SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของ
พืชดอกตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ ดอกลีลาวดี ดอกชบา ดอกกุหลาบ
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 1
1.นางสาวชญานันท์ ขันติกุลานนท์ เลขที่ 2
2.นางสาวนัยน์ภัค บุญดี เลขที่ 9
3.นางสาวภวิกา นันทาภิวัฒน์ เลขที่ 15
4.นางสาวหัสยา อนันเทพา เลขที่ 23
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 652 แผนการเรียนวิทย์-บริหาร
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
คานา
ชิ้นงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รหัสวิชา ว32044 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทางด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์
ของพืชดอกตัวอย่าง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก และตัวอย่างแห้งที่แสดงองค์ประกอบ
โครงสร้างของพืชดอก โดยพืชดอกที่เลือกมาศึกษาในที่นี้คือ ดอกลีลาวดี
ดอกชบา และดอกกุหลาบ
ในการจัดทาชิ้นงานชิ้นนี้ผู้จัดทาหวังว่าจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์
ต่อผู้อ่านหรือผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ
ที่นี้
คณะผู้จัดทา
12 พฤศจิกายน 2561
สารบัญ
หัวข้อนาเสนอ หน้า
1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกลีลาวดี
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 1
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 3
2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกชบา
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 4
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 5
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 6
3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกกุหลาบ
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 7
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 9
4. Clip VDO ประกอบการศึกษา 10
5. ภาคผนวก 12
การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ
ดอกลีลาวดี เป็นดอกช่อที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น half
inferior แต่เป็นดอกที่ไม่ครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี
ดอกกุหลาบ เป็นดอกเดี่ยวที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น
half inferior เป็นดอกครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี
ดอกชบา เป็นดอกเดี่ยวที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น
superior เป็นดอกครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี
1 2
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกลีลาวดี
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plumeria spp.
ชื่อสามัญ : Frangipani, Temple tree, Graveyard tree, Plumeria.
ชื่อถิ่น : ลีลาวดี, ลั่นทม, จาปาลาว
วงศ์ : Apocynaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้น เป็นไม้ยืนต้น มีขนาดตั้งแต่พุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.9-1.2 เมตร
จนถึงต้นที่สูงมาก อาจสูงถึง 12 เมตร ลาต้นแตกกิ่งก้านสขาและพุ่มใบสวยงาม
ใบ เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัวแบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มี
ลักษณะแตกต่างกันไปทั้งรูปร่าง
ช่อดอก ดอกจะผลิออกมาจากปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อใหญ่ดอก
สวยงาม
ดอก โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญ่ถึงกลาง ยกเว้นบางพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก
กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกมีลักษณะ
คล้ายท่อ ทาให้มองไม่เห็นเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย
ผล เป็นฝักคู่ รูปยาวรี กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติเมตร
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
3 4
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกชบา
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus rosa-sinensis L.
ชื่อสามัญ : Chinese Rose , Rosa mallow
ชื่อวงศ์ : MALVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้น เป็นไม้ยืนต้นลักษณะใบคล้ายเล็บ มือนางออกดอกเป็นช่อตรง
บริเวณปลายกิ่งโคนก้านใบ ลักษณะเด่นของพืชชนิดนี้ คือ มีเส้นใยและยางเมือก
(mucilagnous) อยู่ในเนื้อไม้โดยทั่วไปเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง
ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับมีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปไข่ รูปกลม
รูปรี หรือเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก มีกลีบดอก 5 กลีบ
ดอก แต่ละดอกจะเชื่อมติดกันเป็นวงที่ฐานดอก เกสรเพศผู้
ประกอบด้วยอับเรณูสีเหลืองรูปไตและก้านชูอับเรณูสีขาวหรือสีเดียวกัน เกสร
เพศเมีย อยู่ปลายหลอดเกสรเพศผู้ มักมีก้านเล็ก ๆ แยกยอดเกสรเพศเมียเป็น 5
ยอดตามจานวนห้องรังไข่ ส่วนยอดมีน้าหวานสาหรับจับละอองเรณู
5 6
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
7 8
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกกุหลาบ
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rosa hybrida
ชื่อวงศ์ : ROSACEAE
ชื่อสามัญ : Rose
ชื่อถิ่น : กุหลาบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก แต่บางชนิดมีขนาดใหญ่หรือเป็นไม้เลื้อย
เป็นไม้ผลัดใบ ลาต้นและกิ่งมีหนาม เปลือกสีเขียว
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-9 ใบ ออกลับกัน ใบรูปไข่ กว้าง
1.5-3 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักฟันเลื่อย
แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันและมีรอยย่นเล็กน้อย
ดอก เป็นดอกเดี่ยว กลีบดอกแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ กลีบดอกชั้นเดียว จะ
มี 5 กลีบ ยกเว้นบางชนิดที่มีเพียง 4 กลีบ คือ Rosa sericea และ Rosa
omeiensis กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ สีเขียวหรือสีเขียวอมแดงเรื่อ
ฝัก/ผล เป็นผลกลุ่ม ผลแก่แห้ง เมื่อเริ่มติดผลส่วนที่เป็นรังไข่จะขยาย
พองโตขึ้นโดยมีฐานรองดอกหุ้มไว้
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
9 10
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Clip VDO ประกอบการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชตัวอย่าง 3 ชนิด
สามารถชมวีดีโอกลุ่มของเราได้ที่
https://youtu.be/h7FfvssLeOo
11 12
บรรณานุกรม
ดอกชบา. (2556). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https:// sites.google.com
/site/swnphvkssastrm54395254/home/dxk-ch.
(วันที่สืบค้นข้อมูล 9 พฤศจิกายน 2561).
นานาการ์เดน. (2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
https://www.nanagarden.com/topic/3518
(วันที่สืบค้นข้อมูล 10 พฤศจิกายน 2561).
วิกิพีเดีย.(2561).ลีลาวดี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/ลั่นทม.
(วันที่สืบค้นข้อมูล 8 พฤศจิกายน 2561).
Lamon Panomyaong. (2560). การสืบพันธุ์พืชดอก. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: https://slideplayer.in.th/slide/2848432.
(วันที่สืบค้นข้อมูล 9 พฤศจิกายน 2561).
ภาคผนวก
ภาพแสดงเบื้อหลังการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชทั้งหมด
13 14
ภาคผนวก(ต่อ)
ภาพแสดงเบื้อหลังการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชทั้งหมด
ภาคผนวก
ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คณะนักเรียนผู้จัดทา
น.ส.ชญานันท์ ขันติกุลานนท์ เลขที่ 2 น.ส.นัยน์ภัค บุญดี เลขที่ 9
น.ส.ภวิกา นันทาภิวัฒน์ เลขที่ 15 น.ส.หัสยา อนันเทพา เลขที่ 23

More Related Content

What's hot

Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 

Similar to ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...HatsayaAnantepa
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652PattriyaTowanasutr
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....PimlapusBoonsuphap
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ssuser9ded021
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652manidabhonsawanwong
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )lingkwankamon
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 

Similar to ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652 (20)

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
Mini5
Mini5Mini5
Mini5
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 

ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652

  • 1. หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของ พืชดอกตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ ดอกลีลาวดี ดอกชบา ดอกกุหลาบ นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 1 1.นางสาวชญานันท์ ขันติกุลานนท์ เลขที่ 2 2.นางสาวนัยน์ภัค บุญดี เลขที่ 9 3.นางสาวภวิกา นันทาภิวัฒน์ เลขที่ 15 4.นางสาวหัสยา อนันเทพา เลขที่ 23 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 652 แผนการเรียนวิทย์-บริหาร ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 คานา ชิ้นงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว32044 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทางด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชดอกตัวอย่าง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก และตัวอย่างแห้งที่แสดงองค์ประกอบ โครงสร้างของพืชดอก โดยพืชดอกที่เลือกมาศึกษาในที่นี้คือ ดอกลีลาวดี ดอกชบา และดอกกุหลาบ ในการจัดทาชิ้นงานชิ้นนี้ผู้จัดทาหวังว่าจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ ต่อผู้อ่านหรือผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา 12 พฤศจิกายน 2561
  • 2. สารบัญ หัวข้อนาเสนอ หน้า 1. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกลีลาวดี 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 1 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 3 2. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกชบา 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 4 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 5 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 6 3. การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกกุหลาบ 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 7 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 9 4. Clip VDO ประกอบการศึกษา 10 5. ภาคผนวก 12 การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ ดอกลีลาวดี เป็นดอกช่อที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น half inferior แต่เป็นดอกที่ไม่ครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี ดอกกุหลาบ เป็นดอกเดี่ยวที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น half inferior เป็นดอกครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี ดอกชบา เป็นดอกเดี่ยวที่มีความสมบูรณ์เพศมีตาแหน่งของรังไข่เป็น superior เป็นดอกครบส่วน และมีความสมมาตรตามแนวรัศมี
  • 3. 1 2 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกลีลาวดี 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plumeria spp. ชื่อสามัญ : Frangipani, Temple tree, Graveyard tree, Plumeria. ชื่อถิ่น : ลีลาวดี, ลั่นทม, จาปาลาว วงศ์ : Apocynaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้น เป็นไม้ยืนต้น มีขนาดตั้งแต่พุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.9-1.2 เมตร จนถึงต้นที่สูงมาก อาจสูงถึง 12 เมตร ลาต้นแตกกิ่งก้านสขาและพุ่มใบสวยงาม ใบ เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัวแบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มี ลักษณะแตกต่างกันไปทั้งรูปร่าง ช่อดอก ดอกจะผลิออกมาจากปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อใหญ่ดอก สวยงาม ดอก โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญ่ถึงกลาง ยกเว้นบางพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกมีลักษณะ คล้ายท่อ ทาให้มองไม่เห็นเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย ผล เป็นฝักคู่ รูปยาวรี กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติเมตร 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
  • 4. 3 4 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกชบา 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus rosa-sinensis L. ชื่อสามัญ : Chinese Rose , Rosa mallow ชื่อวงศ์ : MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้น เป็นไม้ยืนต้นลักษณะใบคล้ายเล็บ มือนางออกดอกเป็นช่อตรง บริเวณปลายกิ่งโคนก้านใบ ลักษณะเด่นของพืชชนิดนี้ คือ มีเส้นใยและยางเมือก (mucilagnous) อยู่ในเนื้อไม้โดยทั่วไปเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับมีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปไข่ รูปกลม รูปรี หรือเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก มีกลีบดอก 5 กลีบ ดอก แต่ละดอกจะเชื่อมติดกันเป็นวงที่ฐานดอก เกสรเพศผู้ ประกอบด้วยอับเรณูสีเหลืองรูปไตและก้านชูอับเรณูสีขาวหรือสีเดียวกัน เกสร เพศเมีย อยู่ปลายหลอดเกสรเพศผู้ มักมีก้านเล็ก ๆ แยกยอดเกสรเพศเมียเป็น 5 ยอดตามจานวนห้องรังไข่ ส่วนยอดมีน้าหวานสาหรับจับละอองเรณู
  • 5. 5 6 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
  • 6. 7 8 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกกุหลาบ 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rosa hybrida ชื่อวงศ์ : ROSACEAE ชื่อสามัญ : Rose ชื่อถิ่น : กุหลาบ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก แต่บางชนิดมีขนาดใหญ่หรือเป็นไม้เลื้อย เป็นไม้ผลัดใบ ลาต้นและกิ่งมีหนาม เปลือกสีเขียว ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-9 ใบ ออกลับกัน ใบรูปไข่ กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักฟันเลื่อย แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันและมีรอยย่นเล็กน้อย ดอก เป็นดอกเดี่ยว กลีบดอกแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ กลีบดอกชั้นเดียว จะ มี 5 กลีบ ยกเว้นบางชนิดที่มีเพียง 4 กลีบ คือ Rosa sericea และ Rosa omeiensis กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ สีเขียวหรือสีเขียวอมแดงเรื่อ ฝัก/ผล เป็นผลกลุ่ม ผลแก่แห้ง เมื่อเริ่มติดผลส่วนที่เป็นรังไข่จะขยาย พองโตขึ้นโดยมีฐานรองดอกหุ้มไว้ 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
  • 7. 9 10 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Clip VDO ประกอบการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชตัวอย่าง 3 ชนิด สามารถชมวีดีโอกลุ่มของเราได้ที่ https://youtu.be/h7FfvssLeOo
  • 8. 11 12 บรรณานุกรม ดอกชบา. (2556). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https:// sites.google.com /site/swnphvkssastrm54395254/home/dxk-ch. (วันที่สืบค้นข้อมูล 9 พฤศจิกายน 2561). นานาการ์เดน. (2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nanagarden.com/topic/3518 (วันที่สืบค้นข้อมูล 10 พฤศจิกายน 2561). วิกิพีเดีย.(2561).ลีลาวดี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ลั่นทม. (วันที่สืบค้นข้อมูล 8 พฤศจิกายน 2561). Lamon Panomyaong. (2560). การสืบพันธุ์พืชดอก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://slideplayer.in.th/slide/2848432. (วันที่สืบค้นข้อมูล 9 พฤศจิกายน 2561). ภาคผนวก ภาพแสดงเบื้อหลังการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชทั้งหมด
  • 9. 13 14 ภาคผนวก(ต่อ) ภาพแสดงเบื้อหลังการศึกษาโครงสร้างของดอกพืชทั้งหมด ภาคผนวก ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คณะนักเรียนผู้จัดทา น.ส.ชญานันท์ ขันติกุลานนท์ เลขที่ 2 น.ส.นัยน์ภัค บุญดี เลขที่ 9 น.ส.ภวิกา นันทาภิวัฒน์ เลขที่ 15 น.ส.หัสยา อนันเทพา เลขที่ 23