SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
เสนอ 
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การศึกษา
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9 
สมาชิกผู้จัดทำ
สถานการณ์ปัญหา 
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความ เชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครั้ง ครู สมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนจำ และสื่อการสอนที่นำมาใช้ ประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะ เป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่งวิดีโอที่นำมาเปิดให้ นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมี ประสิทธิภาพนั้น คือ สามารถทำให้นักเรียนสามารถจำเนื้อหา เรื่องราวใน บทเรียนให้ได้มากที่สุด
ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จาก ครูแต่เพียงอย่างเดียว ดำเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกำหนดทั้งหมด เรียน ไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ ทำแค่ไหนก็ทำแค่นั้นพอ 
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมา ทั้งหมด ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทำให้ลืม เนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะ นำมาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครู สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ 
-วิธีการจัดการเรียนการสอน ครูสมศรีมักจะสอนหรือ บรรยายให้นักเรียนจำโดยครูสมศรีเชื่อว่าการสอนที่ดี และมีประสิทธิภาพนั้นคือสามารถทำให้นักเรียนจำ เนื้อหาเรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด
- การใช้สื่อการสอนของครูสมศรี จะเป็นหนังสือเรียน การสอนบน กระดานหรือแม้กระทั่งวิดีโอที่นำมาเปิดให้นักเรียนได้เรียน 
-วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน รอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดำเนินกิจกรรมตามที่ครูกำหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อไม่ กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติมครูให้ทำแค่ไหนก็ทำแค่ นั้นพอ
ซึ่งน่าจะเป็นการสอนที่ผู้เรียนไม่สามารถคิดเกินกว่าข้อมูลที่ครู จัดให้ในบางครั้งอาจเป็นการเรียนโดย เน้นทักษะการจดจำ ท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น (Rote Leaming) 
ซึ่งไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาเพราะในยุคปฏิรูป การศึกษาจะเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางคำนึงถึงการที่ ผู้เรียนมีคุณภาพอย่างรอบด้านให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และ สามารถศึกษาด้วยตนเองได้ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่มี ความรวดเร็วสามารถรับข้อมูลจากทั่วโลกและแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งกันและกันได้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซ้อนดังที่ Bruner (1983) กล่าวว่า ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก การจดจำ ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามา สู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน ใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
ด้านครูผู้สอน 
สมัยก่อนครูจะเน้นการเรียนการสอนในรูปแบบของการเน้นเนื้อหา จากการบรรยายให้นักเรียนฟังเพียงอย่างเดียว แต่ครูยุคใหม่จำเป็นต้องมีทักษะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้กับการศึกษาได้อย่าง เหมาะสมและก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีการวางแผนอย่าง เป็นระบบเพื่อนำพลังเทคโนโลยีใหม่ๆมาปรับใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเป้าหมายสำคัญสำหรับครูในการนำเทคโนโลยีมาใช้ต้องสูงกว่าขั้นการรับ เอามาใช้ ( Adoption ) โดยมุ่งไปสู่การปรับใช้ ( Adaption ) และก้าวไปจนถึง ขั้นการเลือกใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ( Appropriate Technology )
การเป็นครูในยุคปฏิรูปการศึกษานั้น ครูจะต้องมีจิต วิญญาณของความเป็นครู ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีใน ทุกๆด้าน สามารถแยกเรื่องส่วนตัวกับเรื่องงานได้ ควบคุม อารมณ์ได้เป็นอย่างดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ ที่ดี มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู เป็นที่ยอมรับของเพื่อนครู ด้วยกัน และเป็นที่ยอมรับของผู้เรียนด้วย
ด้านผู้เรียน 
ผู้เรียนนั้นควรลงมือปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมการ แสวงหาข้อมูล สารสนเทศ การค้นพบคำตอบ ตลอดจนสามารถนำ ความรู้ที่เรียนมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ ไม่ใช่เพียงแค่การรอรับความรู้ จากครูเพียงอย่างเดียว 
ในยุคการปฏิรูปการเรียนรู้ ผู้เรียนจะเป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น มีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ แสดงความคิดเห็น ซึ่งขณะนี้ผู้เรียนจะถูกมองว่า เป็นผู้ที่มีความตื่นตัว ในการเรียนรู้ คิดค้น เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตั้งคำถาม อธิบาย ตลอดจนทำความเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ด้านสื่อการสอน 
สื่อการสอนนั้นจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน จากเดิมสื่อการเรียนการสอนมีรูปแบบเป็นสื่อการ เรียนรู้ และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียน การสอนบนกระดาน เพื่อที่จะปรับรูปแบบของสื่อการสอนให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน เป็นศูนย์กลางที่ไม่ได้มุ่งเพียงให้ผู้เรียนสามารถจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้เท่านั้น แต่ยัง มุ่งพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมไทย ได้แก่ ความสามารถคิดแบบ องค์รวม และสามารถเรียนรู่ร่วมกันในการทำงานเป็นทีมได้ ตลอดจน ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อทำให้เป็น สังคมที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อที่จะสามารถแข่งขัน และร่วมมือ อย่างสร้างสรรค์ในสังคมและโลกต่อไป
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสมกับยุค ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
ในการจัดการเรียนแบบของครูสมศรีคือ เน้นครูเป็น ศูนย์กลางและมีความเข้าใจที่ผิดคือ การสอนที่ดีและมี ประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทำให้นักเรียนสามารถจำเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด ซึ่งผู้เรียนก็จะรอรับเอาสิ่งที่ ครูสอน ทำให้ไม่สามารถคิดเกินกว่าข้อมูลที่ครูจัดให้ ใน บางครั้งอาจเป็นการเรียนโดย "เน้นทักษะการจดจำ” ท่องจำ อย่างเดียวเท่านั้น (Rote Learning) และเมื่อเรียนไปไม่นาน ผู้เรียนก็จะเบื่อลักษณะวิธีการเรียนการสอนของครูสมศรี และ ลืมเนื้อหาที่ครูสมศรีสอน
ครูสมศรีควรปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อให้เหมาะสม กับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ ครูสมศรีควร ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนแบบเดิมมาเป็นการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางยกระดับผู้เรียนจากการเรียนแบบ การจดจำ ข้อเท็จจริง ไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ ฝึกให้เด็ก มีทักษะการคิดในระดับสูง(Higher-Order Thinking Skills)เพื่อที่เด็ก จะได้มีคุณภาพอย่างรอบด้าน ให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถ ศึกษาด้วยตนเองได้
ครูสมศรีควรเปลี่ยนวิธีการใช้สื่อและ นวัตกรรม จากใช้สื่อและนวัตกรรมเพื่อการสอน นักเรียนเปลี่ยนมาเป็นการใช้สื่อและนวัตกรรมเพื่อให้ นักเรียนเรียนรู้โดยครูมีบทบาทในการเป็นผู้แนะ แนวทางและผู้อำนวยการ ตลอดจนช่วยเหลือผู้เรียนให้ สามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ได้

More Related Content

What's hot

วิจุล
วิจุลวิจุล
วิจุลwijul
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701Autsa Maneeratana
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาน้อง โม
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theoriespimporn454
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCholthicha JaNg
 
การนำเสนอชิ้นงาน
การนำเสนอชิ้นงานการนำเสนอชิ้นงาน
การนำเสนอชิ้นงานDoungnapa jutike
 

What's hot (8)

วิจุล
วิจุลวิจุล
วิจุล
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การนำเสนอชิ้นงาน
การนำเสนอชิ้นงานการนำเสนอชิ้นงาน
การนำเสนอชิ้นงาน
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Dekdee Hoptu
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Pacharatorn Jampeeprom
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5Suwakhon Phus
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 groupRay Ruchi
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4Bow Tananya
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatSattakamon
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
1 chapter2
1 chapter21 chapter2
1 chapter2
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 group
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombat
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

More from AomJi Math-ed

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนAomJi Math-ed
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 

More from AomJi Math-ed (14)

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา