SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
สัมภาษณ์หลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
สมาชิกในกลุ่ม ,[object Object]
นางสาวนัสรีย๊ะ อาบ๊ะ52E101062
นางสาวนาลิตา ยะมะกา52E101063
นางสาวรุสลีนา  หะยีดิง52E101077
นางสาวหม๊ะกรือซง  แป52E101087,[object Object]
ตำแหน่ง  รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเจาะเกาะ
รองฝ่ายวิชาการ (สามัญ),  รองฝ่ายวิชาการ (ศาสนา)
ผู้สัมภาษณ์  นางสาวรุสลีนา  หะยีดิง
วันที่สัมภาษณ์  11  กุมภาพันธ์  2554  เวลา  13.00
สถานที่  โรงเรียนบ้านเจาะเกาะ,[object Object]
คุณครูวิณา:  โรงเรียนบ้านเจาะเกาะตั้งอยู่หมู่ที่  14บ้านดารุลอินซาน ตำบลบูกิต  อำเภอเจาะไอร้อง  จังหวัดนราธิวาส  96130โทรศัพท์ 073544-4050             E-mail :choco@mailnara2.homeip.net                            สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3และมี 3 หมู่บ้านด้วยกัน คือ  1. บ้านเจาะเกาะ 2.บ้านบูกิต3. บ้านดารุลอินซาน  ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียน
สำหรับผู้บริหารโรงเรียนบ้านเจาะเกาะมี  2  ท่าน ท่านแรกนายอานูวา  อาบ๊ะ  เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเจาะเกาะ  ท่านที่สองนางวิณา  สามัญ  เป็นรองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเจาะเกาะ                      คุณครูมีทั้งหมด  19  คน  พนักงานราชการ 5  คน  วิทยากรศาสนา  6คน  เจ้าหน้าที่ธุรการ  1 คน  นักการภารโรง  2  คน  พนักงานรักษาความปลอดภัย  1  คน  รวมทั้งสิ้น  37  คน  โรงเรียนได้เปิดการศึกษาเป็น 3  ระดับ  ซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาสประกอบด้วย  ระดับอนุบาล  1-2  ระดับประถมศึกษาปีที่  1-6  และระดับมัธยมศึกษาปีที่  1-3  รวมนักเรียนทั้งหมด  517  คน  โรงเรียนได้เปิดสอนในลักษณะระบบอิสลามแบบเข้ม  ทางโรงเรียนได้แบ่งเป็น  2  ระบบ  ได้แก่  ระบบสามัญและระบบอิสลามแบบเข้ม
2.รุสลีนา  : ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดมุ่งหมายของโรงเรียนมีอะไรบ้าง
คุณครูวิณา:  ปรัชญาโรงเรียน  ประพฤติดี  มีวินัย   ใฝ่ศึกษา วิสัยทัศน์  ปี พ.ศ. 2554-2556  โรงเรียนบ้านเจาะเกาะมุ่งจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง  เคียงคู่คุณธรรม  พัฒนาครูและบุคลากรสู่มืออาชีพ  ก้าวทันเทคโนโลยีและยึดหลักธรรมชาติและยึดหลักธรรมาภิบาล  จุดมุ่งหมายของโรงเรียนจะเน้นผู้เรียนให้ได้รับพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพ  มีความรู้  คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
3.รุสลีนา:บริบท/ลักษณะของชุมชนหรือท้องถิ่นที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียนเป็นอย่างไร และมีส่วนสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรอย่างไร
คุณคูรวิณา: ในส่วนของชุมชนคนในชุมชนส่วนมากจะประกอบอาชีพเกษตรกร เพราะโรงเรียนบ้านเจาะเกาะตั้งอยู่ในหมู่ 14  แต่ครอบคลุมด้วย 3 หมู่บ้านด้วยกัน คือ หมู่ 1 หมู่ 2 และหมู่ 14 ในส่วนสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรนั้น เกษตรกรมีการแปรรูป จากผลผลิตในหมู่บ้าน เช่น ส้มแขกแห้ง ทุเรียนกวน หมากแห้ง ตรงนี้เราได้เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำ ซึ่งจะอยู่ในหลักสูตรของท้องถิ่น
4.รุสลีนา: การพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตรแกนกลาง 51 สู่หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนของท่านมีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรอะไร อย่างไร แต่ละกระบวนการมีอุปสรรค์/ปัญหาอะไรและแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร
คุณครูซุลกีฟลี  แวยูโซ๊ะ: หลักสูตรแกนกลางกับหลักสูตรของสถานศึกษา การที่จะให้สอดคล้องกันนั้นเราดูจากหลักเกณฑ์จากหลักสูตรแม่บท ก็คือหลักสูตร 51 ปรับเปลี่ยนบริบทตรงนั้นเราก็ต้องมาดูบริบทของโรงเรียนบ้านเจาะเกาะและในระบบของชุมชน โรงเรียนจะมีมุสลิม 100% การที่ว่าเราจะเอาหลักสูตรตรงนี้มา   เราต้องคำนึงถึงในส่วนของชุมชนด้วย ก็คือหลักสูตรตรงนี้เราแทรกในส่วนของอิสลามเพื่อสนองความต้องการของท้องถิ่นอีกส่วนหนึ่ง คือ ชุมชนของเราจะมีการแปรรูปอาหารก็เลยสามารถสอดแทรกของการสอนวิชาชีพ  เด็กได้ศึกษาโดยเชิญบุคลากรจากท้องถิ่นมาให้ความรู้แก่นักเรียน
คุณครูอานีซะ : เนื่องจากโรงเรียนบ้านเจาะเกาะได้ใช้หลักสูตรแกนกลาง 51 เป็นปีแรก หลักสูตรบ้านเจาะเกาะจึงมีชื่อว่า หลักสูตร ร.ร บ้านเจาะเกาะ   พ.ศ 2553 เพราะฉะนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงเริ่มที่วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในตรงนี้คือ เราได้สอบถามผู้ที่เกี่ยว ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยครู ผู้บริหารผู้ปกครอง นักเรียน พอเรารู้ถึงความเป็นมาความจำเป็นของการพัฒนาการหลักสูตรแล้ว ก็มาถึงกระบวนการกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรในวิสัยทัศน์ ว่า พ.ศ 2555 นักเรียนมีคุณธรรม นำความรู้ อยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก้าวไกล เทคโนโลยี  มีสิทธิถ้วนหน้า ชุมชนศรัทธา พัฒนาตนเองไปตามศักยภาพสู่ความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลกยึดมั่นในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรของโรงเรียน ขั้นตอนต่อไปก็คือกำหนดเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้คุณครูร่างโครงสร้างรายวิชาและกำหนดผลการเรียนรู้ต่างๆ ต่อไปคือการนำหลักสูตรไปใช้ในโรงเรียนบ้านเจาะเกาะใช้มาเป็นภาคเรียนที่สองแล้ว ระหว่างนี้ก็มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรโดยผู้บริหารโดยส่วนหนึ่งก็คือการนิเทศโรงเรียน การประชุมย่อย การประชุมผู้นำฝ่ายบริหารหาข้อบกพร่องของหลักสูตรขั้นตอนต่อไปคือการปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นหลักสูตรดีขึ้น คิดว่าการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนบ้านเจาะเกาะจำเป็นต้องพัฒนาต่อไป
5.รุสลีนา :ในแต่ละชั้นปี มีรายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอะไรบ้างที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนและจุดเน้นของสถานศึกษาที่จัดรายวิชาเพิ่มเติมคืออะไร
คุณครูวิณา: รายวิชาเพิ่มเติมนั้นจะไม่มี แต่โรงเรียนจะมีการจัดระบบการเรียน 2 ระบบ และจะยึดหลักของหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน ‘51
6.รุสลีนา :   นอกจากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง 8 ด้าน          และสมรรถนะสำคัญทั้ง 5 ด้านแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาได้เพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญเพิ่มเติมหรือไม่  คุณครูซุลกิฟลี:  ไม่มี
7.รุสลีนา : โรงเรียนจัดกิจกรรมหรือโครงการ        ต่าง ๆ อะไรบ้างที่เป็นการส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน
คุณครูวิณา: สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่ได้จัดส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนโรงเรียนได้มีกิจกรรมในส่วนของการส่งเสริมประสิทธิภาพของผู้เรียน  ซึ่งสามารถแยกเป็นกิจกรรมในเรื่องของการยกระดับทางการเรียน  การสอน  กิจกรรมส่งเสริมวิชาการมีการแข่งขันทักษะทางวิชาการ และมีการนำนักเรียนไปเยี่ยมชมนิทรรศการทางวิชาการต่าง ๆ และนำความรู้ตรงนี้มาปรับลักษณะการเรียนการสอนของครูและนักเรียน อีกกิจกรรมหนึ่ง คือ  กิจกรรมชุมนุมของโรงเรียน  ซึ่งในตอนนี้ทางโรงเรียนยังอยู่ในช่วงของการลองใช้หลักสูตร  ในส่วนชุมนุมของโรงเรียนก็จัดให้อยู่ในรูปของอิสลามอย่างเดียวแต่ในปีการศึกษาหน้าจะมีการจัดทั้งหมด  เพื่อที่จะรองรับการแข่งขันทักษะทางวิชาการทางเขตพื้นที่การศึกษาและระดับภาคเพื่อให้สอดคล้องกัน
8. รุสลีนา:หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมีกระบวนการประเมินผลอย่างไร
คุณครูวิณา: ตอนนี้ทางโรงเรียนได้ใช้หลักสูตรตัวนี้ก็จะประเมินผลเต็มรูปแบบไม่ได้  เรามีการประเมินในส่วนของหลักสูตรอันเก่า  ว่ามันมีการสอดคล้องมากน้อยเพียงใดก็คือ         จะประเมินผลในส่วนนี้และในส่วนของการนำหลักสูตรไปใช้  อีกส่วนหนึ่งก็คือ ในส่วนผลสัมฤทธิ์จากเด็กตรงนี้เราต้องรอดูผลการประเมินผลปลายภาค เราถึงจะมาสรุปข้อมูลตรงนี้ได้
9.รุสลีนา : โรงเรียนมีมัธยม 1- 3 ในเมื่อใช้หลักสูตรร่วมกับประถม 1-6 มัธยมตอนต้นใช้หลักสูตรร่วมกับประถมมีอุปสรรคอย่างไรบ้าง
ครูอานีซะ: อุปสรรคก็คือ เวลาเรียนเนื่องจากว่าประถมศึกษาปีที่ เราจัดเวลาเรียน 1000 ชั่วโมง/ปี มัธยมศึกษาปีที่1-3 นั้นเรา1-6จัดเป็นภาคเรียน เวลาเรียนต่อสัปดาห์นั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-6     เราจัด 30 ชั่วโมง/สัปดาห์ ก็หมายความว่าเวลาเรียน 6 ชั่วโมง/วัน สามัญแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระและอิสลามแบบเข้มก็แบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระเช่นเดียวกัน ส่วนมัธยมศึกษาเราจัดเป็นรายภาคเรียน 1  สัปดาห์เราจัดเป็น 30 ชั่วโมง/สัปดาห์ ในการจัดชั่วโมงนั้นมันจะมีปัญหาก็คือ เรื่องเวลาของการเข้าออกแต่ละชั่วโมงเช่น ระดับประถมศึกษาเวลาเข้าเรียนกับมัธยมศึกษาไม่เหมือนกันคือ เราจัด 1  คาบนั้น   ระดับประถมศึกษา 1  ชั่วโมง ส่วนระดับมัธยมศึกษา 50  นาที/คาบ จะได้วันละ 7  คาบ
10. รุสลีนา :ในอนาคตพวกเราต้องเป็นคุณครูและอยากให้คุณครูช่วยให้ข้อคิดกับพวกเรา
คูณครูวิณา:  ในการพัฒนาหลักสูตรในช่วงนี้ไม่ว่าจะปรับปรุงในสิ่งที่ว่ามันดีเลิศ ในช่วงเราปรับปรุงเราคิดว่าสิ่งแรกที่เราพัฒนาหลักสูตร เราต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่างๆอย่างเช่น ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนและความต้องการของสังคมและชุมชน ทั้งนี้ทั้งนั้นเราต้องดูว่านโยบาย                     ในส่วนกลางอย่างไรเราดูบริบทในส่วนนี้ด้วย ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญต่อไปก็คือ  ในส่วนการดำเนินงานของหลักสูตร อย่างแรกเราต้องกำหนดจุดมุ่งหมายของสูตร ส่วนที่สอง การจัดเนื้อหาและประสบการณ์ซึ่งตรงนี้เราต้องให้สอดคล้องกับชุมชนและความต้องการของชุมชนด้วย และในส่วนของการนำหลักสูตรมาใช้และสุดท้ายการประเมินผลหลักสูตรต้องหาข้อสรุป แก้ไขข้อที่เป็นปัญหาและอุปสรรค ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในโอกาสต่อไป  การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเราจะเปลี่ยนแปลงในกลางคันไม่ได้ สิ่งสำคัญที่สุดคือ การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรในครั้งต่อไป
ประมวลประมวลภาพภาพต่างๆ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนทับทิม เจริญตา
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีMuhammadrusdee Almaarify
 
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551kanjana2536
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมguest5ec5625
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1bb5311600637
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2Montree Jareeyanuwat
 
นำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยนำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยsamaitiger
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 

What's hot (19)

นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
1 chapter2
1 chapter21 chapter2
1 chapter2
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
 
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551
ทำเนียบรุ่น ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา มรช. 2551
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
ปกตระกวน
ปกตระกวนปกตระกวน
ปกตระกวน
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2
 
นำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัยนำเสนองานครูสมัย
นำเสนองานครูสมัย
 
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักศิลปะและัวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2556
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 

Viewers also liked

หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
MIT ISCTE Global Inovators
MIT ISCTE Global InovatorsMIT ISCTE Global Inovators
MIT ISCTE Global InovatorsHugo Castro
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
Acai berry review
Acai berry reviewAcai berry review
Acai berry reviewJohn Martin
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะnasriyah52E101062
 
Ikebana si cuvinte vii
Ikebana si cuvinte viiIkebana si cuvinte vii
Ikebana si cuvinte viiBMyAngel
 

Viewers also liked (15)

หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
MIT ISCTE Global Inovators
MIT ISCTE Global InovatorsMIT ISCTE Global Inovators
MIT ISCTE Global Inovators
 
4
44
4
 
84
8484
84
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
Pitch deck 500
Pitch deck 500Pitch deck 500
Pitch deck 500
 
R44 2960
R44 2960R44 2960
R44 2960
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
Acai berry review
Acai berry reviewAcai berry review
Acai berry review
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะหลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
หลักสูตร ร.ร เจาะเกาะ
 
Ikebana si cuvinte vii
Ikebana si cuvinte viiIkebana si cuvinte vii
Ikebana si cuvinte vii
 
Marks and spencer
Marks and spencer Marks and spencer
Marks and spencer
 

Similar to สัมภาษณ์

O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
Kobbbbb
KobbbbbKobbbbb
Kobbbbbaukkra
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55Montree Jareeyanuwat
 
แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55Montree Jareeyanuwat
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555Muhammadrusdee Almaarify
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 

Similar to สัมภาษณ์ (20)

O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Kobbbbb
KobbbbbKobbbbb
Kobbbbb
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55
 
แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55แผ่นพับกาเนะ55
แผ่นพับกาเนะ55
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 

สัมภาษณ์