมืองและป้ อม
ปราการเพื่อกันผู้รุกราน มีอาวุธ กระสุนดินเผา
ที่อยู่อาศัย ลักษณะอาคารแบบเดียวกันหมด หลังคาแบนราบ มีบ้านใหญ่ บ้านเล็ก ชั้น
เดียวและหลายชั้น มีห้องเดียวถึงหลายห้อง สร้างแบบเรียบๆไม่มีการประดับประดา อาคาร
ทาด้วยอิฐเผาไฟ อิฐขนาดเดียวกันทั้งหมด
แผนที่เมืองโมเหนโจ-ดาโร แสดงการจัดระเบียบ
อาคารและถนนหนทาง
ซากเมืองโบราณโมโฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา
มีอายุประมาณ 2,500-1,500 ปีก่อนศริสต์
ศักราช
Ancient Indian 10
Cultural Heritag

More Related Content

What's hot

ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
กมลวรรณ เกตุดำ
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรีศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
Pattharapong Sirisuwan
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
Wiwat Sr.
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
พัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
chakaew4524
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
Noo Suthina
 

What's hot (16)

ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรีศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
ศิลป์ ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี
 
Art
ArtArt
Art
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 

Similar to 004 ancient indian พัชรพร

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
NisachonKhaoprom
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Noo Suthina
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
Noo Suthina
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
Calvinlok
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ponderingg
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
SeeGrundy
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
KKloveyou
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 

Similar to 004 ancient indian พัชรพร (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
Aniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
Aniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
Aniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
Aniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
Aniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
Aniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
Aniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
Aniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
Aniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
Aniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 

004 ancient indian พัชรพร

  • 2. อารยธรรมอินเดียกาเนิดในบริเวณที่อยู่ระหว่างแม่น้าสินธุและแม่น้าคงคา ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า “อนุทวีป” หรือเอเชียใต้ในปัจจุบัน เป็นอารยธรรมที่เกิดจากการหล่อหลอมและผสมผสานความเจริญของชนชาติต่างๆ ที่ได้เข้ามาครอบครองและตั้งถิ่นฐาน จน กลายเป็น “อารยธรรมอินเดีย” ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาอารยะรรมในภูมิภาคเอเชียอื่นๆ นับว่าเป็น รากฐานสาคัญของอารยะรรมตะวันออก Ancient Indian 01 อินเดียสมัยโบราณแบ่งเป็น 5 สมัย 1. สมัยอินโด- อารยันรุกราน (2,500- 2,000 B.C.) 2. สมัยพระเวท (2,000 -1,000 B.C.) 3. สมัยมหากาพย์ (1,000 – 500 B.C.) 4. สมัยจักรวรรดิ ( 321 B.C. – 220 A.D.) 5. สมัยคุปตะ (320-550 A.D.) History ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรที่อุดม สมบูรณ์ ส่งเสริมให้ชนชาติต่างๆ ขยายอิทธิพลเข้ามา ครอบครองอินเดีย เป็นผลให้เเกิดการผสมผสานและหล่อหลอม อารยธรรมของชนชาติต่างๆ ที่เข้ามาปกครองอินเดีย ชนชาติที่มี บทบาทสาคัญในการพัฒนาอารยธรรมอินเดียโบราณ ได้แก่ พวกดราวิเดียน หรือทราวิฑ (Dravidian) และอารยัน (Aryan) อาณาเขตอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
  • 3. Ancient Indian 02 Art ศิลปกรรมอินเดีย งานสร้างสรรค์ศิลปกรรมแขนงต่างๆของอารยธรรมอินเดียมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรมแขนงต่างๆของอินเดียจึงมัก ปรากฏนับเนื่องในศาสนา ทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน ความศรัทธาและความเคารพต่อศาสนาของชาวอินเดีย ทาให้มีการสร้างกฎเกณฑ์ เกี่ยวกับลักษณะของงานศิลปะต่างๆมีลักษณะร่วมกันอย่างมาก อิทธิพลศิลปะจาก ภายนอก เช่น เปอร์เซีย กรีก แม้จะมีผลสาคัญต่อพัฒนาการทางศิลปะอินเดีย แต่ภายใน เวลาไม่นานก็จะถูกกลมกลืนเข้ากับศิลปะอินเดีย ศิลปกรรมของอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานในอารยธรรมลุ่มน้าสินธุ ราว 2,500 ปีก่อน คริสต์ศักราช ในสมัยต่อมาชาวอารยันเข้ามาในอินเดีย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานงานทาง ศิลปะของพวกอารยันวิวัฒนาการทางศิลปะของอินเดียจึงขาดช่วงเป็นเวลาเกือบพันปี จนกระทั่งถึงสมัยพุทธกาลจึงได้ปรากฏหลักฐานทางศิลปะที่ชัดเจนขึ้นทางภาคตะวันตก เฉียงเหนือแถบลุ่มน้าสินธุ เป็นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากจักรวรรดิเปอร์เซียและศิลปะ แบบเฮลเลนิสติกของกรีก อิทธิพลของศิลปะภายนอกดังกล่าวได้พัฒนามาสู่ศิลปกรรมสมัยราชวงศ์เมารยะ ซึ่งเป็นศิลปะสมัยแรกที่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน ในช่วงสมัยนี้พระพุทธศาสนาเป็นแรง บันดาลใจสาคัญในการสร้างสรรค์ศิลปกรรม และยังมีความสาคัญต่อสกุลศิลปะในสมัย ต่อมา ในสมัยราชวงศ์คุปตะ ศิลปะแขนงต่างๆได้พัฒนาไปมากจนกระทั่งได้ก่อกาเนิดยุค ทองทางศิลปะของอินเดีย จนกระทั่งหลังศตวรรษที่ 12-13 แบบอย่างของศิลปะอิสลาม แพร่ขยายอย่างกว้างขวาง ขณะที่ศิลปะในพระพุทธศาสนาสูญสิ้นไปและศิลปะใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเสื่อมโทรมเป็นเวลานานหลายศตวรรษ
  • 4. Ancient Indian 03 Artประติมากรรม เกี่ยวข้องกับศาสนา ได้แก่ พระพุทธรูปแบบคันธาระ พระพุทธรูปแบบมถุรา พระพุทธรูปแบบอมราวดี ภาพสลักนูนที่มหาพลิปุลัม ได้รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์ พระพุทธรูปแบบอมราวดี พระพุทธรูปแบบคันธาระ พระพุทธรูปแบบมถุรา จิตรกรรม อินเดียตามประวัติศาสตร์แล้ว วิวัฒนาการมากจากการเขียนภาพบุคคลใน ศาสนาและพระมหากษัตริย์ จิตรกรรมอินเดียเป็นคาที่มาจากตระกูลการเขียน หลายตระกูลที่เกิดขึ้นในอนุ ทวีปอินเดีย ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปมีตั้งแต่ จิตรกรรมฝาผนังขนาดใหญ่ของถ้าเอลเลรา (Ellora Caves) ไปจนถึงงานที่ ละเอียดลออของจุลจิตรกรรมของจิตรกรรมโมกุล และงานโลหะจากตระกูล Tanjore ส่วนจิตรกรรมจากแคว้นคันธาระ-ตักกสิลา เป็น จิตรกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากจิตรกรรมเปอร์เซียทางตะวันตก จิตรกรรม ในอินเดียตะวันออกวิวัฒนาการในบริเวณตระกูลการเขียนของนาลันทา ที่เป็นงานที่ ได้รับอิทธิพลจากตานานเทพอินเดียสมัย คุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่ รุ่งเรืองที่สุดของอินเดียพบงานจิตรกรรมที่ ผนังถ้าอชันตะ เป็นภาพเขียนใน พระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้น และการอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ความรู้ สึก สมจริง นาฏศิลป์ และสังคีตศิลป์ เกี่ยวกับการฟ้ อนรา เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้าตามคัมภีร์ พระเวท ส่วน บทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ถือเป็นแบบแผนการร้องที่เก่าแก่ ที่สุดใน สังคีตศิลป์ ของอินเดีย แบ่งเป็นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานักและดนตรี ท้องถิ่น เครื่องดนตรีสาคัญ คือ วีณา หรือพิณ ใช้สาหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย และกลอง เป็นการแสดงที่มีการใช้ภาษาท่าในการสื่อความหมาย แสดงเพื่อเป็นการแสดง ความเคารพต่อพระวิษณุ แหล่งกาเนิดอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย “พระรามกับสีดาในป่า” แบบปัญจาบ ค.ศ. 1780 ภาพจิตรกรรมบนผนังถ้าอชันตะ Mohiniyattam
  • 5. Ancient Indian 04 Architectur สถาปัตยกรรมอินเดีย ลักษณะเด่นของอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ คือ มีความเจริญในลักษณะสังคมเมือง มี การวางผังเมืองที่เป็นระเบียบ บ้านเรือน แต่ละหลังมีห้องน้า และมีท่อระบายน้าเชื่อมต่อ กับท่อระบายน้าของเมือง นอกจากนี้บ้านบางหลังยังก่อสร้างสูงถึง 3 ชั้น วัสดุก่อสร้างทา ด้วยอิฐซึ่งมีคุณภาพดีและมีขนาดเท่ากันทุกก้อน เหล่านี้ล้วนแสดงถึงภูมิปัญญาด้าน สถาปัตยกรรมและการก่อสร้างของพวกดราวิเดียนในอดีต การขุดพบซากเมืองฮารัปปาและโมเฮนโจดาโรสมัยอารยธรรมลุ่มน้าสินธุทาให้เห็น ว่าสถาปัตยกรรมอินเดียมีมาเกือบ 5,000 ปีแล้ว มีการวางผังเมืองและการก่อสร้างซึ่งเน้น ประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความสวยงาม หลักฐานทางสถาปัตยกรรมของอินเดียในสมัยต่อมากาหนดอายุได้ราวต้นพุทธกาล มีการพบซากเมืองโบราณหลายสิบเมือง บริเวณสองฟากฝั่งลุ่มน้าคงคาจนถึงที่ราบลุ่ม ปัญจาบ แต่ร่องรอยที่พบไม่ได้แสดงพัฒนาการสืบเนื่องทางสถาปัตยกรรมจากสมัยอารย ธรรมลุ่มน้าสินธุสถาปัตยกรรมที่เป็นศิลปะอย่างชัดเจนปรากฏขึ้นในสมัยราชวงศ์เมารยะ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากจักรวรรดิเปอร์เซีย ได้แก่ สถูป เสาหิน ตลอดจนฐานรากของพระราชวัง สถาปัตยกรรมดังกล่าวมัก เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเพื่อแสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของสถานที่ หรือเพื่อเป็นอนุสรณ์ ถึงเหตุการณ์สาคัญ เช่น พระสถูปที่สาญจี เสาหินที่เมืองสารถี และพระราชวังของพระเข้า อโศกมหาราชที่เมืองปาฏลีบุตร สถาปัตยกรรมอินเดียสมัยต่อมาเป็นสมัยที่ราชวงศ์ กุษาณะมีอานาจเหนืออินเดียทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และราชวงศ์มธุราในภาคกลาง ของอินเดีย เกิดศิลปะสาคัญขึ้น 3 แบบ คือ ศิลปะแบบคันธาระ แบบมถุรา และแบบ อมราวดี ซึ่งเป็นศิลปะเนื่องในพระพุทธศาสนา ซากเมืองโบราณโมโฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา มีอายุประมาณ 2,500-1,500 ปีก่อนศริสต์ ศักราช
  • 6. Ancient Indian 05 Architectur ซุ้มโทรณะมีปลายคานเป็ นรูป ม้วนงอ อิทธิพลจากหัวเสาแบบ lonic สถูปสาญจี @ สาญจี
  • 7. Ancient Indian 06 Cultural Heritag ตราประทับแห่งลุ่มน้าสินธุ ตราประทับนี้เป็นรูปช้าง รูปปั้นพระศิวะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าสาคัญที่สุด องค์หนึ่งของศาสนาฮินดู กาลังร่ายร่าอยู่บนมารคือโมหะ เครื่องมือเก็บเกี่ยวในสมัยโบราณ สาหรับชาวนาดายหญ้าและปรับ หน้าดิน รูปปั้นที่ค้นพบจากเมืองโบราณ มเหนโจ-ดาโร
  • 8. Ancient Indian 07 Cultural Heritag 'ถ้าอชันตา'ปฏิมากรรมพุทธศาสนาเก่าแก่ที่สุดในโลก ถ้าอชันตา (Ajanta Caves) เมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฎร์ ประเทศ อินเดีย ได้ชื่อว่าเป็น วัดถ้าในพุทธศาสนาที่งดงามและเก่าแก่ที่สุดในโลก สร้างเมื่อ พ.ศ.๓๕๐ โดยพระภิกษุในสมัยนั้นได้ค้นพบสถานที่แห่งนี้เห็นว่าเป็นสถานที่เหมาะ สาหรับการปฏิบัติธรรมกรรมฐานเป็นอย่างยิ่ง จึงได้เจาะภูเขาเพื่อสร้ างเป็นกุฏิ โบสถ์ วิหาร ฯลฯ เพื่ออาศัยอยู่อย่างสันโดษ เนื่องจากเป็นสถานที่ห่างไกลผู้คน ทา ให้ประวัติศาสตร์หน้าต่อมาของ ศาสนาพุทธในอินเดีย ได้ปรากฏขึ้นในหมู่ถ้า บริเวณฝั่งตะวันตกของที่ราบสูงเดกกัน เมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฎร์ แห่งนี้ ถ้าเหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์ เป็นวัด เป็นวิหาร โดยใช้วิธี เจาะภูเขาทั้งลูกเข้าไป บางถ้ามีถึง ๓ ชั้น มีทางเดินเชื่อมถึงกันตลอด ถ้าที่ก่อสร้างในยุคแรกๆ เป็น วัดถ้าของพุทธฝ่ายเถรวาท พระสงฆ์ในยุคนั้นได้ สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยอย่างเรียบง่าย โดยเจาะหินเข้าไปเป็ นห้องโถง เปิดโล่ง ใช้เป็นที่นั่งสนทนาธรรม ส่วนผนังทั้งสามด้านก็สกัดหิน เจาะเข้าไปเป็นห้องนอน ภายในมีเตียงหิน ห้องละ ๒ หลัง วัดของพุทธฝ่ายเถรวาท หลายถ้าสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นห้องบูชา ด้วยฝีมือการ แกะสลักของช่างในยุคนั้น โดยได้สกัดหินจากด้านนอกเข้าไป และสกัดจากเพดาน ถ้าลงมา จนได้ห้องโถงขนาดใหญ่ มีระเบียงทางเดินอยู่ด้านข้าง มีเจดีย์อยู่ในสุด ของห้อง มีการสร้าง พระสถูปเจดีย์ ไว้เพื่อสักการบูชาแทนองค์พระพุทธเจ้า เป็นธรรม เนียมปฏิบัติเช่นเดียวกับการสร้าง พระสถูปเจดีย์ ที่สืบทอดมาจากชาวพุทธทาง อินเดียตอนเหนือ...ด้วยเหตุนี้ถ้าอชันตา ในยุคแรกจึงยังไม่มีการแกะสลักเป็นองค์ พระพุทธรูป ให้พบเห็นมาก่อนหน้านี้
  • 9. Ancient Indian 08 Cultural Heritag แชนด์ เบารี Chand Baori แชนด์ เบารี หรือแชนด์โบริ ตั้งอยู่ที่ รัฐ Rajasthan ทาง ตะวันตกของ ประเทศอินเดีย ใกล้กับหมู่บ้านอะบาห์เนรี ในเขตดา อุษา ที่มาที่ไปของ บ่อน้าขั้นบันไดโบราณ แห่งนี้เกิดจากปัญหา การขาดแคลนน้ากินน้าใช้ ในช่วงศตวรรษที่ 9 กษัตริย์ Chanda จึงรวบรวมชาวเมืองมาร่วมด้วยช่วยกันสร้างบ่อน้าขึ้น เพื่อแก้ปัญหา วิกฤติน้า โดยขุดบ่อลึกถึง 100 ฟุต ขนาดสูง 13 ชั้น มีจานวน ขั้นบันไดทั้งหมด 3,500 ขั้น บ่อน้า แชนด์ เบารี ถือเป็นตัวอย่าง หนึ่งที่แสดงถึงการวางแผนและการจัดการที่ดีของคนในยุคโบราณ
  • 10. Ancient Indian 09 Landscap การวางผังเมือง (City Planning) แผนผังมีระเบียบ งดงาม มีถนนตัดกัน แบ่งเมือง เป็นตารางแยกพื้นที่ใช้สอยออกจากกัน เช่นที่อยู่อาศัย อาคารสาธารณะ ที่อยู่ช่างฝีมือ ยุ้งข้าว ป่าช้า ท่าเรือ พื้นที่ทางศาสนา? แสดงถึงความรู้ด้านวิศวกรรมการสารวจและเรขาคณิตอย่าง ดี มีถนน และซอยตัดกันเป็นมุมฉาก บ้านอยู่ 2 ฟาก ถนนมีเสาตะเกียงเป็นระยะๆ การ สุขาภิบาล มีประสิทธิภาพมาก ทุกบ้านมีห้องน้า มีท่อระบายน้าเสีย-น้าดี พบอ่างอาบน้าใหญ่ เจริญกว่าอารยธรรมอื่นจนสมัยโรมันจึงมีห้องน้าดีๆเทียบได้ มีการสร้างกาแพงเมืองและป้ อม ปราการเพื่อกันผู้รุกราน มีอาวุธ กระสุนดินเผา ที่อยู่อาศัย ลักษณะอาคารแบบเดียวกันหมด หลังคาแบนราบ มีบ้านใหญ่ บ้านเล็ก ชั้น เดียวและหลายชั้น มีห้องเดียวถึงหลายห้อง สร้างแบบเรียบๆไม่มีการประดับประดา อาคาร ทาด้วยอิฐเผาไฟ อิฐขนาดเดียวกันทั้งหมด แผนที่เมืองโมเหนโจ-ดาโร แสดงการจัดระเบียบ อาคารและถนนหนทาง ซากเมืองโบราณโมโฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา มีอายุประมาณ 2,500-1,500 ปีก่อนศริสต์ ศักราช