SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช
ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชา ชีววิทยา6 ว30246 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2560
พืช Family: MALVACEAE จํานวน 12 ชนิด
นําเสนอ
• ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ. 1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายชื่อสมาชิก
• นางสาว ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่ 3
• นางสาว พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่ 14
• นาย ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่ 30
• นาย ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่ 31
• กลุ่ม 8 ห้องเรียน 125
หัวข้อนําเสนอ
• คํานํา
• สารบัญ
• รายละเอียด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ประโยชน์และสรรพคุณ
ชื่อพ้อง
ชื่อสามัญ
ชื่ออื่น
• บรรณานุกรม
• กิตติกรรมประกาศ
คํานํา
รายงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 ( ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2560 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช
ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ซึ่งคณะผู้จัดทําได้สืบค้นเกี่ยวกับพืชใน วงศ์
MALVACEAE ซึ่งเป็นพืชในตระกูลเดียวกับชบา โดยในรายงานนี้ประกอบ
ไปด้วยรายละเอียดต่างๆของพืชในตระกูล MALVACEAE เช่น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์,
ประโยชน์และสรรพคุณ,ชื่อพ้อง,ชื่อสามัญ และ ชื่ออื่นๆ
คณะผู้จัดทําหวังว่ารายงานชิ้นนี่จะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยในการใช้ศึกษาความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชวงศ์ MALVACEAE
สารบัญ
• งิ้ว
• ครอบจักรวาล
• ปอแก้ว
• โพทะเล
• เกาลัด
• ชะมดต้น
• ชบา
• ทุเรียน
• โกโก้
• กระเจี๊ยบแดง
• พุดตาน
• พู่ระหง
งิ้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bombax L.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ต้น ผลัดใบ ลําต้นส่วนมากมีหนาม หูใบขนาด
เล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบรูปนิ้วมือมี 5-9 ใบ เรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็น
กระจุกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกออกก่อนผลิใบใหม่ กลีบเลี้ยงหนา เชื่อม
ติดกัน ปลายแยกเป็น 3-5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้จํานวนมากเชื่อม
ติดกันเป็นมัด ๆ 5-10 มัด ติดระหว่างกลีบดอก รังไข่มี 5 ช่อง ออวุลจํานวนมาก
ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแยกเป็น 5
แฉก ผลแห้งแตก เรียบหรือมี 5 สัน แตกเป็น 5 ซีก เมล็ดจํานวนมาก มีปุยนุ่นหุ้ม
ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ดอกรสหวานเย็นแก้นํ้าร้อนลวก แก้ปวด แก้คัน
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
ชื่อพ้อง : Bombax malabaricum
DC., Gossampinus
malabarica Merr
ชื่อสามัญ :: Cotton tree, Kapok
tree
ชื่ออื่น : งิ้วแดง (กาญจนบุรี); งิ้วบ้าน
(ทั่วไป); งิ้วปง, งิ้วปงแดง, สะเน้มระกา
(ชอง-จันทบุรี)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
ครอบจักรวาล
ชื่อวิทยาศาสตร์: : Fioria vitifolia (L.) Mattei
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. ใบรูปฝ่ามือ 3-7 พู ยาว
2.5-14 ซม. แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 1-5
ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้นๆก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. กลีบเลี้ยง
ยาว 1-2 ซม. ดอกสีเหลือง โคนด้านในสีม่วงอมแดง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว
1.5-5 ซม. ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก สั้นกว่ากลีบเลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5
ซม. มีสันปีก 5 สัน ปลายเป็นจะงอย มีขนแข็งกระจาย ก้านผลเป็นข้อ แต่ละซีก
มี 2-4 เมล็ด รูปคล้ายไต ยาว 2-3 มม.
ประโยชน์เเละสรรพคุณ :ขับลม ช่วยย่อยและเจริญอาหาร แก้โรคลม บํารุง
ธาตุ แก้ไอ บํารุงกําลัง แก้เบาหวาน แก้ปัสสาวะอักเสบ
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
ชื่อพ้อง : Hibiscus
vitifolius L., H.
yunnanensis S. Y. Hu
ชื่อสามัญ : Grape-leaved
mallow, Tropical fanleaf, Wild
okra
ชื่ออื่น : ครอบ, ครอบจักรวาล, ตอบแตบ,
บอบแปบ,มะก่องเข้า (พายัพ),ก่อนเข้า
(เชียงใหม่) โผงผาง ( โคราช ) ,
ครอบตลับ ครอบฟันสี,
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
ปอแก้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus manihot (L.)
Medik. var. pungens (Roxb.) Hochr.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูง 1-2 ม. ส่วนต่างมีขนหยาบยาว
หนาแน่น หูใบรูปแถบหรือรูปเส้นด้าย ยาว 1-1.5 ซม. ใบรูปฝ่ามือ เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 15-30 ซม. ก้านใบยาว 6-18 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-4 ซม. กลีบเลี้ยง
ยาว 2-3 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วง
เข้ม ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-12 ซม. กลีบรูปไข่กลับ เส้าเกสรยาว 1.5-
2.5 ซม. อับเรณูเกือบไร้ก้าน รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปไข่ ยาว 4-5 ซม. มี 5 สัน
เมล็ดสีนํ้าตาลดํา มีขนเป็นแนวหนาแน่น
ประโยชน์เเละสรรพคุณ :ใช้เปลือกทําเส้นใย สําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ ปอ
แก้วมักใช้แทนหรือปนกับเส้นใยจากปอกระเจาในการทอกระสอบ ทําเชือก
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
ชื่อพ้อง : Hibiscus
pungens Roxb.
ชื่อสามัญ : Kenaf
ชื่ออื่น ปอแก้ว (แพร่, เพชรบูรณ์); ปอฝ้าย
(ภาคเหนือ)
ชื่ออื่น : ไม่ปรากฏข้อมูล
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
โพทะเล
ชื่อวิทยาศาสตร์: Thespesia populnea (L.)
Sol. ex Corrêa
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 2-15 ม. มีเกล็ดรูปโล่ตามกิ่ง
แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปใบ ใบรูปไข่หรือรูป
หัวใจ ใบประดับคล้ายเกล็ด 2 อัน ติดที่โคนก้าน ดอกสีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสี
ม่วงอมแดง เปลี่ยนเป็นสีแดงชมพูก่อนร่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ เบี้ยว ยาว 5-7
ซม. ด้านนอกมีขนละเอียดสีนํ้าตาลแดง อับเรณูรูปคล้ายผลแห้งไม่แตก กลม
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. มีนํ้ายางสีเหลือง ก้านผลยาว 2-8 ซม. แต่ละช่อง
มี 4 เมล็ด รูปโคนมีขนสีนํ้าตาลคล้ายไหม้
ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ใช้เป็นไม้ประดับ ดอก ผล และใบอ่อนกินได้ เนื้อ
ไม้แข็งทนปลวก สีแดงเข้ม ใช้ทําเป็นภาชนะใส่อาหารเนื่องจากไม่มีกลิ่น
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
ชื่อพ้อง : Hibiscus populneus L.
ชื่อสามัญ : Cock tree, Portia
tree, Rosewood of
Seychelles, Tulip tree
ชื่ออื่น : บากู (มาเลย์-นราธิวาส); ปอกะ
หมัดไพร (ราชบุรี); ปอมัดไซ (เพชรบุรี);
โพทะเล (ภาคกลาง)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
เกาลัด
ชื่อวิทยาศาสตร์: Sterculia monosperma
Vent.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. หูใบคล้าย
รยางค์ ร่วงเร็ว ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบ ช่อ
ดอกห้อยมีขนประปราย ดอกเพศผู้จํานวนมาก ดอกเพศเมียมีน้อยกว่า ขนาด
ใหญ่กว่า เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรร่วมเรียวยาว อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสร
เพศเมียเชื่อมติดกันที่โคน มีขน มี 1-5 ผลย่อย มีขนสั้นนุ่ม ผลแก่สีแดง แตกแนว
เดียว มี 1-4 เมล็ด รูปรี
ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ในไทยปลูกเป็นไม้ประดับ เมล็ดต้มหรืออบกินได้
รสชาติคล้ายเกาลัด
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Chinese chestnut,
Seven sisters’ fruit
ชื่ออื่น : เกาลัด (กรุงเทพฯ); เท็งท้อ
(ภาษาจีน); หงอนไก่ใบใหญ่ (ภาคใต้)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
ชะมดต้น
ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus moschatus
Medik.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. ส่วนต่างๆ มีขนหยาบ
กระจาย หูใบรูปเส้นด้าย ใบส่วนมากรูปฝ่ามือ 3-7 พู ขอบจักฟันเลื่อย ดอกออก
เดี่ยว ริ้วประดับรูปแถบ โค้งเข้า ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วงอม
นํ้าตาลทั้งด้านนอกและด้านใน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. รังไข่มีขน
หนาแน่น ผลรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 ซม. ปลายแหลม เมล็ดสี
นํ้าตาลดํา รูปคล้ายไต มีปุ่มเล็ก ๆ เป็นร่างแห
ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตนํ้าหอม มีสรรพคุณขับ
ปัสสาวะ แก้ไข้ ลดการอักเสบ และควบคุมฮอร์โมนเพศหญิง
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
ชื่อพ้อง : subsp. tuberosus (Span.) Borss. Waalk.
ชื่อสามัญ : Musk mallow, Tropical jewel Hibiscus
ชื่ออื่น : ชะมดต้น (กรุงเทพฯ); เทียนชะมด, ฝ้ ายผี (ภาคกลาง)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
ชบา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus rosa-sinensis
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรง กิ่งก้านกาง
ออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิวแบบ หนามขรุขระ มีลักษณะของใบแบบหูใบที่
อยู่ภายในซอกใบ มีช่อก้านดอกอยู่ที่ปลาย
ประโยชน์เเละสรรพคุณ: มีส่วนช่วยในการบํารุงผิวพรรณ ช่วยบํารุง
จิตใจให้สดชื่นแจ่มใส ฟอกโลหิต ช่วยรักษาและบรรเทาอาการของโรคที่
เกี่ยวกับไต ช่วยดับร้อนในร่างกาย แก้กระหาย และช่วยแก้ไข้ ด้วยการใช้
ดอกชบา
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Checkered Hibiscus,
China rose, Shoe flower
ชื่ออื่น : ชบา (ภาคกลาง); ชบาขาว, ชุมบา
(ปัตตานี); บา (ภาคใต้); ใหม่, ใหม่แดง
(ภาคเหนือ)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
ทุเรียน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Durio zibethinus
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรงแล้วกางกิ่งก้าน
ออกตามแนวนอน คล้าย prostrate กิ่งก้านกานออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิว
แบบ เรียบมีลักษณะของใบแบบหูใบที่อยู่ภายในซอกใบ ดอกที่ออกตามซอกใบ
ที่หลุดร่วงไปแล้ว หูใบอยู่ระหว่างก้านใบที่ติดกับลําต้นแบบตรงข้าม มีช่อก้าน
ดอกอยู่ที่ปลาย มีผลที่ภายนอกมีลักษณะแข็งแต่ภายในนุ่ม
ประโยชน์เเละสรรพคุณ:ช่วยทําให้ฝีแห้ง แก้โรคผิวหนัง สารสกัดจากใบและ
รากทุเรียนใช้เป็นยาแก้ไข้ได้ ด้วยการใช้นํ้าจากใบวางบนศีรษะของผู้ป่วยจะช่วย
ลดไข้ได้
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Durian
ชื่ออื่น : "ดือแย" (มลายู ใต้),
"เรียน" (ใต้), "มะทุเรียน"
(เหนือ)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
โกโก้
ชื่อวิทยาศาสตร์: Theobroma cacao
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรงแล้วกางกิ่งก้าน
ออกตามแนวนอน คล้าย prostrate กิ่งก้านกานออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิว
แบบ เรียบมีลักษณะของใบที่มีลักษณะแบบตีนเป็ด ดอกที่ออกตามซอกใบที่
หลุดร่วงไปแล้ว หูใบอยู่ระหว่างก้านใบที่ติดกับลําต้นแบบตรงข้าม มีช่อก้าน
ดอกอยู่ที่ปลาย มีผลที่ภายนอกเปลือกแข็งและมีเมล็ดอยู่ภายใน
ประโยชน์เเละสรรพคุณ: มีส่วนช่วยในการบํารุงผิวพรรณ ช่วยบํารุงจิตใจให้
สดชื่นแจ่มใส ฟอกโลหิต ช่วยรักษาและบรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับไต ช่วย
ดับร้อนในร่างกาย แก้กระหาย และช่วยแก้ไข้ ด้วยการใช้ดอกชบา
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Cacoa (โกโก้),
Cacao (กากาโอ),
Chocolate Tree
(ช็อกโกแลต)
ชื่ออื่น : ไม่ปรากฏข้อมูล
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
กระเจี๊ยบแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Durio zibethinus
กระเจี๊ยบแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus sabdariffa Linn.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1 - 3 เมตร เปลือกต้นสีเทา
ปนแดงเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยวใบหยักลึก 3 - 5 ปลาย ปลายยอดแหลม โคน
ใบมนกว้าง ก้านใบสีแดงยาว ดอกออกเดี่ยวเป็นกระจุก 1 - 3 ดอกที่ซอกใบ
บริเวณปลายยอด ดอกสีขาวนวล และชมพูแดง กลีบดอกมี 5 กลีบ แต่ละ
กลีบเป็นอิสระจากกัน กลีบเลี้ยงสีแดงผลทรงกลมปลายแหลม ผิวผลมีขน
ขนาดเล็กสีขาวเกาะติดหนาแน่น เมล็ดทรงกลม สีนํ้าตาลดํา มีจํานวนมาก
ประโยชน์เเละสรรพคุณ:บํารุงโลหิต แก้อ่อนเพลีย บํารุงกําลัง บํารุงธาตุ แก้ดี
พิการ แก้ปัสสาวะขัด แก้คอแห้งกระหายนํ้า กัดเสมหะ แก้ไอ
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Jamaica sorrel, Roselle, Red
sorrel, Rozelle
ชื่ออื่น : กระเจี้ยบ, กระเจี้ยบเปรี้ยว, ผักเก็งเค็ง, ส้มเก็งเค็ง, ส้ม
ตะเลงเครง, ส้มปู
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
พุดตาน
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus mutabilis L.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นไม้พุ่มเตี้ย ตามต้นและกิ่งมีขน ใบมีลักษณะ
คล้ายใบฝ้ าย ขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ดอกมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายดอก
ชบาซ้อน บานในตอนเช้า เมื่อแรกบานจะมีสีขาว เมื่อสายจะเปลี่ยนสีเป็นสี
ชมพู และเป็นสีชมพูเข้มในตอนบ่าย ออกดอกดกตลอดทั้งปี
ประโยชน์เเละสรรพคุณ:มีสารฟลาโวนอยด์ ไกลโคไซด์ (Flavonoid
glycosides) ซึ่งเป็นสารที่ต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกายได้เป็นอย่างดี
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Cotton rose, Confederate rose
ชื่ออื่น : พุดตาน (ภาคกลาง),ดอกสามสี,สามผิว(ภาคเหนือ)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
พู่ระหง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus schizopetalus
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้พุ่มขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ 4-
10 เมตร ผิวเปลือกลําต้นมีสีนํ้าตาลอ่อนผิวเปลือกเป็นร่องแตกสะเก็ด
เล็กน้อย กรีดดูเปลือกจะมียางเหนียวใสใบเป็นใบเดี่ยวแตกออกตามกิ่งก้าน
ออกเรียงสลับกัน ลักษณะในรูปมนรี ปลายใบแหลม ขอบใบคล้ายฟันเลื่อย
ผิวใบเรียบสีเขียว ดอกเป็นดอกเดียว ออกตามยอดหรือปลายกิ่งดอกมีสีแดง
สีชมพูสีขาวแล้วแต่ชนิดพันธุ์มีกลีบ ดอก 5 กลีบ
ประโยชน์เเละสรรพคุณ:นํามาเผาไฟใช้ในการทํานํ้าตาลเมาหรือเหล้า โดย
เชื่อว่าจะได้นํ้าตาลเมาหรือเหล้าที่มีคุณภาพสูงและแรงขึ้น
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อสามัญ : Fringed
Hibiscus, Coral
Hibiscus
ชื่ออื่น : ชุบบาห้อย (ปัตตานี),
พู่ระหง (กรุงเทพฯ), พู่ระโหง พู่
เรือหงส์ หางหงส์ (ภาคกลาง)
นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
บรรณานุกรม
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ชะมดต้น(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. เกาลัด(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. โพทะเล(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. งิ้ว(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ครอบจักรวาล(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ปอแก้ว(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ชบา(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ทุเรียน(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. โกโก้(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. กระเจี๊ยบแดง(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. พุดตาน(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
• สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. พู่ระหง(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์นี้
จะสําเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากขาดความช่วยเหลือจากหลายๆท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งครูวิชัย ลิขิตพร
รักษ์ ครูผู้สอนประจํารายวิชาชีววิทยา 6 ที่ได้ให้คําแนะนํารวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆเกี่ยวกับ
โครงงานดังกล่าว
ขอขอบคุณสํานักงานหอพรรณไม้ที่ได้จัดทําเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพรรณไม้หลาย
ชนิดซึ่งทําให้สามารถหาข้อมูลได้โดยง่ายและถูกต้อง
คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทํา
24 พฤษจิกายน 2560
ขอบคุณค่ะ/ครับ

More Related Content

What's hot

Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )lingkwankamon
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6NutchaWarapho
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 

What's hot (20)

Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
932 pre1
932 pre1932 pre1
932 pre1
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
 
932 pre9
932 pre9932 pre9
932 pre9
 
Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
834 pre3
834 pre3834 pre3
834 pre3
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 

Similar to Plant ser 125_60_8

Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652HatsayaAnantepa
 

Similar to Plant ser 125_60_8 (20)

Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 77_60_10
Plant ser 77_60_10Plant ser 77_60_10
Plant ser 77_60_10
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 125_60_8

  • 2. นําเสนอ • ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ. 1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 3. รายชื่อสมาชิก • นางสาว ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่ 3 • นางสาว พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่ 14 • นาย ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่ 30 • นาย ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่ 31 • กลุ่ม 8 ห้องเรียน 125
  • 4. หัวข้อนําเสนอ • คํานํา • สารบัญ • รายละเอียด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ประโยชน์และสรรพคุณ ชื่อพ้อง ชื่อสามัญ ชื่ออื่น • บรรณานุกรม • กิตติกรรมประกาศ
  • 5. คํานํา รายงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 ( ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ซึ่งคณะผู้จัดทําได้สืบค้นเกี่ยวกับพืชใน วงศ์ MALVACEAE ซึ่งเป็นพืชในตระกูลเดียวกับชบา โดยในรายงานนี้ประกอบ ไปด้วยรายละเอียดต่างๆของพืชในตระกูล MALVACEAE เช่น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์, ประโยชน์และสรรพคุณ,ชื่อพ้อง,ชื่อสามัญ และ ชื่ออื่นๆ คณะผู้จัดทําหวังว่ารายงานชิ้นนี่จะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยในการใช้ศึกษาความ หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชวงศ์ MALVACEAE
  • 6. สารบัญ • งิ้ว • ครอบจักรวาล • ปอแก้ว • โพทะเล • เกาลัด • ชะมดต้น • ชบา • ทุเรียน • โกโก้ • กระเจี๊ยบแดง • พุดตาน • พู่ระหง
  • 7. งิ้ว ชื่อวิทยาศาสตร์: Bombax L. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ต้น ผลัดใบ ลําต้นส่วนมากมีหนาม หูใบขนาด เล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบรูปนิ้วมือมี 5-9 ใบ เรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็น กระจุกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกออกก่อนผลิใบใหม่ กลีบเลี้ยงหนา เชื่อม ติดกัน ปลายแยกเป็น 3-5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้จํานวนมากเชื่อม ติดกันเป็นมัด ๆ 5-10 มัด ติดระหว่างกลีบดอก รังไข่มี 5 ช่อง ออวุลจํานวนมาก ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแยกเป็น 5 แฉก ผลแห้งแตก เรียบหรือมี 5 สัน แตกเป็น 5 ซีก เมล็ดจํานวนมาก มีปุยนุ่นหุ้ม ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ดอกรสหวานเย็นแก้นํ้าร้อนลวก แก้ปวด แก้คัน นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 8. ชื่อพ้อง : Bombax malabaricum DC., Gossampinus malabarica Merr ชื่อสามัญ :: Cotton tree, Kapok tree ชื่ออื่น : งิ้วแดง (กาญจนบุรี); งิ้วบ้าน (ทั่วไป); งิ้วปง, งิ้วปงแดง, สะเน้มระกา (ชอง-จันทบุรี) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 9. ครอบจักรวาล ชื่อวิทยาศาสตร์: : Fioria vitifolia (L.) Mattei ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. ใบรูปฝ่ามือ 3-7 พู ยาว 2.5-14 ซม. แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 1-5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้นๆก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. กลีบเลี้ยง ยาว 1-2 ซม. ดอกสีเหลือง โคนด้านในสีม่วงอมแดง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1.5-5 ซม. ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก สั้นกว่ากลีบเลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีสันปีก 5 สัน ปลายเป็นจะงอย มีขนแข็งกระจาย ก้านผลเป็นข้อ แต่ละซีก มี 2-4 เมล็ด รูปคล้ายไต ยาว 2-3 มม. ประโยชน์เเละสรรพคุณ :ขับลม ช่วยย่อยและเจริญอาหาร แก้โรคลม บํารุง ธาตุ แก้ไอ บํารุงกําลัง แก้เบาหวาน แก้ปัสสาวะอักเสบ นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 10. ชื่อพ้อง : Hibiscus vitifolius L., H. yunnanensis S. Y. Hu ชื่อสามัญ : Grape-leaved mallow, Tropical fanleaf, Wild okra ชื่ออื่น : ครอบ, ครอบจักรวาล, ตอบแตบ, บอบแปบ,มะก่องเข้า (พายัพ),ก่อนเข้า (เชียงใหม่) โผงผาง ( โคราช ) , ครอบตลับ ครอบฟันสี, นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 11. ปอแก้ว ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus manihot (L.) Medik. var. pungens (Roxb.) Hochr. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูง 1-2 ม. ส่วนต่างมีขนหยาบยาว หนาแน่น หูใบรูปแถบหรือรูปเส้นด้าย ยาว 1-1.5 ซม. ใบรูปฝ่ามือ เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 15-30 ซม. ก้านใบยาว 6-18 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-4 ซม. กลีบเลี้ยง ยาว 2-3 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วง เข้ม ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-12 ซม. กลีบรูปไข่กลับ เส้าเกสรยาว 1.5- 2.5 ซม. อับเรณูเกือบไร้ก้าน รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปไข่ ยาว 4-5 ซม. มี 5 สัน เมล็ดสีนํ้าตาลดํา มีขนเป็นแนวหนาแน่น ประโยชน์เเละสรรพคุณ :ใช้เปลือกทําเส้นใย สําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ ปอ แก้วมักใช้แทนหรือปนกับเส้นใยจากปอกระเจาในการทอกระสอบ ทําเชือก นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 12. ชื่อพ้อง : Hibiscus pungens Roxb. ชื่อสามัญ : Kenaf ชื่ออื่น ปอแก้ว (แพร่, เพชรบูรณ์); ปอฝ้าย (ภาคเหนือ) ชื่ออื่น : ไม่ปรากฏข้อมูล นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชินวัตร อุดมทรัพย์ เลขที่30
  • 13. โพทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์: Thespesia populnea (L.) Sol. ex Corrêa ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 2-15 ม. มีเกล็ดรูปโล่ตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปใบ ใบรูปไข่หรือรูป หัวใจ ใบประดับคล้ายเกล็ด 2 อัน ติดที่โคนก้าน ดอกสีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสี ม่วงอมแดง เปลี่ยนเป็นสีแดงชมพูก่อนร่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ เบี้ยว ยาว 5-7 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียดสีนํ้าตาลแดง อับเรณูรูปคล้ายผลแห้งไม่แตก กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม. มีนํ้ายางสีเหลือง ก้านผลยาว 2-8 ซม. แต่ละช่อง มี 4 เมล็ด รูปโคนมีขนสีนํ้าตาลคล้ายไหม้ ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ใช้เป็นไม้ประดับ ดอก ผล และใบอ่อนกินได้ เนื้อ ไม้แข็งทนปลวก สีแดงเข้ม ใช้ทําเป็นภาชนะใส่อาหารเนื่องจากไม่มีกลิ่น นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 14. ชื่อพ้อง : Hibiscus populneus L. ชื่อสามัญ : Cock tree, Portia tree, Rosewood of Seychelles, Tulip tree ชื่ออื่น : บากู (มาเลย์-นราธิวาส); ปอกะ หมัดไพร (ราชบุรี); ปอมัดไซ (เพชรบุรี); โพทะเล (ภาคกลาง) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 15. เกาลัด ชื่อวิทยาศาสตร์: Sterculia monosperma Vent. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. หูใบคล้าย รยางค์ ร่วงเร็ว ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบ ช่อ ดอกห้อยมีขนประปราย ดอกเพศผู้จํานวนมาก ดอกเพศเมียมีน้อยกว่า ขนาด ใหญ่กว่า เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูเกสรร่วมเรียวยาว อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสร เพศเมียเชื่อมติดกันที่โคน มีขน มี 1-5 ผลย่อย มีขนสั้นนุ่ม ผลแก่สีแดง แตกแนว เดียว มี 1-4 เมล็ด รูปรี ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ในไทยปลูกเป็นไม้ประดับ เมล็ดต้มหรืออบกินได้ รสชาติคล้ายเกาลัด นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 16. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Chinese chestnut, Seven sisters’ fruit ชื่ออื่น : เกาลัด (กรุงเทพฯ); เท็งท้อ (ภาษาจีน); หงอนไก่ใบใหญ่ (ภาคใต้) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 17. ชะมดต้น ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus moschatus Medik. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. ส่วนต่างๆ มีขนหยาบ กระจาย หูใบรูปเส้นด้าย ใบส่วนมากรูปฝ่ามือ 3-7 พู ขอบจักฟันเลื่อย ดอกออก เดี่ยว ริ้วประดับรูปแถบ โค้งเข้า ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วงอม นํ้าตาลทั้งด้านนอกและด้านใน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-12 ซม. รังไข่มีขน หนาแน่น ผลรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 ซม. ปลายแหลม เมล็ดสี นํ้าตาลดํา รูปคล้ายไต มีปุ่มเล็ก ๆ เป็นร่างแห ประโยชน์เเละสรรพคุณ : ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตนํ้าหอม มีสรรพคุณขับ ปัสสาวะ แก้ไข้ ลดการอักเสบ และควบคุมฮอร์โมนเพศหญิง นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 18. ชื่อพ้อง : subsp. tuberosus (Span.) Borss. Waalk. ชื่อสามัญ : Musk mallow, Tropical jewel Hibiscus ชื่ออื่น : ชะมดต้น (กรุงเทพฯ); เทียนชะมด, ฝ้ ายผี (ภาคกลาง) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ชนินาถ ผลิโกมล เลขที่3
  • 19. ชบา ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus rosa-sinensis ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรง กิ่งก้านกาง ออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิวแบบ หนามขรุขระ มีลักษณะของใบแบบหูใบที่ อยู่ภายในซอกใบ มีช่อก้านดอกอยู่ที่ปลาย ประโยชน์เเละสรรพคุณ: มีส่วนช่วยในการบํารุงผิวพรรณ ช่วยบํารุง จิตใจให้สดชื่นแจ่มใส ฟอกโลหิต ช่วยรักษาและบรรเทาอาการของโรคที่ เกี่ยวกับไต ช่วยดับร้อนในร่างกาย แก้กระหาย และช่วยแก้ไข้ ด้วยการใช้ ดอกชบา นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 20. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Checkered Hibiscus, China rose, Shoe flower ชื่ออื่น : ชบา (ภาคกลาง); ชบาขาว, ชุมบา (ปัตตานี); บา (ภาคใต้); ใหม่, ใหม่แดง (ภาคเหนือ) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 21. ทุเรียน ชื่อวิทยาศาสตร์: Durio zibethinus ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรงแล้วกางกิ่งก้าน ออกตามแนวนอน คล้าย prostrate กิ่งก้านกานออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิว แบบ เรียบมีลักษณะของใบแบบหูใบที่อยู่ภายในซอกใบ ดอกที่ออกตามซอกใบ ที่หลุดร่วงไปแล้ว หูใบอยู่ระหว่างก้านใบที่ติดกับลําต้นแบบตรงข้าม มีช่อก้าน ดอกอยู่ที่ปลาย มีผลที่ภายนอกมีลักษณะแข็งแต่ภายในนุ่ม ประโยชน์เเละสรรพคุณ:ช่วยทําให้ฝีแห้ง แก้โรคผิวหนัง สารสกัดจากใบและ รากทุเรียนใช้เป็นยาแก้ไข้ได้ ด้วยการใช้นํ้าจากใบวางบนศีรษะของผู้ป่วยจะช่วย ลดไข้ได้ นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 22. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Durian ชื่ออื่น : "ดือแย" (มลายู ใต้), "เรียน" (ใต้), "มะทุเรียน" (เหนือ) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 23. โกโก้ ชื่อวิทยาศาสตร์: Theobroma cacao ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มีลักษณะนิสัยแบบลําต้นตั้งตรงแล้วกางกิ่งก้าน ออกตามแนวนอน คล้าย prostrate กิ่งก้านกานออกบ้าง มีลักษณะพื้นผิว แบบ เรียบมีลักษณะของใบที่มีลักษณะแบบตีนเป็ด ดอกที่ออกตามซอกใบที่ หลุดร่วงไปแล้ว หูใบอยู่ระหว่างก้านใบที่ติดกับลําต้นแบบตรงข้าม มีช่อก้าน ดอกอยู่ที่ปลาย มีผลที่ภายนอกเปลือกแข็งและมีเมล็ดอยู่ภายใน ประโยชน์เเละสรรพคุณ: มีส่วนช่วยในการบํารุงผิวพรรณ ช่วยบํารุงจิตใจให้ สดชื่นแจ่มใส ฟอกโลหิต ช่วยรักษาและบรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับไต ช่วย ดับร้อนในร่างกาย แก้กระหาย และช่วยแก้ไข้ ด้วยการใช้ดอกชบา นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 24. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Cacoa (โกโก้), Cacao (กากาโอ), Chocolate Tree (ช็อกโกแลต) ชื่ออื่น : ไม่ปรากฏข้อมูล นักเรียนผู้รับผิดชอบ : ณภัทร อัฑฒ์สุขิตกุล เลขที่31
  • 25. กระเจี๊ยบแดง ชื่อวิทยาศาสตร์: Durio zibethinus กระเจี๊ยบแดง ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus sabdariffa Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1 - 3 เมตร เปลือกต้นสีเทา ปนแดงเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยวใบหยักลึก 3 - 5 ปลาย ปลายยอดแหลม โคน ใบมนกว้าง ก้านใบสีแดงยาว ดอกออกเดี่ยวเป็นกระจุก 1 - 3 ดอกที่ซอกใบ บริเวณปลายยอด ดอกสีขาวนวล และชมพูแดง กลีบดอกมี 5 กลีบ แต่ละ กลีบเป็นอิสระจากกัน กลีบเลี้ยงสีแดงผลทรงกลมปลายแหลม ผิวผลมีขน ขนาดเล็กสีขาวเกาะติดหนาแน่น เมล็ดทรงกลม สีนํ้าตาลดํา มีจํานวนมาก ประโยชน์เเละสรรพคุณ:บํารุงโลหิต แก้อ่อนเพลีย บํารุงกําลัง บํารุงธาตุ แก้ดี พิการ แก้ปัสสาวะขัด แก้คอแห้งกระหายนํ้า กัดเสมหะ แก้ไอ นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 26. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Jamaica sorrel, Roselle, Red sorrel, Rozelle ชื่ออื่น : กระเจี้ยบ, กระเจี้ยบเปรี้ยว, ผักเก็งเค็ง, ส้มเก็งเค็ง, ส้ม ตะเลงเครง, ส้มปู นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 27. พุดตาน ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus mutabilis L. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นไม้พุ่มเตี้ย ตามต้นและกิ่งมีขน ใบมีลักษณะ คล้ายใบฝ้ าย ขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ดอกมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายดอก ชบาซ้อน บานในตอนเช้า เมื่อแรกบานจะมีสีขาว เมื่อสายจะเปลี่ยนสีเป็นสี ชมพู และเป็นสีชมพูเข้มในตอนบ่าย ออกดอกดกตลอดทั้งปี ประโยชน์เเละสรรพคุณ:มีสารฟลาโวนอยด์ ไกลโคไซด์ (Flavonoid glycosides) ซึ่งเป็นสารที่ต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกายได้เป็นอย่างดี นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 28. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Cotton rose, Confederate rose ชื่ออื่น : พุดตาน (ภาคกลาง),ดอกสามสี,สามผิว(ภาคเหนือ) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 29. พู่ระหง ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus schizopetalus ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้พุ่มขนาดกลาง ลําต้นมีความสูงประมาณ 4- 10 เมตร ผิวเปลือกลําต้นมีสีนํ้าตาลอ่อนผิวเปลือกเป็นร่องแตกสะเก็ด เล็กน้อย กรีดดูเปลือกจะมียางเหนียวใสใบเป็นใบเดี่ยวแตกออกตามกิ่งก้าน ออกเรียงสลับกัน ลักษณะในรูปมนรี ปลายใบแหลม ขอบใบคล้ายฟันเลื่อย ผิวใบเรียบสีเขียว ดอกเป็นดอกเดียว ออกตามยอดหรือปลายกิ่งดอกมีสีแดง สีชมพูสีขาวแล้วแต่ชนิดพันธุ์มีกลีบ ดอก 5 กลีบ ประโยชน์เเละสรรพคุณ:นํามาเผาไฟใช้ในการทํานํ้าตาลเมาหรือเหล้า โดย เชื่อว่าจะได้นํ้าตาลเมาหรือเหล้าที่มีคุณภาพสูงและแรงขึ้น นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 30. ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อสามัญ : Fringed Hibiscus, Coral Hibiscus ชื่ออื่น : ชุบบาห้อย (ปัตตานี), พู่ระหง (กรุงเทพฯ), พู่ระโหง พู่ เรือหงส์ หางหงส์ (ภาคกลาง) นักเรียนผู้รับผิดชอบ : พิมพ์มาดา บุญเชิดชัยยันต์ เลขที่14
  • 31. บรรณานุกรม • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ชะมดต้น(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. เกาลัด(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. โพทะเล(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. งิ้ว(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ครอบจักรวาล(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ปอแก้ว(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 18 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ชบา(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. ทุเรียน(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. โกโก้(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. กระเจี๊ยบแดง(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. พุดตาน(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560 • สํานักงานหอพรรณไม้. 2560. พู่ระหง(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany. 19 พฤศจิกายน 2560
  • 32. กิตติกรรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์นี้ จะสําเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากขาดความช่วยเหลือจากหลายๆท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งครูวิชัย ลิขิตพร รักษ์ ครูผู้สอนประจํารายวิชาชีววิทยา 6 ที่ได้ให้คําแนะนํารวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆเกี่ยวกับ โครงงานดังกล่าว ขอขอบคุณสํานักงานหอพรรณไม้ที่ได้จัดทําเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพรรณไม้หลาย ชนิดซึ่งทําให้สามารถหาข้อมูลได้โดยง่ายและถูกต้อง คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทํา 24 พฤษจิกายน 2560