SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
สถานการณ์ปัญหา
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้ที่มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้เป็น
อย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนจาและ
สื่อการสอนที่นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่า
จะเป็นหนังสือเรียน การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน
โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่าการสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให้นักเรียน
สามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภท
ที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด
เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่
นั้นพอ
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทั้งหมด ไดส่งผลให้
เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วย
ตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
Mission 1
วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการ
สอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอนคล้องกับ
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบ
การจัดการเรียนการสอน ยุดเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครูสมศรี
การเรียนการสอนที่มี
ประสิทธิภาพคือให้
ผู้เรียนจาได้
นักเรียนรอรับเอา
ความรู้จากครูเพียงผู้
เดียว
ผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง
ผู้เรียนคิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น
สามารถศึกษาด้วย
ตนเองได้
การจัดการเรียนการสอน ยุดเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครูสมศรี
สื่อการเรียน
การสอน
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สื่อการเรียนรู้
และนวัตกรรม
เพื่อการเรียนรู้
ใช้ ใช้
สู่
สู่
วิธีการเรียนรู้ ยุดเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ร่วมมือกัน
เรียนรู้กับผู้อื่น
เรียนรู้อย่าง
ตื่นตัว
สร้าง/และ
เปลี่ยนความรู้
กับเพื่อน
Mission 2
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการ
เรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาซึ่งเป็นผลมาจากอิทธิพลของ
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลกระทบต่อ ระบบโครงสร้างของการจัด
การศึกษาในยุคการปฏิรูปการเรียนรู้หลาย ๆ ด้าน ซึ่งสามารถสรุป
เป็นด้าน ๆ ได้ดังนี้
• การศึกษาควรตอบสนองระบบสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยให้คุณค่าในสารสนเทศ
• เน้นการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสังคม
ด้านระบบสังคม
• ให้ทุกคนสามารถคิดได้หลากหลายและสามารถ แสดงความ
คิดเห็นได้
• ใช้การวิเคราะห์ความต้องการ
ด้านระบบความคิดเห็นของชุมชน นักเรียนและครู
• เน้นคุณภาพและคุณค่าในแต่ละบุคคล
• ตอบสนองความพึงพอใจเป็นหลัก
ด้านคุณค่าและจุดมุ่งหมายในการเรียน
• เน้นการศึกษาในกลุ่มเล็ก
• เน้นการศึกษาเป็นรายบุคคล
ด้านกลุ่มผู้เรียน
• เป็นหลักสูตรแบบยืดหยุ่น
• กระจายโอกาสทางการศึกษา
• กระจายและมีหลักสูตรหลายๆ ด้าน
ด้านหลักสูตร
• ประเมินผลหลายๆ ด้าน
• ให้คุณค่าต่อการคิดวิเคราะห์และแสดงเหตุผล
• พิจารณาจากการพัฒนาในตัวผู้เรียนเป็นเกณฑ์
ด้านการประเมินผล
• ใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนมากกว่าการสอนเช่น
มัลติมีเดีย ซีดีรอม อิเล็กทรอนิกส์บุคคล วิดีโอออนดีมานด์ วิดีโอ
เทเลคอนเฟอร์เรนซ์ ไฮเปอร์เท็กซ์ และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
• เทคนิคกระบวนการเรียนรู้ โดยจัดกระทากับสารสนเทศ เลือก
วิเคราะห์สร้างสรรค์ ประเมินสารสนเทศเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
ใหม่ และการนาเสนอความรู้นั้น
ด้านสื่อและเทคโนโลยี
• กระจายการบริการสู่ชุมชน
• จัดเป็นกลุ่มเล็ก
• สร้างเครือข่ายการเรียนรู้
• ใช้การสื่อสารเพื่อการปฏิสัมพันธ์เป็นหลัก
ด้านสถานที่และการบริการ
• เน้นความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศ
• เน้นความสามารถในการจินตนาการและสร้างสรรค์
• เน้นความสามารถในการนาเสนอความรู้ใหม่หรือ แนวคิดใหม่
• เน้นความสามารถในการสื่อสารกันด้วยสื่อสารสนเทศ
• เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์แบบเชิงเหตุเชิงผล
ด้านคุณลักษณะของผู้เรียน
Mission 3
ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้
เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ใช้สื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
มีโอกาสใช้กระบวนการคิด
เรียนรู้อย่างมีความสุขเรียนรู้จากสภาพจริงและ
ประสบการณ์ตรง
มีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระ
เรียนรู้ตรงกับความต้องการ
ความสนใจ และความถนัดของ
ตนเอง
• บทบาทของครูควรส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม
การเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่ ค้นคว้าหาความรู้และได้
ข้อสรุปเอง บทบาทของครูจึงอยู่ในฐานะผู้กระตุ้น ยั่ว
ยุ ท้าทายและอานวยความสะดวกให้ผู้เรียน
การสอนโดยไม่สอนเป็นหัวใจสาคัญของการฝึก
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
• ครูส่วนใหญ่ขาดความอดทนที่จะให้เด็กค้นพบ
คาตอบด้วยตนเอง เพราะครูคุ้นเคยกับการบอก
ความรู้ จึงบอกเด็กก่อนที่เด็กจะได้พบคาถาม
การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญควรอดทนให้นักเรียน
ตัดสินใจลงมือทา ให้เวลานักเรียนจนกว่าจะเรียนรู้ได้
เพราะผู้กาหนดเวลาในการเรียนรู้คือนักเรียนไม่ใช่ครู
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
• การนานักเรียนไปสัมผัสกับชีวิตจริงใกล้ชิดกับ
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สื่อการเรียนที่มีอยู่เป็น
ของจริง จะทาให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ที่
หลากหลายวิชาเข้าด้วยกัน
• ครูควรนานักเรียนไปลงมือค้นหาความรู้นอก
ห้องเรียนเพื่อให้เกิดประสบการณ์จริง เกิดความรู้
ใหม่ที่ติดตรึงนาน ลืมยากกว่าการท่อง การอ่าน
การจามาตอบ
• ครูควรให้นักเรียนเลือกกิจกรรมเอง แล้วรวมกลุ่ม
ศึกษาดูงาน โดยบันทึกข้อมูลที่ได้เสนอรายงาน
• พฤติกรรมของครูควรให้ความช่วยเหลือกระตุ้นให้
ช่วยกันคิด ประสานกับสถานประกอบการใน
ชุมชน ที่สาคัญคือครูต้องใช้คาถามเพื่อหาร่องรอย
การเรียนรู้และชมเชยเมื่อนักเรียนทาได้สาเร็จ
เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง
• ผู้เรียนแต่ละคนจะมีความชอบไม่เหมือนกัน แต่ละคนมีความฝันเป็น
ของตนเอง อยากทาในสิ่งที่ตนชอบ ครูจึงควรส่งเสริมแต่ละคนได้ทาใน
สิ่งที่ชอบและถนัด
• ครูที่มีประสิทธิภาพที่สุดต้องเป็นครูที่สามารถทาให้นักเรียนเป็น
ผู้วางแผนการเรียนและเลือกปฏิบัติตามความถนัด ครูเป็นผู้นาและผู้ตาม
ในการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
เรียนรู้ตรงกับความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง
• ครูต้องสอนโดยคานึกถึงความรู้สึกของผู้เรียน โดยเฉพาะความรู้สึกต่อ
การเรียน และครูต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่ดีต่อครู เพื่อน
และการเรียน ในที่สุดเด็กจะมีค่านิยมที่ดีต่อการเรียนต่อครูและเพื่อน
• การที่ครูบังคับให้เขาต้องรับรู้ในสิ่งที่เขาไม่สนใจ จะทาลายความคิด
สร้างสรรค์ และอย่าด่วนตัดสินใจว่าเด็กที่ไม่สนใจเรียน ว่าเป็นเด็กที่
ไม่ฉลาด ครูอาจสอนสิ่งที่เขาไม่อยากเรียนรู้ เขาไม่สนุกเขาจึงไม่เห็น
ประโยชน์ ครูควรเพิ่มในสิ่งที่เขาสนใจ กระตุ้นให้เขาเรียนรู้ และ
มีความสุขในการเรียน
เรียนรู้อย่างมีความสุข
• ครูต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้รอบด้าน ครูควรฝึกให้นักเรียน
รู้กระบวนการคิดเนื้อหาให้ได้มาซึ่งคาตอบ ครูจึงควรสอนทักษะการคิดให้
นักเรียนซึ่งจะทาให้นักเรียนคิดที่หลากหลาย เพราะวิธีคิดของนักเรียนอาจ
เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม แต่ครูไม่ควรตรวจเฉพาะผลงานหรือผลผลิต
แต่ครูควรศึกษาวิธีคิดหรือวิธีได้มาซึ่งผลงานหรือคาตอบของผลงานนั้นๆ
จากกระบวนการ
• ครูควรตั้งคาถามที่สร้างสรรค์ โดยถามเพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของ
นักเรียนกระตุ้นให้คิด ท้าทายให้ทางาน ถามให้ทราบที่มาที่ไปของเรื่องต่างๆ
• การให้นักเรียนร่วมตัดสินใจ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อครูและนักเรียน นักเรียน
มีโอกาสใช้ความคิดของตนเองตัดสินใจเอง ครูควรลดบทบาทตัดสินใจแทน
เด็ก สร้างบรรยากาศความเป็นประชาธิปไตย เน้นให้นักเรียนร่วมคิด ร่วมทา
ร่วมรับผิดชอบให้มากขึ้น
มีโอกาสใช้กระบวนการคิด
• ทักษะทางสังคมนับว่าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเด็ก เมื่อเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ครูควรนาหลักการของเดล คาร์เนกี้ ที่ใช้ในการพัฒนาคนเพื่อสร้าง
ทีมงาน ซึ่งสอดคล้องกับการปลูกฝังการช่วยเหลือกันของนักเรียน โดย
ฝึกให้ทุกคนมีความสนใจอย่างจริงใจต่อผู้คน ทาให้เพื่อนรู้สึกว่าตนมี
ความสาคัญ มองเห็นสิ่งต่างๆ จากแง่มุมของผู้อื่น และพยายามทาให้คน
อื่นรู้สึกปลื้มปิติ ที่ได้ทาตามคาแนะนาของเรา บทบาทของครูจึงควรให้
เด็กได้ฝึกทักษะทางสังคมดังกล่าวทั้งต่อหน้าและลับหลังครู
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
• การแสดงออกของนักเรียน เป็นกุญแจดอกสาคัญที่จะบอกให้ครูทราบว่า
นักเรียนเรียนรู้อะไรมากน้อยแค่ไหน เมื่อเด็กกล้าแสดงออก ครูต้องช่วยชี้แนะ
ให้การแสดงออกเป็นไปในทางสร้างสรรค์
• ผู้เรียนมีความแตกต่างกันด้านประสบการณ์ ความรู้ ความคิด ความถนัด เจตคติ
รสนิยมและการแสดงออก ครูไม่ควรตัดสินว่าความคิดใดผิด เพราะจะไปสกัด
กั้นความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
• ครูจึงควรตระหนักว่านักเรียนคิดต่างกันได้นักเรียนจึงควรคิดหรือทาสิ่งต่างๆ ที่
แตกต่างไปจากแนวคาตอบของครู ครูจึงควรใช้คาถามคาว่า ทาไม จะทาให้
ทราบถึงการเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ ของนักเรียน
มีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระ
• ครูควรจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลดีต่อเด็ก
เพราะครูรู้จักนักเรียนของตนเองดีกว่าคนอื่นทาให้ทราบว่าการเรียนรู้
แบบใดจะเหมาะสมกับเด็ก สื่อจะเหมาะสมกับเนื้อหาและความสนใจ
ของเด็กทาให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้ตามแบบของเขา
ได้ใช้สื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้ และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ นามาใช้ในการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ไม่ได้มุ่งเพียง
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้เท่านั้น แต่มุ่งพัฒนา
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมไทย ได้แก่
ควาสามารถคิดแบบองค์รวมเรียนรู้ร่วมกันและทางานเป็นทีม
ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และสร้างความรู้ด้วยตนเอง
เป็นสังคมที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
เทคนิควิธีการที่ช่วยผู้เรียน
รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• การใช้เทคนิคช่วยการจา เช่น Mnemonics
Mnemonics คือ รหัสช่วยจา เป็นการฝึกแต่งตัวอย่างการจา
เป็นคา ประโยค บทกลอน เช่น
การจาชื่อทะเลสาบทั้ง 5 ของอเมริกา ได้แก่ ทะเลสาบ Huron,
Ontario, Michigan, Erie ,Superior มาเขียนเป็นคาใหม่ว่า HOMES
การจาทิศทั้ง 8 ของไทย ได้แก่ อุดร, อีสาน, บูรพา, อาคเนย์,
ทักษิณ, หรดี, ปัจฉิม และพายัพ มาเขียนเป็นคาใหม่ว่า อุ-อี-บู-อา-ทัก-
หอ-ปะ-พา
อ้างอิง
• พรชัย ภาพันธ์. ๒๕๕๒. การเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ครูต้องหันกลับมา
ทบทวน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID
=67496. ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖
• Samran H. ๒๕๕๓. Mnemonics คืออะไร. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://wwwsamran22.blogspot.com/2010/02/mnem
onics.html. ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖
• ผศ. ดร. พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. ๒๕๕๐. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปฏิรูป
การศึกษา. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.kroobannok.com/145. ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖
สมาชิกในกลุ่ม
• นางสาวจณิสตา รักความซื่อ 553050057-2
• นางสาวชุติมณฑน์ โสชัยยันต์ 553050069-5
• นางสาวสุดารัตน์ คาภิภาค 553050107-3
• นางสาวสุภัคพิชา ดีภัย 553050109-9
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้a35974185
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้sarayut_mark
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอนุพงษ์ ทิพโรจน์
 
การสอนพิเศษ
การสอนพิเศษการสอนพิเศษ
การสอนพิเศษtee155268
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 

What's hot (19)

นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
นวัตPpt ii
นวัตPpt iiนวัตPpt ii
นวัตPpt ii
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
การสอนพิเศษ
การสอนพิเศษการสอนพิเศษ
การสอนพิเศษ
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
สัมภาษณ์
สัมภาษณ์สัมภาษณ์
สัมภาษณ์
 

Viewers also liked (20)

Steps in planning
Steps in planningSteps in planning
Steps in planning
 
Group 4
Group 4Group 4
Group 4
 
Rutland Housing Study Meeting Two Presentation
Rutland Housing Study Meeting Two PresentationRutland Housing Study Meeting Two Presentation
Rutland Housing Study Meeting Two Presentation
 
Marketing online
Marketing onlineMarketing online
Marketing online
 
Stewie
StewieStewie
Stewie
 
2014 PBE
2014 PBE2014 PBE
2014 PBE
 
Pancho Libre Perfroms at Toronto BuskerFest
Pancho Libre Perfroms at Toronto BuskerFestPancho Libre Perfroms at Toronto BuskerFest
Pancho Libre Perfroms at Toronto BuskerFest
 
2014 PBE!
2014 PBE!2014 PBE!
2014 PBE!
 
TRABAJO TERMINADO GBI
TRABAJO TERMINADO GBI TRABAJO TERMINADO GBI
TRABAJO TERMINADO GBI
 
Periodic table keynote
Periodic table keynotePeriodic table keynote
Periodic table keynote
 
Extra pathway and cross talk
Extra pathway and cross talkExtra pathway and cross talk
Extra pathway and cross talk
 
Function overloading
Function overloadingFunction overloading
Function overloading
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Hotspot authentication
Hotspot authenticationHotspot authentication
Hotspot authentication
 
Cyberoam ssl vpn_management_guide
Cyberoam ssl vpn_management_guideCyberoam ssl vpn_management_guide
Cyberoam ssl vpn_management_guide
 
Human sustainability
Human sustainabilityHuman sustainability
Human sustainability
 
Ijarcet vol-2-issue-4-1322-1329
Ijarcet vol-2-issue-4-1322-1329Ijarcet vol-2-issue-4-1322-1329
Ijarcet vol-2-issue-4-1322-1329
 

Similar to Chapter 2

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediaZhao Er
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2Ann Pawinee
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxFame Suraw
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatSattakamon
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2Thamonwan Kottapan
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 

Similar to Chapter 2 (20)

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational media
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docx
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombat
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

More from Chanissata Rakkhuamsue

More from Chanissata Rakkhuamsue (6)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Part1 math sec.2
Part1 math sec.2Part1 math sec.2
Part1 math sec.2
 

Chapter 2